Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 25253_งานๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

25253_งานๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

Published by Worathep Khotboonma, 2020-08-07 22:08:21

Description: 25253_งานๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

Search

Read the Text Version

ระบบ PGM-FI

“หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง PGM-FI ปั๊มน้ามนั เช้ือเพลิง จะทาหนา้ ที่ดูดน้ามนั เช้ือเพลิงผา่ นตะแกรงกรอง เพ่อื สร้างแรงดนั ในระบบฉีด เช้ือเพลิงใหส้ ูง 294 kPa โดยมีตวั ควบคุมแรงดนั น้ามนั เช้ือเพลิงควบคุมแรงดนั ให้ คงที่ ตลอดทุกสภาวะการทางานของของเคร่ืองยนต์ และส่งน้ามนั เช้ือเพลิงที่มี แรงดนั สูง เม่ือกล่อง ECM ไดร้ ับขอ้ มลู (สญั ญาณทางไฟฟ้ า) จากตวั ตรวจจบั (Sensor) จะทา หนา้ ที่ประมวลผลความตอ้ งการเช้ือเพลิงของเคร่ืองยนตใ์ นขณะน้นั กล่อง ECM จะต่อวงจรไฟฟ้ าของหวั ฉีดลงกราวด์ เขม็ ของหวั ฉีดจะยกตวั ข้ึนทาใหน้ ้ามนั เช้ือเพลิงที่มีแรงดนั สูง ถูกฉีดเขา้ ไปผสมกบั อากาศภายในทอ่ ไอดีเพอื่ บรรจุเขา้ กระบอกสูบ ปริมาณน้ามนั เช้ือเพลิงที่แดออกมาจะมีปริมาณมากหรือนอ้ ย ข้ึนอยู่ กบั ระยะเวลาท่ีกล่อง ECM ตอ่ วงจรไฟฟ้ าของชุดหวั ฉีดลงกราวด์ ถา้ ต่อวงจรของ ชุดหวั ฉีดลงกราวดน์ าน จะทาใหเ้ ขม็ ของหวั ฉีดเปิ ดนาน ส่งผลใหป้ ริมาณของ น้ามนั เช้ือเพลิงท่ีฉีดออกมามีปริมาณมากตามไปดว้ ย 2

2.3.1 ตัวตรวจจับตำแหน่งลนิ้ เร่ง : TP Sensor (Throttle Position Sensor) ตวั ตรวจจบั สญั ญาณ มีหนา้ ที่ตรวจจบั ความเปล่ยี นแปลงสภาวะตา่ งๆ ของเคร่ืองยนตแ์ ละส่งขอ้ มูลตา่ งๆไปยงั กลอ่ ง ECM แลว้ นาขอ้ มูล เหล่าน้นั ไปประมวลผลเพื่อหาปริมาณการฉีด และจงั หวะในการจุด ระเบิดที่เหมาะสมซ่ึงตวั ตรวจจบั เซ็นเซอร์เหล่าน้ีมีความสาคญั ตอ่ ระบบ PGM-FI เป็ นอยา่ งยง่ิ ในรถจกั รยานรุ่นน้ีไดม้ ีการติดต้งั ตวั ตรวจจบั สญั ญาณต่างๆดงั น้ี ตวั ตรวจจบั ตาแหน่งลิน้ เร่งทาหนา้ ที่ตรวจจบั ตาแหน่งการเปิ ด-ปิ ดของ ลิน้ เร่งแลว้ เปลี่ยน เป็ นสญั ญาณทางไฟฟ้ าส่งขอ้ มลู ไปยงั กลอ่ ง ECM ซ่ึงกลอ่ ง ECM จะ ใชส้ ญั ญาณน้ีในการประมวลผลหาปริมาณอากาศที่เขา้ สู่เครื่องยนต์ และเมื่อกล่อง ECM นาสญั ญาณตาแหน่งลิ้นเร่งไปเปรียบเทียบกบั สญั ญาณความเร็วของเคร่ืองยนตท์ ่ีส่งมาจากตวั ตรวจจบั ตาแหน่งเพลา ขอ้ เหวย่ี ง ECM กจ็ ะสามารถหาปริมาณการจ่ายน้ามนั เช้ือเพลิงใหม้ ี ความเหมาะสมในขณะน้นั ไดแ้ ละยงั ส่งขอ้ มูลสง่ั ตดั การจา่ ยน้ามนั เช้ือเพลิงขณะผอ่ นคนั เร่งโดยเปรียบเทียบกบั สญั ญาณของตวั ตรวจจบั ตาแหน่งเพลาขอ้ เหวย่ี งของเคร่ืองยนตแ์ ละสญั ญาณของตวั ตรวจจบั น้ามนั เครื่อง 3

