แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 ( ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2565 ) สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดพัทลุง สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
คำนำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 ฉบับน้ี จัดทำข้ึนเพื่อใช้เป็นแผนแม่บท ในการกำหนดทิศทางการปฏิบัติงานของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพัทลงุ ให้มีเอกภาพเชิงนโยบายและเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ท่วี างไว้ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้รับความร่วมมืออย่างย่ิงจาก ผู้บริหารสำนักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั พัทลุง ผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยท้ัง 11 แห่ง บุคลากรจากสถานศึกษาในสังกัด และบุคลากร สำนักงาน กศน. จังหวัดพัทลุง ทุกท่าน ตลอดจน ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านส่งเสริมมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศึกษานอกโรงเรียน ที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรในโครงการประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา พ.ศ. 2563 -2565 และแผนปฏบิ ัติการประจำปี พ.ศ.2565 ของสำนักงาน กศน. จงั หวัดพทั ลงุ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมทำให้แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 ฉบับนี้สำเร็จ และสามารถนำไปส่กู ารปฏิบัตจิ ริงในการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. จังหวัดพทั ลงุ ตอ่ ไป สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พทั ลงุ
สารบญั การอนมุ ตั แิ ผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2563-พ.ศ.2565 หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข สว่ นที่ 1 บทนำ 1 เหตผุ ลและความจำเป็น 1 กรอบแนวทางการจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 2 แนวทางการดำเนินงาน ๒ ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 3 ส่วนที่ 2 ข้อมลู เพือ่ การวางแผน 4 สภาพท่วั ไปของจงั หวดั พทั ลงุ 10 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา นโยบายและกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง 34 36 สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการดำเนินงาน การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพของสถานศึกษา 40 ทิศทางการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.จงั หวดั พทั ลุง 62 ส่วนที่ 4 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 ส่วนที่ 5 การนำแผนแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 สู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล การขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 สู่การปฏิบตั ิ
1 ส่วนที่ 1 บทนำ เหตุผลและความจำเปน็ สำนักงาน กศน. จังหวดั พัทลุง มีหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนนุ และให้บริการการจัดการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ทันสมัย และตรงกับความต้องการของผู้เรียนและ ผู้รับบริการ โดยให้ชุมชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมภายใต้การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือสร้าง สังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งย่ังยืน ตามที่ สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ไดด้ ำเนินการจัดทำแผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง (พ.ศ.2560 - 2564) และแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้สิ้นลงสุด เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง จึงได้ดำเนินการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย (พ.ศ.2565 - 2569) ขึ้น เพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) แผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสำนักงาน กศน. (พ.ศ. 2560 – 2579) นโยบายของรัฐบาล รวมทั้งนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้ปรากฏผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้เป็นกรอบทิศทาง และแนวทางในการวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย โดยคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้ร่วมกันทบทวน ปรับปรงุ และพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2563 – 2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ.2565) ขึ้น เพื่อให้หน่วยงาน สถานศึกษา สามารถขับเคลื่อนงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกลุ่มเป้าหมาย อันนำไปสู่ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตทม่ี ีคณุ ภาพตรงตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชน ตอ่ ไป เพ่ือให้การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นเอกภาพ จงึ ได้จัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 (ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2565) ข้นึ กรอบแนวทางการจดั ทำแผน กรอบแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 ประกอบด้วย เอกสารสำคญั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ดงั นี้ 1) รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 2) พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 3) ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) 4) นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี) 5) นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าดว้ ยความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) 6) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
2 7) นโยบายรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ (นางสาวตรีนชุ เทียนทอง) 8) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) 9) แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสำนักงาน กศน. (พ.ศ.2560 - 2579) 10) นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2565 แนวทางการดำเนินงาน การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 มีแนวทาง การดำเนนิ งาน ดังนี้ 1. วิเคราะห์บริบทท่ีเกี่ยวข้องกับอำนาจหนา้ ท่ีของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) อำนาจหน้าท่ีของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (สำนักงาน กศน.จังหวัด) และอำนาจหน้าที่ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอ (กศน.อำเภอ) 2. กำหนดกรอบความคดิ การจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา พ.ศ.2563 - 2565 3. ยกร่าง แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 เพ่ือนำเสนอ ทป่ี ระชุม 4. จัดประชุมปฏบิ ตั ิการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 5. ปรบั ปรุง/แก้ไข และบรู ณาการเปน็ รา่ งแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 ตามที่ทีป่ ระชมุ ให้ข้อเสนอแนะ 6. จัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 7. จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 แจ้งเวียนและเผยแพร่ในเว็บไซต์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (สำนกั งาน กศน. จงั หวดั ) ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 1. สถานศึกษาในสังกัดนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 แปลงไปสู่การปฏบิ ตั ิ เป็นแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปีของหน่วยงาน 2. มกี ารติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 เพอื่ นำมาใช้ในการปรบั ปรุงพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จงั หวัดพทั ลุง ต่อไป
3 ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู เพอื่ การวางแผน 1. สภาพทว่ั ไปของจังหวดั พัทลุง จงั หวัดพัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองท่ีมีประวัตศิ าสตร์เก่าแก่แห่ง หน่ึง และยังมีสภาพภมู ิประเทศท้ังทร่ี าบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทศิ ตะวันตกของจังหวดั จะเปน็ พืน้ ท่ที ี่ราบ สูงและที่ราบเชิงเขาอันเนื่องมาจากมีพื้นท่ีติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและ ทางทิศตะวันออกของจังหวดั จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรมโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใตจ้ ะเรียกจังหวัดนีว้ ่า เมืองลุง ทตี่ งั้ จังหวัดพัทลุงต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกของภาคใต้ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่ 7 องศา 6 ลิปดา เหนือถึง 7 องศา 53 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดท่ี 100 องศา 5 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามเส้นทางสายเอเชีย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 ) เป็นระยะทางประมาณ 858 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟระยะทางประมาณ 846 กิโลเมตร ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ 78 กโิ ลเมตรและความกว้างจากทิศตะวนั ออกไปทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 53 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ทงั้ หมด ประมาณ 3,424.473 ตารางกิโลเมตร หรอื 2,140,296 ไร่ (พนื้ ดิน 1,919,446 ไร่ พืน้ นำ้ 220,850 ไร่) มอี าณาเขตติดต่อ ดงั น้ี • ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จงั หวัดสงขลา • ทศิ ใต้ ติดต่อกับอำเภอควนเนียง อำเภอรตั ภูมิ จงั หวัดสงขลา และอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล • ทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นน่านน้ำติดต่อกับอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทงิ พระ และอำเภอสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา • ทิศตะวันตก ติดต่อกับทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอด อำเภอเมืองตรัง อำเภอนา โยง อำเภอยา่ นตาขาว และอำเภอปะเหลียน จังหวัดตรงั หนว่ ยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเปน็ 11 อำเภอ 65 ตำบล 670 หมูบ่ ้าน ดังนี้ 1. อำเภอเมืองพทั ลุง 2. อำเภอกงหรา 3. อำเภอตะโหมด 4. อำเภอควนขนุน 5. อำเภอปากพะยนู 6. อำเภอศรบี รรพต 7. อำเภอป่าบอน 8. อำเภอบางแก้ว 9. อำเภอป่าพะยอม 10. อำเภอศรนี ครนิ ทร์ 11. อำเภอศรีบรรพต