เมื่อลิ้นเร่งอยใู่ นตาแหน่งปิ ดสุดชุดหนา้ สมั ผสั ของชุด ต่อ หนา้ สมั ผสั การเปิ ดลิ้นเร่งซ่ึงต่ออยทู่ ี่ส่วนปลายของเพลาลิ้น เร่งที่ตาแหน่งน้ีจะมีความตา้ นทานมากทาใหไ้ ปที่จา่ ยจากข้วั 4 VCC 5 โวลทไ์ หลผา่ นความตา้ นทานมากจึงทาใหก้ ระแสไฟ ไหลกลบั ไปที่กล่อง ECM ท่ีข้วั THR นอ้ ย (0.29 โวลท)์ ในตาแหน่งน้ีกล่อง ECM จะสั่งใหห้ วั ฉีดจ่าย น้ามนั เช้ือเพลิงนอ้ ยเม่ือบิดคนั เร่งมากข้ึนชุดหนา้ สมั ผสั การ เปิ ดลิ้นเร่งจะเคล่ือนที่เขา้ หาข้วั VCC มากข้ึนทาใหค้ ่าความ ตา้ นทานระหวา่ งข้วั VCC กบั THR ลดลงทาใหก้ ระแสไฟ ไหลกลบั ไปท่ีกล่อง ECM ท่ีข้วั THR มากข้ึนทาใหก้ ล่อง ECM จ่ายน้ามนั เช้ือเพลิงมากข้ึนถา้ ลิ้นเร่งเปิ ดสุดความ ตา้ นทานจะนอ้ ยที่สุดทาใหไ้ ฟไหลกลบั ไปท่ีกล่อง ECM ได้ มากที่สุด (4.7 6 โวลท)์ กล่อง ECM จะสั่งจา่ ยนา้ํ มนั เช้ือเพลิง สูงสุด

2.3.2 ตัวตรวจจับอณุ หภูมนิ ำ้ มนั เคร่ือง : EOT 5 sensor (Engine Oil Temperature Sensor) ตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิน้ามนั เครื่อง ทาหนา้ ท่ีตรวจจบั อุณหภมู ิ น้ามนั เคร่ืองแลว้ เปล่ียนเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ าส่งเขา้ กล่อง ECM เพอ่ื เพม่ิ หรือลดปริมาณการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงให้ เหมาะกบั อุณหภูมิเคร่ืองยนตต์ วั ตรวจจบั อุณหภูมิเครื่องยนต์ ติดต้งั อยทู่ ี่เส้ือสูบเครื่องยนตภ์ ายในประกอบดว้ ยความ ตา้ นทานที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิแบบมีคา่ สมั ประสิทธ์ิ เป็นลบกล่าวคือเม่ืออุณหภมู ิสูงข้ึนความตา้ นทานจะลดลง จากคุณสมบตั ิดงั กล่าวจะถูกนาไปใชเ้ ปล่ียนแปลง แรงดนั ไฟฟ้ า ที่ส่งเขา้ กล่อง ECM เพอ่ื เป็นขอ้ มลู ในการ ประมวลผลหาปริมาณน้ามนั เช้ือเพลิงท่ีเหมาะสมกบั อุณหภูมิ ของเคร่ืองยนต์ ขณะน้นั เช่นถา้ เครื่องยนตม์ ีอุณหภูมิต่าตวั ตรวจจบั อุณหภูมิน้ามนั เคร่ืองจะมีความตา้ นทานมากทาให้ แรงดนั ไฟฟ้ าตกคร่อมที่ ตวั ตรวจจบั อุณหภูมิน้ามนั เคร่ืองมี มากกล่อง ECM จะส่งั จ่ายน้ามนั เช้ือเพลิงปริมาณมากและ เม่ือเคร่ืองยนตม์ ีอุณหภมู ิสูงข้ึน ตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิ น้ามนั เคร่ืองจะมีความตา้ นทานลดลงเป็นเหตุให้ แรงดนั ไฟฟ้ าไหลผา่ น ตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิน้ามนั เครื่องเขา้ กล่อง ECM ไดม้ ากกจ็ ะสงั่ จา่ ยน้ามนั เช้ือเพลิงที่นอ้ ยลงให้ เหมาะสมกบั อุณหภูมิเครื่องยนต์

2.3.3 ตัวตรวจจับตำแหน่งเพลำข้อเหวย่ี ง : CKP Sensor (Crank Shaft Position Sensor) ตวั ตรวจจบั ตาแหน่งเพลาขอ้ เหวยี่ งทาหนา้ ท่ีตรวจจบั ความเร็วรอบเคร่ืองยนตแ์ ลว้ เปล่ียนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้ า ส่งเขา้ กล่อง ECM เพือ่ เป็นขอ้ มลู พ้นื ฐานในการประมวลผล หาอตั ราการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงและกาหนดจงั หวะจุดระเบิด ใหเ้ หมาะสมกบั การทางานของเครื่องยนตร์ วมถึงส่งสัญญาณ ความเปล่ียนแปลงของตาแหน่งเพลาขอ้ เหวย่ี งไปพร้อมกนั ดว้ ยเพ่อื เปรียบเทียบตาแหน่งในแตล่ ะจุดวา่ มีการ เปลี่ยนแปลงเพียงใดกล่อง ECM จะรู้ถึงความเปลี่ยนแปลง น้นั เพือ่ ที่จะประมวลผลใหเ้ หมาะสมและทนั ตอ่ สภาวะของ เคร่ืองยนต์ 6

2.3.4 ตวั ตรวจจบั ปริมำณออกซิเจน : (oxegen sensor) ทาหนา้ ท่ีตรวจจบั ปริมาณออกซิเจนในไอเสียท่ี เครื่องยนตป์ ล่อยออกแลว้ เปล่ียนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้ าส่ง เขา้ กล่อง ECM เพอ่ื เพิ่มหรือลดปริมาณการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงใหเ้ หมาะสมกบั การทางานของเครื่องยนตต์ วั ตรวจจบั ปริมาณออกซิเจนติดต้งั อยทู่ ่ีฝาสูบบริเวณปากทอ่ ไอ เสียดา้ นขวาภายในประกอบดว้ ยแผน่ เซอร์โคเนียที่ฉาบดว้ ย แพลททินมั่ ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นรูปรอบๆเป็นรอบๆเพื่อตรวจจบั ก๊าซไอเสียท่ีเกิดจากการเผาไหมใ้ นขณะน้นั วา่ เคร่ืองยนตเ์ ผา ไหมส้ มบูรณ์เพียงใดถา้ เครื่องยนตเ์ ผาไหมไ้ มส่ มบรู ณ์โปรด ตรวจจบั ปริมาณออกซิเจนจะไม่สามารถตรวจจบั ออกซิเจน ในไอเสียไดแ้ สดงวา่ ส่วนผสมหนงั กล่อง ECM กจ็ ะสง่ั ลด ปริมาณการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงใหน้ อ้ ยลงจนกวา่ จะจบั ปริมาณ ออกซิเจนในการ์ดเสียไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและในทางกลบั กนั ถา้ ตวั ตรวจจบั ปริมาณออกซิเจนในการ์ดไอเสียตรวจจบั ปริมาณออกซิเจนไดม้ ากแสดงวา่ ส่วนผสมบางกล่อง ECM ก็ จะเพ่มิ ปริมาณการฉีดใหส้ มั พนั ธ์กบั การทางานของ เครื่องยนต์ 7