4 2. ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา ชอ่ื สถานศกึ ษา : สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั พัทลุง หรือ สำนักงาน กศน.จังหวดั พทั ลุง สังกดั : สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ตง้ั /การติดต่อ : สำนกั งาน กศน. จงั หวัดพัทลุง ตัง้ อยู่เลขที่ 555 ถนนราเมศวร์ อำเภอเมือง จงั หวดั พทั ลุง โทรศัพท์ : 0-7461-2403 โทรสาร : 0-7461-3401 www.phattalung.nfe.go.th e-mail : nfephattlung@gmail.com ขนาดพ้ืนท่ี : สำนักงาน กศน. จังหวัดพัทลุง มีพนื้ ท่ีเขตบริการท้ังจงั หวัดพัทลุงขนาดพื้นท่ี ของสำนักงานมีเน้ือที่ 13 ไร่ มอี าคารประเภทต่างๆ คือ 1. อาคารสำนักงาน 1 หลัง 5. บ้านพักคนงาน 4 หลัง 2. อาคารฝึกงาน 8 หลัง 6. ห้องสมุดประชาชน 1 หลัง 3. บ้านพักครู 10 หลัง 7. โรงรถ 1 หลงั 4. หอพัก 2 หลงั 8. อาคารห้องสมุด 1 หลัง สังกดั : สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวตั สิ ถานศึกษา ในปี พ.ศ. 2521 กองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญศึกษาได้ประสานกับจังหวัดพัทลุงเพื่อจัดตั้ง ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลุงโดยขอใช้ท่ีดิน ของโรงเรียนบ้านท่ามิหรำ จำนวน 13 ไร่ เป็นสถานที่ตั้ง โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ังศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวั ดพัทลุง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2522 และได้มีการสั่งแต่งต้ัง นายวรรณ บุญยเกียรติ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรียนจังหวดั พัทลงุ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลุงได้ขยายงานลงสู่อำเภอ โดยได้จัดส่งผู้ประสานงานการศึกษา นอกโรงเรียนอำเภอ\" ลงไปทำหน้าที่ประสานงานและบริหารการศึกษานอกโรงเรียนกับท้องถ่ิน ในทุกอำเภอ ตง้ั แต่วันท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2527 เปน็ ต้นมา โดยในปีพ.ศ. 2536 ได้ขยายโครงสร้างของศูนย์ การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลุงจากเดิมท่ีมีผู้ประสานงานการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ เป็นการจัดตั้ง สถานศึกษาในระดบั อำเภอ คอื ศนู ยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอ จำนวน 11 แหง่ ต่อมาพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลุง ซ่ึงเป็นสถานศึกษา ได้เปล่ียนสถานะเป็นหน่วยงานทางการศึกษา ช่ือว่า สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดพัทลุง หรือ สำนักงาน กศน. จังหวัดพัทลุง โดยปัจจุบันมีนางบุษบา ณะแก้ว ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการ กศน.จังหวดั พทั ลุง
5 ทำเนียบผบู้ รหิ าร ( ๒๗ ก.พ. ๒๕๒๒ - ๓๑ ม.ค. ๒๕๒๓ ) ๑. นายวรรณ บญุ ยเกยี รติ ( ๑ ก.พ. ๒๕๒๓ - ๔ ม.ค. ๒๕๒๗ ) ๒. นายโกศล ชูชว่ ย ( ๕ ม.ค. ๒๕๒๗ - ๒๔ ม.ค. ๒๕๓๑ ) ๓. นายนิคม ชนิ วงศ์ ( ๑๔ ม.ค. ๒๕๓๑ - ๒๘ ก.พ. ๒๕๓๓ ) ๔. นายวิชิต เขม้ แข็ง ( ๒๘ ก.พ. ๒๕๓๓ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๓๕ ) ๕. นายแปลก พชั รดำรงกุล ( ๑ ต.ค. ๒๕๓๕ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๓๖ ) 6. นายวิสุทธิ์ ไตรวนาธรรม ( ๑ ต.ค. ๒๕๓๖ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๔๐ ) ๗. นายเปรอื่ ง ประชาชาติ ( ๔ พ.ย. ๒๕๕๐ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๔๓ ) 8. นายพนม ศรีราม ( ๑ ต.ค. ๒๕๔๓ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๔๖ ) ๙. นายประโยชน์ จันทรโชติ ( ๒๙ ต.ค. ๒๕๔๖ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๑ ) ๑๐. นายวศิ าล วชั ราคม ( ๑ ธ.ค. ๒๕๕๑ - ๒๒ ก.ค. ๒๕๕๒ ) ๑๑. นางสาวอภิมขุ ศรสี มัย (รักษาการ) ( ๒๓ ก.ค. ๒๕๕๒ - ๑๓ ต.ค. ๒๕๕๓ ) ๑๒. นายสมทบ กรดเต็ม (รักษาการในตำแหนง่ ) ( ๑๔ ต.ค. ๒๕๕๓ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๕ ) ๑๓. นายสมทบ กรดเตม็ ( ๑ ต.ค. ๒๕๕๕ - ๒๗ ต.ค. ๒๕๕๗ ) ๑๔. นางวรรญา ทิพยด์ นตรี ( ๒๗ ต.ค. ๒๕๕๗ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๒ ) ๑๕. นายสมทบ กรดเตม็ ( ๒๑ ต.ค. ๒๕๖๒ – 5 ส.ค. ๒๕๖๓ ) ๑๖. นายเรวัฒน์ เพชรสงฆ์ ( ๗ ส.ค. ๒๕๖๓ - 7 ก.พ. 2564 ) ๑๗. นางเกสร ธานรี ตั น์ ( 8 ก.พ. 2564 จนถึงปจั จบุ ัน ) 18. นางบษุ บา ณะแกว้ โครงสรา้ งสถานศกึ ษา
6 ขอ้ มลู บคุ ลากรและสถานศึกษา 1. ผู้บริหารจังหวดั ผอู้ ำนวยการ สำนักงาน กศน. จงั หวัดพทั ลุง 1. นางบษุ บา ณะแก้ว 2. นางฉตั ราภรณ์ เอ่งฉว้ น รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดพัทลุง 2. ผู้บริหารสถานศกึ ษา มีสถานศึกษาในสังกดั ๑๑ แหง่ ดังนี้ 1. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองพัทลงุ นางทัศนีย์ รดุ คง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองพัทลงุ 2. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกงหรา นางสาวทิวาวรรณ พทิ ักษจ์ ินดา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกงหรา 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเขาชยั สน นางวรรณา ศรหี รญั ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเขาชัยสน 4. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอควนขนุน นางดชั ณี ปยิ ะพงษ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอควนขนุน 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอตะโหมด -วา่ ง- ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอตะโหมด 6. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอปากพะยูน นายศริ ิพงศ์ บัวแดง ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอปากพะยนู 7. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอป่าบอน นางสาวทัศนา กำปัตตา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอป่าบอน 8. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางแก้ว นายยะฝาด สนั หมาน ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางแกว้ 9. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอปา่ พะยอม นางสาวจำเนียร รตั นบุรี ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอป่าพะยอม 10. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอศรบี รรพต นางกิริยาลักษณ์ สงณรงค์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอศรีบรรพต 11.ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศรีนครินทร์ นางสาวเรืองวิไล เรืองศรี ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอศรีนครินทร์ 3. ศึกษานเิ ทศก์ 1. นายธวชั ชัย วรรณขาว ศกึ ษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จงั หวัดพัทลงุ 2. นางสาวชนะจติ โมฬิยสุวรรณ ศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั พัทลงุ
7 4. หนว่ ยงานในสังกัด จำนวน ๑1 แห่ง จำนวน 65 แห่ง กศน.อำเภอ จำนวน 12 แหง่ กศน.ตำบล จำนวน ๑๐ แห่ง ศรช. จำนวน ๑ แหง่ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ จำนวน ๑ แห่ง ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั จำนวน 11 แห่ง หอ้ งสมดุ เฉลิมราชกุมารี ฯ จำนวน 311 แห่ง ศนู ย์อาเซยี นศึกษา บ้านหนังสอื ชุมชน ที่ สถานศกึ ษา กศน.ตำบล ศรช ช่อื ศรช. ตำบล ครผู ู้รับผดิ ชอบ (แหง่ ) (แห่ง) 1 กศน.อำเภอเมืองพทั ลงุ 14 2 1.ศรช.เทศบาลเมอื งพัทลุง ต.คูหาสวรรค์ นางสาวนงเยาว์ อนิ ทรสุวรรณ์ 2.ศรช.บ้านบ่อนเมา ต.คูหาสวรรค์ นางยพุ นิ เรืองพฒุ 2 กศน.อำเภอกงหรา 5 1 1.ศรช.บ้านปา่ แก่ คลองเฉลมิ นางสติ านนั ต์ อนิ นรุ กั ษ์ 3 กศน.อำเภอเขาชัยสน 5 2 1.ศรช.วดั ไทรงามใหม่ ต.เขาชยั สน นายธีรยุทธ์ สุขสวัสด์ิ 2.ศรช.วัดหานโพธิ์ ต.หานโพธ์ิ นายวีระพล ทบั ชนะ 4 กศน.อำเภอตะโหมด 3 2 1.ศรช.แมข่ รี ต.แมข่ รี (ครูผ้ชู ว่ ย,ครู อาสาสมคั รฯ รบั ผดิ ชอบ) 2.ศรช.เขาหัวช้าง ต.ตะโหมด นายประจำ เกตุน่มิ 5 กศน.อำเภอบางแก้ว 3 1 1.ศรช.บา้ นเกาะประดู่ ต.ท่ามะเดอื่ นางสาวจิราพร อนิ ทราช 6 กศน.อำเภอปากพะยูน 7 1 1.ศรช.ต.ปากพะยูน ต.ปากพะยนู (ครผู ู้ชว่ ย,ครู กศน. ตำบลรบั ผิดชอบ) 7 กศน.อำเภอปา่ บอน 5- - -- 8 กศน.ตำบลป่าพะยอม 4 - - -- 9 กศน.อำเภอควนขนนุ 12 2 1.ศรช.วดั ลอ้ ต.ชะมวง นางสาวเพชราภรณ์ บุญเลิศ 2.ศรช.วดั โคกโดน ต.โตนดด้วน นายตนุการณ์ ปรางนอ้ ย 10 กศน.อำเภอศรบี รรพต 3 1 1.ศรช.บา้ นสำนกั วา ต.เขายา่ นางสาวอภญิ ญา มณีโชติ 11 กศน.อำเภอศรีนครนิ ทร์ 4 - - -- รวม 65 12
8 5. บคุ ลากร ข้าราชการ จำนวน 12 คน ผบู้ ริหาร จำนวน 2 คน ศกึ ษานิเทศก์ จำนวน 18 คน ข้าราชการครู จำนวน 8 คน บุคลากรทางการศึกษา บรรณารกั ษ์ ลกู จ้างประจำ จำนวน 4 คน พนักงานพมิ พ์ พนกั งานราชการ จำนวน 22 คน พนักงานราชการ (ครูอาสา) จำนวน 68 คน พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล) จำนวน 21 คน พนักงานราชการ (สนง.กศน.จ.พัทลุง) จำนวน 2 คน พนักงานราชการ (ครูผู้สอนคนพกิ าร) ลูกจา้ งชั่วคราว จำนวน 6 คน บรรณารักษ์ (อัตราจ้าง) จำนวน 2 คน นักวชิ าการศึกษา จำนวน 1 คน นักวชิ าการเงินและบัญชี จำนวน 1 คน เจา้ หน้าท่ีพัสดุ จำนวน 1 คน เจ้าหน้าท่ีธรุ การ จำนวน 1 คน เจา้ หน้าทีเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 4 คน ครู ปวช. จำนวน 7 คน ครู ศรช. จำนวน 21 คน ครูการศกึ ษาพิเศษ (ครู กศพ.) จำนวน 2 คน รกั ษาความปลอดภัย (ยาม) จำนวน 6 คน พนักงานบริการ จำนวน 1 คน พนักงานขับรถยนต์ จำนวน 214 คน รวมบุคลากรท้ังหมด ขอ้ มลู ณ วันที่ 8 เมษายน 2565
9 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดพัทลุง มีอำนาจหน้าท่ีบริหาร จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภายในจังหวดั ดงั นี้ 1. จัดทำยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และความต้องการของทอ้ งถนิ่ และชุมชน 2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย 3. วิเคราะห์ จัดต้ัง จัดสรร เงินงบประมาณ ให้แก่สถานศึกษ าและภาคีเครือข่าย ทจี่ ดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษาและภาคีเครอื ข่าย 5. จัดระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบตามท่ีกฎหมายกำหนด 6. ส่งเสริม สนับสนุนการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์และ การเทียบระดับการศึกษา 7. ส่งเสรมิ และพัฒนาหลกั สูตร สอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษารว่ มกับสถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขา่ ย 8. ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อการมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. ส่งเสริม สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ ภาคเี ครอื ข่าย 11. ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ งานนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสริมสรา้ งความมน่ั คงของชาติ 12. กำกับ ดูแล นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาและภาคีเครอื ข่าย 13. ปฏบิ ตั งิ านอ่ืน ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
10 3. นโยบายและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง 3.1 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ซ่ึงเปน็ กฎหมายหลกั ในการปกครอง ประเทศ มีประเดน็ สำคญั ท่ีเกี่ยวกับการจดั การศึกษา การสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเข้ารับ บริการการศึกษาของประชาชน ไดแ้ ก่ หมวดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าที่เข้ารับการศึกษาอบรม ในการศกึ ษาภาคบังคับ หมวดหน้าท่ีของรัฐ มาตรา 54 รฐั ต้องดำเนินการให้เดก็ ทุกคนได้รบั การศึกษาเปน็ เวลาสิบสอง ปี ต้งั แตก่ ่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ยรัฐตอ้ งดำเนินการให้เด็กเล็ก ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหน่ึง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ สตปิ ัญญา ให้สมกับวยั โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม ในการดำเนินการด้วยรัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรยี นรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือระหวา่ งรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอย่างน้อยต้องมี บทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติและการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการให้เป็นไป ตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วยการศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัยภูมิใจในชาติ สามารถ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัด ของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับ การดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตาม วรรคสาม รัฐตอ้ งดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามความ ถนัดของตนให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา และเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้ มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมทั้งการให้ ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นอิสระ และกำหนดใหม้ ีการใช้จ่ายเงนิ กองทนุ เพ่อื บรรลุวัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการศึกษาให้เกิดผล ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ใหส้ ามารถเร่มิ ดำเนินการให้เด็กเล็กได้รบั การดูแลและพฒั นากอ่ นเข้ารบั การศึกษาตามาตรา 54 วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยไมเ่ ก็บคา่ ใช้จา่ ย (2) ให้ดำเนินการตรากฎหมายเพ่ือจัดต้ังกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายใน หนึง่ ปี นบั ตง้ั แตว่ นั ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญนี้
11 (3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คดั กรองและพฒั นาผู้ประกอบวิชาชีพครแู ละอาจารย์ ใหไ้ ด้ผู้มี จิตวิญญาณแหง่ ความเปน็ ครู มคี วามร้คู วามสามารถอยา่ งแทจ้ ริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถ และประสทิ ธภิ าพในการสอน รวมทั้งมกี ลไกสรา้ งระบบคุณธรรมในการบริหารงานบคุ คลของผปู้ ระกอบวิชาชพี ครู (4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติ และระดับพนื้ ทด่ี ังกล่าว หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา ให้มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหนึ่ง ท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอแนะ และร่างกฎหมายที่เก่ยี วขอ้ ง ในการดำเนินการใหบ้ รรลุเป้าหมายเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรีดำเนนิ การ 3.2 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 1 บททวั่ ไป ความม่งุ หมายและหลกั การ มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ได้อยา่ งมคี วามสุข มาตรา 8 การจดั การศึกษาใหย้ ดึ หลักดังนี้ (1) เป็นการศกึ ษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน (2) ใหส้ ังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา (3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรใู้ หเ้ ป็นไปอย่างต่อเน่ือง มาตรา 9 การจดั ระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยดึ หลกั ดังน้ี (1) มีเอกภาพ ดา้ นนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏบิ ัติ (2) มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ (3) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับและประเภทการศกึ ษา (4) มีหลักการส่งเสรมิ มาตรฐานวชิ าชพี ครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา และ การพัฒนาครคู ณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง (5) ระดมทรพั ยากรจากแหล่งตา่ งๆ มาใช้ในการจัดการศกึ ษา (6) การมีส่วนร่วมของบุคคลครอบครัวชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอ่ืน หมวด 2 สิทธแิ ละหน้าที่ทางการศกึ ษา มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษา
12 สำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจสติปัญญาอารมณ์สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมี ร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไม่สามารถพ่ึงตนเองได้หรือ ไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้ บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นพิเศษ ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและให้บุคคลดงั กล่าวมสี ิทธิได้รับสงิ่ อำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออื่น ใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมี ความสามารถพเิ ศษ ต้องจัดดว้ ยรูปแบบท่เี หมาะสมโดยคำนึงถึง ความสามารถของบคุ คลน้ัน มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผ้ปู กครองมีหนา้ ที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซ่ึงอยู่ในความดูแล ได้รับ การศึกษาภาคบังคับตามมาตรา17 และตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องตลอดจนให้ได้รับการศึกษานอกเหนือจาก การศึกษาภาคบงั คับ ตามความพร้อมของครอบครวั มาตรา 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน มีสิทธิ ในการจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ทงั้ นี้ให้เป็นไปตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง 3.3 ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 ยทุ ธศาสตรแ์ ห่งชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ดงั นี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจำชาตวิ า่ “มัน่ คง มั่งคัง่ ยั่งยืน” เปา้ หมาย 1. เปา้ หมายความม่ันคง 1.1 การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลงทั้งภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคง ในทกุ มิติ ท้งั มิตเิ ศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม และการเมือง 1.2 ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ ท่ีเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความม่ันคง เป็นกลไกทีน่ ำไปสู่ การบริหารประเทศท่ีตอ่ เนอื่ งและโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภบิ าล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขม้ แขง็ ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ 1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีม่ันคงพอเพียงกับ การดำรงชีวติ มีทอ่ี ยู่อาศัยและความปลอดภยั ในชีวิตทรพั ยส์ ิน 1.5 ฐานทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม มคี วามมัน่ คงของอาหาร พลงั งาน และน้ำ 2. เป้าหมายความม่ังคงั่ 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศ ในกลุ่มรายได้สูง ความเหล่ือมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชาชนได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนา อย่างเท่าเทยี มกนั มากขน้ึ
13 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ท้ังภายในและ ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญในระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เกิดสายสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลงั 2.5 ความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุน มนษุ ย์ ทนุ ทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทนุ ท่ีเป็นเครื่องมือเคร่อื งจกั ร ทนุ ทางสังคม และทนุ ทรพั ยากรธรรมชาติ 3. เปา้ หมายความยั่งยืน 3.1 การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไมส่ ร้าง มลภาวะตอ่ ส่ิงแวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนเิ วศน์ 3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ ของประชาคมโลก ซึ่งเป็นท่ียอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีคณุ ภาพดขี น้ึ คนมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม มคี วามเออื้ อาทร เสยี สละเพือ่ ผลประโยชนส์ ่วนรวม 3.3 ประชาชนทกุ ภาคส่วนในสังคมยดึ ถอื และปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สร้างความปรองดองสมานฉนั ท์ 2. เพ่อื เพมิ่ กระจายโอกาสและคุณภาพการให้บริการของรัฐอย่างท่ัวถงึ เทา่ เทียม เปน็ ธรรม 3. เพอ่ื ลดต้นทนุ ให้ภาคการผลติ และบริการ 4. เพอื่ เพิม่ มูลค่าสินคา้ เกษตร อุตสาหกรรม และบริการด้วยนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2560-2579) รวม 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเก่ียวข้องกับ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.) 4 ยุทธศาสตร์ ดังน้ี 1.ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความม่ันคงให้กับประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน และ ความสงบ เรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบรหิ ารจัดการความมน่ั คงชายแดนและชายฝั่งทะเล 2. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพศกั ยภาพคน 2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการ เจริญเติบโตของประเทศ 2.2 ยุทธศาสตร์ท่ี 3.2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เทา่ เทียมและทวั่ ถึง 2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 การปลูกฝงั ระเบียบวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ 3. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ด้านการสรา้ งโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่าเทยี มกนั ทางสงั คม 3.1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4.1 การสร้างความมนั่ คงและการลดความเหล่อื มลำ้ ทางดา้ น เศรษฐกจิ และสงั คม 4. ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 4.1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6.1 การปรบั ปรุงโครงสรา้ ง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ ให้มขี นาดทเ่ี หมาะสม
14 3.4 นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา) คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อรัฐสภา วนั พฤหัสบดีท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยรัฐบาลได้กำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน จำแนกเป็น นโยบายหลัก 12 ดา้ น และนโยบายเร่งด่วน 12 เรอ่ื ง ซ่งึ นโยบายหลกั 12 ดา้ น ประกอบด้วย 1) การปกปอ้ งและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษัตรยิ ์ 2) การสรา้ งความมน่ั คงและความปลอดภัยของประเทศและความสงบสุขของประเทศ 3) การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 4) การสร้างบทบาทของไทยในเวทโี ลก 5) การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถ ในการแข่งขนั ของไทย 6) การพฒั นาพ้ืนท่เี ศรษฐกิจและการกระจายความเจรญิ สภู่ ูมภิ าค 7) การพฒั นาสร้างความเข้มแขง็ จากฐานราก 8) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูแ้ ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวัย 9) การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกันทางสังคม 10) การฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อสร้างการเติบโตอยา่ งยั่งยืน 11) การปฏริ ปู การบรหิ ารจัดการภาครฐั 12) การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม และนโยบายเร่งดว่ น 12 เรื่อง ได้แก่ 1) การแก้ไขปญั หาในการดำรงชวี ติ ของประชาชน 2) การปรบั ปรงุ ระบบสวัสดิการและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน 3) มาตรการเศรษฐกจิ เพอื่ รองรบั ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลก 4) การให้ความชว่ ยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม 5) การยกระดับศกั ยภาพของแรงงาน 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกจิ ของประเทศส่อู นาคต 7) การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 8) การแก้ไขปญั หาทจุ ริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝา่ ยการเมืองและฝา่ ยราชการประจำ 9) การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ และสร้างความสงบสุขในพืน้ ทีช่ ายแดนภาคใต้ 10) การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชน 11) การจัดเตรยี มมาตรการรองรบั ภยั แลง้ และอุทกภัย 12) การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความเห็นของประชาชน และการดำเนินการเพื่อแก้ไข เพิม่ เตมิ รฐั ธรรมนูญ
15 3.5 นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ดว้ ยความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) วิสยั ทศั น์ “มเี สถียรภาพภายในประเทศ มีศกั ยภาพในการลดภยั ข้ามเขตพรมแดนไทย มบี ทบาทสร้างสรรค์ในภูมิภาค และประชาคมโลก” นโยบายความมั่นคงแหง่ ชาติ นโยบายท่ี ๑ : เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ รองรับวตั ถปุ ระสงค์ นโยบายท่ี ๒ : สร้างความเปน็ ธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ นโยบายท่ี ๓ : ป้องกันและแกไ้ ขการกอ่ เหตรุ ุนแรงในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายที่ ๔ : จัดระบบการบรหิ ารจดั การชายแดนเพ่อื ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา นโยบายท่ี ๕ : สร้างเสรมิ ศกั ยภาพการป้องกนั และแก้ไขปัญหาภยั คกุ คามข้ามชาติ นโยบายที่ ๖ : ปกป้อง รักษาผลประโยชน์แหง่ ชาตทิ างทะเล นโยบายที่ ๗ : จดั ระบบ ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหาผู้หลบหนเี ข้าเมือง นโยบายที่ ๘ : เสริมสร้างความเข้มแขง็ และภมู ิคมุ้ กนั ความม่นั คงภายใน นโยบายที่ ๙ : เสรมิ สร้างความมนั่ คงของชาตจิ ากภัยการทจุ ริต นโยบายท่ี ๑๐ : เสรมิ สร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรร์ องรบั วตั ถปุ ระสงค์ นโยบายท่ี ๑๑ : รักษาความมน่ั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม นโยบายที่ ๑๒ : เสริมสรา้ งความมัน่ คงทางพลังงานและอาหาร นโยบายท่ี ๑๓ : พัฒนาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาตเิ พ่อื เสรมิ สร้างความม่นั คงของชาติ นโยบายที่ ๑๔ : เสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพการป้องกันประเทศ แผนระดบั ชาตวิ า่ ด้วยความม่นั คงแหง่ ชาติ การเสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์ รองรับทุกนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ โดยกำหนดเป้าหมายเชิง ยุทธศาสตร์ตวั ช้ีวดั และกลยทุ ธ์ ดังน้ี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีความสามัคคี มีความปลอดภัยในการดำรงชีวิต มีส่วนร่วม และมีความ พร้อมเผชิญปัญหาและรบั มือกับภัยคกุ คามและปัญหาดา้ นความม่ันคง ตัวชว้ี ัด (๑) ระดบั การเสรมิ สรา้ งความสามัคคีของคนในชาติ (๒) ระดับการมีส่วนร่วมของหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร ภาคประชาสงั คม และประชาชนทัว่ ไป ในกจิ กรรมสนบั สนนุ งานดา้ นความมัน่ คง กลยทุ ธ์ (๑) ส่งเสรมิ ใหค้ นไทยมีความสามัคคี สังคมมีความสงบสุข และประเทศมกี ารพัฒนาอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับชุมชน ตำบล หมู่บ้าน จังหวัด ภาค และ ประเทศชาติ ให้เป็นเครือข่ายสนับสนุนงานด้านความม่ันคงและให้ตระหนักถงึ ความรบั ผิดชอบต่อผลประโยชน์ แหง่ ชาติ
16 (๒) สง่ เสรมิ ให้ประชาชนสามารถด ารงชีวิตโดยปกติและสามารถเข้าถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรม (๓) พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพของคน ชมุ ชน พื้นท่ี เพ่อื ใหม้ ีภูมิคุ้มกันและมีขดี ความสามารถในการเฝา้ ระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความมั่นคงโดยเฉพาะภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ตลอดจนมีความสามารถ ในการปรับตัวให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ ในอนาคต รวมท้ังเสริมสรา้ งความพร้อมของ ประเทศที่จะเผชิญสถานการณต์ ่าง ๆ อนั เกดิ จากภยั คกุ คามทกุ รูปแบบ (๔) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านความมั่นคงให้แก่ผู้บริหารและผู้ที่ปฏิบัติงาน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศให้รับรู้ถึงความสำคัญของมิติความม่ันคงที่ต้องประสานและบูรณาการ การวางแผนและการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี กอ้ื กลู กนั อย่างเปน็ เอกภาพ (๕) ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตรช์ าติไทย ปลูกฝังวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ค่านิยมท่ีดีงาม ความภูมิใจ ในชาติ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยการเรียนการสอน ท้ังในระบบและนอกระบบสถานศึกษา เพอื่ สนบั สนุนกจิ กรรมในดา้ นความมัน่ คง (๖) ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนท่ัวไป ได้เข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมในการสนับสนุนโครงการ ความร่วมมือต่างๆ และกิจกรรมด้านความมั่นคงในการขจัดหรือลดปัญหาด้านความม่ันคง เพ่ือส่งเสริม การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง การมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสงบสุขของสังคม และการกระจายรายได้ที่ท่ัวถึง เพื่อให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกัน อย่างทั่วถงึ เปน็ ธรรมและย่ังยนื 3.6 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) การพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 เป็น 5 ปีแรก ของการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ป(ี พ.ศ.2560-2579) สู่การปฏบิ ัติ โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คม แห่งชาติฉบับท่ี 12 มหี ลกั การทสี่ ำคัญ คอื 1. ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเส่ียงที่ดีซึ่งเป็นเงื่อนไข ท่จี ำเปน็ สำหรับการพัฒนาที่ย่ังยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคนมีความเปน็ คนทีส่ มบูรณ์ สังคมไทยเปน็ สังคมคณุ ภาพ มีท่ยี นื และเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสงั คมได้ดำเนนิ ชวี ิตทดี่ ี มคี วามสุขและอยู่ร่วมกนั อย่างสมานฉันท์ 2. ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและ สุขภาวะท่ีดีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อม เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเก้ือกูล อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ใชป้ ระโยชนท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสม 3. ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทย ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มน่ั คง มง่ั คัง่ ยงั่ ยืน”
17 4. ยึด “เป้าหมายอนาคต ประเทศไทยปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน ๕ ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ เปา้ หมายที่ยงั่ ยืน (SDGs) 5. ยึด “หลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ ผลสัมฤทธ์ิท่ีเป็นเป้าหมายระยะยาว” เป้าหมายรวม ประกอบด้วย 6 เป้าหมาย โดยมีเป้าหมายท่ีเกี่ยวข้องกับ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) จำนวน 3 เป้าหมาย ดังนี้ 5.1. เป้าหมายท่ี 1 คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและ พฤติกรรมตามบรรทดั ฐานที่ดีของสงั คม มีความเป็นพลเมอื งตื่นรู้ มคี วามสามารถในการปรบั ตัวได้อย่างรู้เท่าทัน สถานการณ์ มีความรับผิดชอบและทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดีมีความเจริญงอกงามทาง จติ วญิ ญาณ มวี ถิ ชี วี ติ ทพ่ี อเพียง และมีความเปน็ ไทย 5.2. เป้าหมายท่ี 2 ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลงเศรษฐกิจ ฐานราก มีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรการประกอบอาชีพ และบริการทาง สงั คมทม่ี ีคุณภาพอยา่ งท่วั ถึงและเป็นธรรม 5.2. เป้าหมายที่ 6 มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอำนาจและมีสว่ นรว่ มจากประชาชน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้คนไทยทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ สามารถพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่อง ตลอดชวี ติ 2. เพอ่ื ให้ระบบเศรษฐกิจมโี ครงสร้างทเ่ี ข้มแข็ง มเี สถียรภาพ แข่งขันได้ ย่ังยืน 3. เพอ่ื รักษาทุนธรรมชาตแิ ละคุณภาพสิ่งแวดล้อมสคู่ วามสมดลุ ของระบบนิเวศน์ 4. เพื่อสร้างความมั่นคงภายในประเทศ ป้องกันและลดผลกระทบจากภัยคุกคามข้ามชาติ 5. เพื่อให้การทำงานเชิงบูรณาการในลักษณะเช่ือมโยงระหว่างหน่วยงานที่ยึดหน้าที่และพื้นที่ ทำใหภ้ าครฐั มีประสิทธิภาพและปราศจากคอร์รัปชนั่ ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 รวม 10 ยุทธศาสตร์ ซ่งึ เกี่ยวข้องกบั สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) 4 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี 1. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์ โดยมีเป้าหมาย 1) ใหค้ นไทยส่วนใหญม่ ที ศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทัดฐานที่ดขี องสังคมเพิ่มขึ้น 2) คนในสังคมไทยทกุ ชว่ งวัยมีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขน้ึ และ 3) คนไทยได้รบั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วย ตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยการปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ พึ ง ป ร ะ ส งค์ ด้ ว ย ก า ร ส่ งเส ริ ม ให้ มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ท้ั ง ใน แ ล ะ น อ ก ห้ อ ง เรี ย น ท่ีสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายใน และโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจากอบายมุขอย่างจริงจัง พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และ ความสามารถ ในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ด้วยการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมองและ ทกั ษะทางสังคมท่เี หมาะสม พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรนุ่ ให้มที ักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด
18 สร้างสรรค์ มีทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตท่ีพร้อมเข้าสู่ตลาดงาน ส่งเสริมแรงงานให้มีความรู้และทักษะใน การประกอบอาชีพที่เป็นไปตามความต้องการของตลาดงาน พัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นให้สามารถ เข้าส่ตู ลาดงานเพิม่ ข้นึ และยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต 2. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้ำในสังคมโดยมีเป้าหมาย เพ่ือเพม่ิ โอกาสการเข้าถึงบริการพ้ืนฐานทางสังคมของภาครัฐ ด้วยการเพิม่ โอกาสให้กับกลมุ่ เป้าหมาย ประชากร รอ้ ยละ 40 ท่ีมรี ายได้ต่ำสุดให้สามารถเขา้ ถึงบริการที่มีคุณภาพของรฐั และมีอาชีพทั้งในด้าน การศึกษาในระดับ ที่สูงขึ้น การได้รับขยายการคุ้มครองทางสังคม (Social Protection) และสวัสดิการ (Welfare) ที่เหมาะสม อยา่ งทว่ั ถึงและเปน็ ธรรม และการพฒั นาทักษะฝมี ือเพอ่ื ประกอบอาชีพและยกระดับ รายได้โดยขยายโอกาสการ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้แก่เด็กและเยาวชนท่ีด้อยโอกาสทางการศึกษา อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ถูกจำกัด ศักยภาพจากสภาพครอบครัว พื้นท่ี และสภาพร่างกาย การดูแลนักเรียนยากจนที่อาศัยในพื้นท่ีห่างไกลที่ ครอบคลุมต้งั แตก่ ารสร้างรายได้ของครัวเรอื น การสนบั สนุนค่าเดนิ ทางไปยังสถานศกึ ษา การใหท้ ุนการศกึ ษาต่อ ระดับสูง เพ่ือปอ้ งกันไมใ่ หเ้ ด็กนักเรียนออกจากโรงเรียนกลางคนั รวมถึงสนบั สนุน การใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม การเรยี นรู้ในพ้ืนท่ีหา่ งไกล 3. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และย่ังยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ และประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีโอกาสในการศึกษาและ การประกอบอาชีพที่สร้างรายได้เพิ่มขึ้น โดยการรักษาความม่ันคงภายใน เพื่อให้เกิดความสงบในสังคมและ ธำรงไว้ซ่งึ สถาบันหลักของชาติ ดว้ ยการสรา้ งจิตสำนึกของคนในชาติใหม้ ีความหวงแหน และธำรงรกั ษา สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักถึงความสำคัญ และป้องกัน แก้ไข ปัญหา ความไม่สงบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยกระบวนการสันตสิ ุขแนวทางสันติวิธี และกระบวนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในพ้ืนท่ี บนพื้นฐานความแตกต่างท างอัตลักษณ์ และชาติพันธ์ุ เพื่อขจัดความขัดแย้ง ลดความรนุ แรงตามแนวทาง “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” 4. ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลในสังคมไทย โดยมีเป้าหมายเพื่อลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ การเพ่ิมคะแนนดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปช่ันให้อยู่สูงกว่า ร้อยละ 50 เม่ือสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ด้วยการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และ คุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความโปรง่ ใส ทันสมัย คล่องตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกดิ ความคุ้มค่า สามารถ ให้บริการประชาชนในรูปแบบทางเลือกท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ ข้าราชการมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าท่ี องค์กรมีสมรรถนะสูงและมีความทันสมัย ราชการบริหารส่วนกลาง มีขนาดเล็กลง และราชการบริหารส่วนท้องถ่ินมีขนาดที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ีรับผิดชอบ และป้องกัน ปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อให้สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส และยุติธรรม รวมท้ังสร้างความเข้มแข็ง เป็นภูมิคุ้มกันของสังคมไทยให้ครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน พร้อมท้ังเพื่อสร้างพลัง การขับเคล่อื นค่านยิ มตอ่ ต้านการทจุ รติ
19 3.7 นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรนี ุช เทยี นทอง) 12 นโยบายการจัดการศกึ ษา และ7 วาระเรง่ ดว่ นของกระทรวงศกึ ษาธิการ นางสาวตรีนชุ เทียนทอง รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ 12 นโยบายการจัดการศกึ ษา 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปล่ียนแปลงของโลกใน ศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคณุ ลักษณะท่ีเหมาะสมกับบริบท สงั คมไทย 2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ใด้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะทั้งด้านการจัดการ เรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้ส่ือทันสมัย และมีความรับผิดชอบต่อ ผลลัพธ์ทางการศกึ ษาท่ีเกดิ กับผู้เรียน 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลฝานแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการ ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วย ดิจิทัลแห่งชาติ ท่ีสามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่าง กว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประสทิ ธิภาพการบริหารและการจดั การศกึ ษา 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎ หมายการศึกษาแห่ งชาติที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกำห นดให้ มี ระบบบริห ารแล ะ การจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี ความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงาน บุคคลโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล 5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัดความรู้ และ ทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผล การศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์ ทางการศกึ ษาได้อยา่ งเหมาะสม 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากรทาง การศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมและสร้าง โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอ่ืน ๆ กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากรทาง การศกึ ษา งบประมาณและสือ่ เทคโนโลยไี ด้อยา่ งทั่วถึง 7. การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคณุ วุฒิอา้ งองิ อาเซียน (AQRF) สกู่ ารปฏิบตั ิ เป็นการ ผลิตและการพัฒนากำลังคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงระบบการศึกษาและ การอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทำมาตรฐานอาชีพในสาขา ทส่ี ามารถอ้างองิ อาเซียนได้
20 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคล่ือนแผนบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นำไปเปน็ กรอบในการจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวัย และมกี ารติดตามความกา้ วหนา้ เป็นระยะ 9.การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบการศึกษา ระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตท่ีดีมีส่วนช่วยเพ่ิม ขีดความสามารถในการแขง่ ขันในเวทโี ลกได้ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัด การศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทกุ แห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการ จดั การศึกษาผ่านระบบดจิ ิทลั 11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และ ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม ผูด้ ้อยโอกาสทางการศกึ ษา และผเู้ รียนทมี่ ีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยยึดหลักการเรียนรตู้ ลอดชีวิตและการ มสี ่วนร่วมของผูม้ สี ว่ นเก่ียวข้องเพอื่ เพม่ิ โอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสทาง การศกึ ษาและผเู้ รียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ 7 วาระเรง่ ดว่ นของกระทรวงศึกษาธกิ าร วาระท่ี 1 เร่ืองความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความ ปลอดภัยท้ังด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัย อันตรายตา่ ง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม วาระท่ี 2 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายโดยยึดความสามารถของ ผู้เรียนเป็นหลัก และพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ กดิ สมรรถนะที่ต้องการ วาระท่ี 3 Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพ่ือให้ได้ข้อมูลภาพรวม การศกึ ษาของประเทศท่ีมีความครบถว้ น สมบรู ณ์ ถกู ต้องเป็นปัจจบุ ัน และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ วาระที่ 4 ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแตล่ ะสถานศึกษา และตามบริบทของพ้ืนท่ี สอดคล้องกับความต้องการของประปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียน การสอนดว้ ยเครอื่ งมอื ทีท่ ันสมัย สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยีปจั จบุ ัน วาระที่ 5 พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีเน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ สร้างอาชพี และรายได้ท่ีเหมาะสม และเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ วาระที่ 6 การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ประซาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตาม ศกั ยภาพตัง้ แต่วยั เด็กจนถงึ วัยชรา และพัฒนาหลกั สตู รที่เหมาะสมเพ่ือเตรียมความพร้อมในการเขา้ สูส่ ังคมผสู้ ูงวยั
21 วาระที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรบั ผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ท่ีมี ความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรี เทา่ เทยี มกับผูอ้ นื่ ในสงั คม สามารถชว่ ยเหลือตนเองและมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ 3.8 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 วสิ ยั ทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างมีคณุ ภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกบั หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพ่ือพฒั นาสงั คมไทยให้เป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รรู้ ักสามัคคีและ ร่วมมอื ผนึกกำลงั มุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง แนวคิดการจดั การศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแห่งชาติยดึ หลักสำคัญ ในการจดั การศึกษา ประกอบดว้ ย - หลักการจดั การศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) - หลกั การจัดการศกึ ษาเพื่อความเท่าเทยี มและทวั่ ถึง (Inclusive Education) - หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) - หลกั การมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นของสังคม (All for Education) - ยึดตามเปา้ หมายการพฒั นาท่ียั่งยนื (SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030) การขับเคล่อื นแผนการศกึ ษาแห่งชาตสิ ู่การปฏบิ ัติ ความสำเร็จของการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สู่การปฏิบัติ ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยสำคัญหลายประการ ประกอบดว้ ย สาระของแผนการศึกษาแห่งชาติท่ีมีความชัดเจน ครบถ้วน และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และทุกระดบั การศกึ ษา การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาแผนการศึกษาแห่งชาติของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ต้ังแต่ ระดบั นโยบาย ระดับปฏิบัติผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี และสาธารณชน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แก่ผู้เกี่ยวข้องและ สาธารณชนเพอื่ สร้างความตระหนกั ในความสำคญั ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
22 การสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับแผนการศึกษาแห่งชาตแิ ละการนำแผนการศกึ ษาแห่งชาติ สู่การปฏิบัติที่ชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัติทุกระดับ เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษา ของชาติ แนวทางการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหง่ ชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ย 1) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสำคัญและพร้อมเข้าร่วมในการผลักดัน แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติสู่การปฏิบัติการสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานองค์กร และภาคีทุกภาคส่วน ถึงวิสัยทัศน์ และเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 2) การสร้างความเช่ือมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาการศกึ ษาระยะ ๕ ปีแผนปฏิบัติราชการระยะ ๔ ปีและแผนปฏิบัติการประจำปขี อง หน่วยงาน โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และหน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมจัดทำและติดตามประเมินผล แผนดงั กลา่ ว 3) การปรบั ปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายตา่ ง ๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลอื่ นการพฒั นาการศึกษาในระดับตา่ ง ๆ 4) การสร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา อย่างกวา้ งขวาง ทงั้ ระดับนโยบายและระดับพน้ื ที่ 3.9 แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสำนักงาน กศน. (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตท่ี เหมาะสมกับชว่ งวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที กั ษะทีจ่ ำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21” จุดเน้น “ส่งเสริม สนับสนุน และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการของผู้เรียนและ สงั คมโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้สื่อเทคโนโลยีหลากหลายและทันสมัยมาเป็นกลไก ในการจัดรวมทั้งพัฒนาครูให้เป็นผู้จัดการศึกษาและการเรียนรู้มืออาชีพ เน้นพัฒนากระบวนการคิดและการ วิจัยให้กับกลุ่มเป้าหมาย ใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการเชิงรุก โดยให้ชุมชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมภายใต้ การบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล เพ่อื สรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งยัง่ ยืน” เป้าหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ท่ีมีคุณภาพ และมาตรฐานอย่างท่ัวถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการดำรงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 3) หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และมปี ระสิทธิภาพเพื่อให้บริการการศกึ ษา และการเรียนรู้ตลอดชีวติ ให้กบั ประชาชนอย่างท่วั ถงึ และมีประสิทธิภาพ
23 4) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ภายใต้การบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ยุทธศาสตร์ 1) เพ่มิ และกระจายโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 2) พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั ใหม้ ีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี 3) ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา เปา้ หมายตามยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 เพม่ิ และกระจายโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศกึ ษาและการเรียนรทู้ มี่ ี คุณภาพ เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนไทยได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตทมี่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน 2) แหลง่ เรียนรู้ สอ่ื และนวตั กรรมการเรยี นร้มู ีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชน สามารถเข้าถึงได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่ 3) คนไทยทุกชว่ งวยั ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจชายแดนใต้ และพ้นื ท่ีพิเศษได้รบั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ ีคณุ ภาพ แนวทางการพฒั นา การศกึ ษานอกระบบ 1) ประกนั โอกาสการเขา้ รับบริการทางการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานให้แก่ ผเู้ รยี นในทกุ พืน้ ที่ ครอบคลุมผูท้ ีม่ คี วามตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ 2) ส่งเสริมให้มีการบรู ณาการ การศึกษานอกระบบเพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถเข้าถึง โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกับวัย สภาพร่างกายและสุขภาพ ความจำเป็น ความต้องการและ ความสนใจ และสามารถนำผลท่ีได้จากการศึกษาและการเรียนรู้ไปเทียบระดับ เทียบโอน เช่ือมโยงส่งต่อ ระหว่างการศึกษาทุกรปู แบบทกุ ระดับได้ 3) ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบท่สี อดคล้องกับความสนใจและวถิ ีชวี ิตของ ผู้เรยี นทุกกล่มุ เป้าหมาย 4) ส่งเสริมโอกาสในการเขา้ ถงึ การศกึ ษานอกระบบของคนทุกชว่ งวัยในพนื้ ท่ีพเิ ศษ
24 และเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ให้เหมาะสมกับภูมิสังคม อัตลักษณ์ และความต้องการของ ชุมชนและพ้ืนท่ี 5) จดั ทำ SMART CARD ทางการศึกษาสำหรบั ทกุ กลุม่ เปา้ หมายโดยเฉพาะ กลุ่มเปา้ หมายพิเศษเพ่ือขอรับบริการทางการศึกษา 6) พฒั นาระบบ E-exam และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกสใ์ หม้ มี าตรฐานและ ยกระดับสถานศึกษาทุกแห่งให้เป็นศูนย์ทดสอบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือเพิ่มโอกาสทางการศึกษาขั้น พ้ืนฐานทม่ี ีคุณภาพใหแ้ กป่ ระชาชน 7) พฒั นาระบบการเทยี บโอนและการเทียบระดับการศกึ ษา ใหม้ ีมาตรฐานและ สามารถเชือ่ มโยงการศึกษาและการเรยี นรู้ทกุ ระดับ ทุกรปู แบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชนใหม้ มี าตรฐานตามประเภทแหลง่ การเรยี นรู้ และ สอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้รับบริการแต่ละกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ัง สามารถให้บริการได้อย่าง ทวั่ ถงึ 2) พฒั นาหอ้ งสมดุ พิพิธภณั ฑ์ และจดั แหล่งเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย กระจายอยูท่ กุ พ้ืนทีใ่ ห้เปน็ กลไกในการแสวงหาความรู้ของประชาชน 3) เพิ่มโอกาสในการเข้าถงึ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ของคนทุกช่วงวยั ในพื้นท่ีพิเศษ และเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ให้เหมาะสมกับภูมิสังคม อัตลักษณ์ และความต้องการของ ชุมชนและพน้ื ท่ี 4) พัฒนานวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สือ่ เพอ่ื การเรียนรู้ และการให้บรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบ ตลอดจนขยายเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาทุกแห่ง ครอบคลุมทุกพน้ื ทแ่ี ละเพียงพอกับผูเ้ รยี น เพ่ือเออ้ื ตอ่ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั ใหม้ ีสมรรถนะ และทักษะ เหมาะสมมคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี เปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนทกุ ช่วงวยั มีทักษะ ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศกึ ษา และพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศักยภาพ 2) คนไทยได้รับการพฒั นาสมรรถนะและทักษะในการดำรงชีวิตท่ีเหมาะสมกบั ช่วง วยั และพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 รวมพนื้ ทชี่ ายแดนใต้และพื้นท่พี เิ ศษ 3) ระบบการวดั ผลและประเมนิ ผลและการเทียบโอนการศกึ ษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 4) คนไทยมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มน่ั การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ 5) สถานศึกษาสามารถจดั กจิ กรรม กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรไดอ้ ย่างมี คุณภาพมาตรฐาน
25 6) ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะอยา่ งตอ่ เนื่อง 7) กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส กลุม่ ผ้พู ลาดโอกาส และกลุม่ ผ้ขู าดโอกาส ได้รบั โอกาสใน การพฒั นาสมรรถนะและทกั ษะในการดำรงชวี ิตเพ่ือการมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี 8) ผเู้ รยี น ผรู้ ับบริการ ไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้ารบั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างมีคุณภาพ แนวทางการพฒั นา การศกึ ษานอกระบบ 1) ปฏิรปู หลักสูตร ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรยี นรใู้ ห้ทันตอ่ ความเปลย่ี นแปลงเหมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพของกลุ่มเป้าหมาย 2) พฒั นากระบวนการเรียนการสอนเพอื่ ยกระดับคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-NET) 3) พฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบใหเ้ ชื่อมโยงกบั ระบบคุณวุฒิ วิชาชีพที่นำไปสู่เส้นทางอาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ และ พัฒนาใหม้ ีระบบการสะสมและเทยี บโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) 4) พฒั นาหลกั สตู ร และกระบวนการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกบั สภาวการณก์ ารพฒั นา ประเทศและเป็นไปตามสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยคำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน เสริมสร้างความตระหนักในคณุ ค่าของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความรู้เรื่องทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษ ท่ี 21 5) พัฒนารปู แบบและวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ทู ี่มีคณุ ภาพและ มาตรฐาน สามารถวัดและประเมินไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ และนำผลการประเมินไปใชไ้ ดจ้ รงิ 6) สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวิจัยและพัฒนานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สอื่ เพือ่ การเรยี นรู้ และการใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทกุ รูปแบบทไี่ ด้มาตรฐาน 7) พฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและหลักสูตรการอบรมแก่กลมุ่ ผ้สู ูงวัยใหม้ ี คุณภาพและชีวติ ทีด่ ี 8) พฒั นาหลกั สูตรภาษาอังกฤษสำหรับประชาชนเพ่อื ยกระดบั ทักษะการใช้ ภาษาองั กฤษของคนไทย และภาษาต่างประเทศอืน่ ๆ ทเี่ ป็นไปตามความตอ้ งการของพืน้ ทแ่ี ละประชาชน 9) ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารจดั ทำแผนการเรียนรู้ตลอดชวี ิตของชุมชน/รายบุคคล เพ่อื เป็น เครื่องมือในการกำหนดทิศทางและสร้างแรงจงู ใจในการเรียนรู้ตลอดชวี ิตของประชาชน 10) ส่งเสรมิ ใหส้ ถานประกอบการจดั การศกึ ษานอกระบบ ซึง่ อาจจัดเองหรอื ร่วม จดั โดยสามารถนำคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาไปลดหย่อนภาษีได้ 11) พฒั นาหลกั สูตรอาชีพเพอื่ เสริมสรา้ งการพัฒนาอาชีพให้กบั ประชาชนในชุมชน
26 แบบครบวงจรซึ่งเป็นกระบวนการต้นทางถึงปลายทางต้ังแต่กระบวนการผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่าย การตลาด และการดำเนนิ การในเชิงธุรกิจ 12) ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ส่ี ร้างเสริม และปรบั เปลีย่ นค่านยิ มของคน ไทยใหม้ วี ินยั จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ 13) พฒั นาสมรรถนะครูใหม้ ศี กั ยภาพในการจัดการเรยี นรู้ สามารถใชเ้ ทคโนโลยี และประสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เป็นครูมืออาชีพ และมีมาตรฐานคุณภาพ ตามท่สี ำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ (องคก์ รมหาชน) กำหนด 14) พัฒนาศักยภาพและขดี ความสามารถของบุคลากรให้ตรงกับสายงานหรือความ ชำนาญเพ่อื ใหส้ ามารถจดั การศึกษาและส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ 15) ส่งเสรมิ ให้แรงงานได้รับโอกาสยกระดับคุณวุฒทิ างการศึกษาและทักษะ ความรู้ทส่ี งู ข้ึน การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ทป่ี ลกู จิตวทิ ยาศาสตรใ์ ห้กบั ประชาชนผ่าน STEME ducation สำหรับประชาชน อันจะนำไปสู่การใช้ความคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ และการใช้ เหตผุ ลในการดำเนนิ ชีวิต 2) ส่งเสรมิ การสร้างสรรค์ความร้ใู หม่ ๆ ทง้ั จากภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ที่มอี ยู่เดมิ และ ความร้ดู ้านนวัตกรรมใหม่ๆ 3) จัดกิจกรรม สือ่ และนทิ รรศการที่มชี วี ิตและกระตุ้นความคิดสรา้ งสรรค์ ใน แหลง่ เรียนรู้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษาสำหรับคนทกุ ช่วงวยั เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) โครงสร้างพื้นฐานดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาของหน่วยงานและ สถานศกึ ษามคี วามทนั สมัย และมคี ุณภาพ 2) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบนั และระบบเชอื่ มโยงกบั หน่วยงานอน่ื เพ่ือประโยชน์ในการจัดและบรกิ ารการศึกษาได้ แนวทางการพฒั นา 1) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศึกษา การจดั การเรียนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ทม่ี ีความยืดหยนุ่ หลากหลาย สามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี 2) พฒั นาสถานีวทิ ยุโทรทัศนเ์ พือ่ การศกึ ษา (ETV) ให้เปน็ สถานีวิทยุโทรทัศน์ เพอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3) ส่งเสริมใหม้ ีการจดั ตง้ั สถานโี ทรทศั น์สาธารณะแบบดจิ ทิ ัลและการผลิตรายการ เพ่อื การศกึ ษา 4) พัฒนากระบวนการเผยแพร่ ICT เพือ่ การศกึ ษาให้มีรูปแบบทีห่ ลากหลาย ทันสมัย เป็นปจั จุบนั และสอดรับกบั ความตอ้ งการของสงั คม
27 5) สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการวจิ ัย เพื่อพัฒนารปู แบบ แนวทางในการใช้ เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาในการจดั และส่งเสรมิ การจดั การศึกษา 6) ให้มีและบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายเพ่อื สนบั สนนุ ใหเ้ กิดการใช้เทคโนโลยี เพ่อื การศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) สง่ เสรมิ ให้มีส่อื ดิจิทลั เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชนและการสง่ เสริมการมีอาชีพ เพ่มิ ข้ึน 8) จัดและสนบั สนุนสถานศกึ ษา แหล่งการเรยี นรู้ กศน.ตำบล ใหม้ คี วามพรอ้ ม เกี่ยวกบั โครงสร้างพ้ืนฐานด้าน ICT และเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาอืน่ ท่เี หมาะสมกบั พ้ืนท่ี 9) พัฒนาระบบฐานข้อมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาให้ครอบคลมุ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และเช่ือมโยงทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการ การติดตาม ประเมิน และรายงานผล ให้มีมาตรฐานที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และตรงกับความต้องการในการใช้ งานทเี่ ช่อื มโยงกบั หน่วยงานท้งั ภายในและภายนอกองคก์ รอย่างเป็นระบบ 10) พัฒนาเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา ทงั้ โครงสรา้ งพืน้ ฐาน อุปกรณ์ เนอื้ หา และ วชิ าการ เพ่อื ช่วยในการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองสำหรับประชาชน 11) พฒั นาประสิทธภิ าพเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาทางไกล และการศึกษาในระบบ เปิด อาทิ ETV E-learning MOOC เพ่ือเป็นเคร่อื งมอื ในการขยายการให้บริการในรปู แบบต่างๆ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศึกษา และส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมีบทบาท และมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) ระบบบริหารจดั การมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพและ มาตรฐานการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2) ระบบบรหิ ารงานบคุ คล มีความเปน็ ธรรม สรา้ งขวญั และกำลังใจ และส่งเสริมให้ ปฏิบตั งิ านไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ 3) บคุ ลากรทกุ ประเภททุกระดบั ได้รับการพัฒนาความรู้ ทกั ษะ ตามมาตรฐาน ตำแหน่ง รวมท้งั บทบาทภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย 4) กฎหมายและระเบียบทเ่ี กีย่ วขอ้ ง รองรับการปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และสอดคล้องกบั บรบิ ทของสภาพสังคม 5) ระบบและกลไกการวัด ติดตาม และประเมินผลการศึกษาและการเรยี นรมู้ ี ประสิทธิภาพ 6) ทกุ ภาคสว่ นมีบทบาทและมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษาและการเรยี นรทู้ ี่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ เพ่ือสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนร้ใู ห้เกิดข้ึนในพนื้ ท่/ี ชุมชน
28 แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการทเี่ นน้ การกระจายอำนาจลงสู่พน้ื ท่ภี าค การมี สว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น และมีระบบบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล 2) กำหนดใหม้ มี าตรการจงู ใจทงั้ ด้านภาษี และสิทธปิ ระโยชน์ตา่ งๆ ใหก้ บั ภาคี เครอื ข่ายทีเ่ ขา้ มารว่ มจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3) ผลกั ดันใหเ้ กดิ กองทุนเพอื่ การพัฒนาสำหรับการศึกษานอกระบบ เพ่ือเป็นกลไก ในการสร้างโอกาสทางการศกึ ษา 4) สง่ เสริม สนบั สนุนใหท้ ุกภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นรว่ มในการเป็นภาคีเครอื ขา่ ย และ สร้างแรงจูงใจในรูปแบบต่างๆ ให้ภาคีเครือข่ายรว่ มจัดและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในชุมชนอย่างต่อเนื่องและ ยัง่ ยนื 5) สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ดา้ นการศึกษากับองคก์ รหรือหน่วยงานทัง้ ในและ ตา่ งประเทศโดยเน้นการทำงานในลกั ษณะบูรณาการการวจิ ัยและพฒั นา 6) วิเคราะห์ วจิ ัย ปรบั ปรุงกฎ ระเบียบตา่ งๆ ทสี่ อดคล้องกับการพฒั นาการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเ้ อ้อื ต่อการบรหิ ารจดั การ 7) สง่ เสรมิ การสรา้ งสภาพแวดล้อมของชุมชน ท้องถ่ิน สังคม เพอื่ เอ้ือต่อการศกึ ษา และการเรยี นรู้และสนบั สนุนการสรา้ งกลไกการขบั เคลือ่ นชมุ ชนไปสสู่ งั คมแห่งการเรียนรู้ 8) วิเคราะห์และจัดทำแผนอตั รากำลังตามบทบาท หนา้ ท่ี และภารกิจ ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดโดยใช้รูปแบบการวิจัย เพ่ือให้การเกลี่ยอัตรากำลัง/บรรจุแต่งต้ังบุคลากร ตามอตั รากำลงั มคี วามเหมาะสม 9) พฒั นาบคุ ลากร กศน. ทุกระดบั ใหม้ คี วามรูแ้ ละทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง ใหต้ รงกับสายงานหรือความชำนาญ ตัวช้ีวดั ตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำนกั งาน กศน. (พ.ศ. 2560 – 2579) 1. เพมิ่ และกระจายโอกาส ในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู้ท่ีมคี ณุ ภาพ 1) ประชากรวัยแรงงาน (อายุ15 - 59 ปี) มปี กี ารศกึ ษาเฉล่ยี เพิ่มข้ึน 2) ร้อยละของกำลังแรงงานท่ีสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมตอนต้นหรือเทียบเท่าได้รับการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ 3) รอ้ ยละของแรงงานทขี่ อเทยี บโอนความรู้ และประสบการณเ์ พ่ือยกระดับคณุ วุฒกิ ารศกึ ษาเพิ่มขึ้น 4) ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ท่ีได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดบริการทางการศึกษาและมีการจัดกิจกรรม การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ท่ีมีคุณภาพเพิ่มขนึ้ 5) ผูเ้ รยี นระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานทุกคนได้รับการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการศึกษา 15 ปี 6) ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เทียบกบั เป้าหมาย 7) จำนวนผูร้ ับบริการในพื้นที่เปา้ หมายไดร้ บั การส่งเสริมดา้ นการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต
29 8) ร้อยละของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมท่สี ามารถอา่ นออกเขยี นได้และคดิ เลขเป็นตามจุดมุง่ หมายของกิจกรรม 9) จำนวนนักเรียน นกั ศึกษาท่ไี ด้รับบริการติวเขม้ เตม็ ความรู้ 10) รอ้ ยละของผู้เรียนพกิ ารได้รบั การพัฒนาสมรรถภาพและบริการทางการศึกษาท่ีเหมาะสม 11) ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับไดร้ ับการอุดหนนุ และการช่วยเหลอื ค่าใช้จ่ายตัง้ แต่ระดับอนุบาลจน จบการศึกษาภาคบังคับ 2. พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนทุกช่วงวัยใหม้ สี มรรถนะ และทักษะเหมาะสม มคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี 1)รอ้ ยละของผลการทดสอบระดับชาติ N - Net แตล่ ะระดบั /สาระการเรยี นรู้ เรียนรู้ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 50 ขึน้ ไป 2) รอ้ ยละการอ่านของคนไทยเพ่ิมข้ึน 3) ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ัน สามารถนำ ความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั และพัฒนาตนเองได้ 4) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีงานวิจยั และ/หรอื นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ 5) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่จัดการศึกษาโดยบรู ณาการองค์ความรแู้ บบสะเตม็ ศึกษาเพ่ิมขนึ้ 6) ร้อยละของชมุ ชนทีน่ ำความรูไ้ ปใชต้ อ่ ยอดในการพัฒนาชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน 7) ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ที่มีนิทรรศการสอื่ กิจกรรม เพ่ือปลูกฝังกระบวนการเรียนรูต้ ลอดชีวติ 8) รอ้ ยละของผ้เู รียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งพัฒนาแนวคิดไปสู่ การปฏบิ ัติ 9) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทเ่ี ขา้ รับการประเมินมีคุณภาพตามเกณฑป์ ระกันคุณภาพเพิ่มข้ึน 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่ือการศึกษาสำหรับคนทกุ ชว่ งวัย 1) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรยี นการสอนผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทัล 2) จำนวนระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาท่ีทันสมัยสนองตอบความต้องการของผเู้ รียน และผ้ใู ช้บรกิ ารอย่างทวั่ ถงึ และมีประสิทธภิ าพเพมิ่ ข้ึน 3) ร้อยละของสถานศึกษาได้รับบริการอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