2.3.5 หวั ฉีด : (Injector) หวั ฉีดติดต้งั อยทู่ ี่ท่อไอดีเป็นแบบ 6 รูทาหนา้ ท่ีฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงใหเ้ ป็นฝอยละอองไปผสมกบั อากาศในท่อไอดีก่อน ผา่ นวาลว์ ไอดีเขา้ สู่กระบอกสูบเป็นหวั ฉีดแบบไฟฟ้ าคือ บงั คบั การเปิ ดปิ ดหวั ฉีดโดยใชโ้ ซลินอยดส์ ร้างสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ าเพ่ือยกเขม็ หวั ฉีดข้ึนฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงและปิ ดโดยใช้ แรงดนั สปริงหลกั การทางานน้ามนั เช้ือเพลิงจากถงั น้ามนั จะ ถูกสร้างแรงดนั ใหส้ ูงข้ึนดว้ ยปั๊มน้ามนั เช้ือเพลิงซ่ึงจะควบคุม แรงดนั โดยตวั ควบคุมแรงดนั ส่วนแลว้ ส่งน้ามนั ไปยงั หวั ฉีด โดยผา่ นตะแกรงกรองที่อยดู่ า้ นในและลงไปยงั เขม็ หวั ฉีดท่ี อยดู่ า้ นล่างซ่ึงในขณะท่ีหวั ฉีดยงั ไม่ทางานเขม็ หวั ฉีดจะถูก สปริงดนั ใหแ้ นบสนิทอยกู่ บั บ่าของเขม็ หวั ฉีดจงั หวะน้ีจะไม่ มีการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงกล่อง ECM จะสั่งใหห้ วั ฉีดทางาน โดยต่อวงจรไฟฟ้ าที่มาจากหวั ฉีดลงกราวดโ์ ซลินอยดจ์ ะทา ใหเ้ กิดสนามแม่เหล็กดูดพล้งั เยอร์ท่ีอยตู่ รงกลางข้ึนเขม็ หวั ฉีด ที่ติดเป็นชุดเดียวกบั พล้งั เยอร์ กจ็ ะยกตวั ข้ึนจากบา่ ของเขม็ หวั ฉีดทาใหน้ ้ามนั เช้ือเพลิงท่ีมีแรงดนั สูงถูกฉีดออกมาใน ลกั ษณะเป็นฝอยละอองเพอ่ื ผสมกบั อากาศกลายเป็นไอดีก่อน เขา้ สู่กระบอกสูบในจงั หวะดูด 8

2.3.6 ปั๊มนำ้ มนั เชื้อเพลงิ : (Fuel Pump) ปั๊มน้ามนั เช้ือเพลิงติดต้งั อยภู่ ายในถงั น้ามนั เช้ือเพลิงทา หนา้ ท่ีสร้างแรงดนั น้ามนั เช้ือเพลิงในระบบโดยป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลิงจะสร้างแรงดนั จากถงั น้ามนั ส่งไปยงั หวั ฉีดใน ปริมาณท่ีเพียงพอต่อความตอ้ งการของเครื่องยนต์ ตลอดเวลาปั๊มน้ามนั เช้ือเพลิงเป็นแบบใบพดั ทางานดว้ ย มอเตอร์แบบ DC 12 โวลทจ์ ่ายน้ามนั เช้ือเพลิงดว้ ยอตั รา การไหลคงท่ี แรงดนั 294 kPa (กิโลปาสคาล) หรือ 3.0 kgf/cm2 โดยทอ่ ดูดของป๊ัมจะอยทู่ ี่จุดต่าสุดของถงั น้ามนั เช้ือเพลิงและจะมีกรองน้ามนั เช้ือเพลิงเพือ่ กรองส่ิง สกปรกที่มีขนาดต้งั แต่ 10 ไมครอนข้ึนไปโดยท่ี ปั๊มน้ามนั เช้ือเพลิงจะถูกส่ังงานดว้ ยกล่อง ECM 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook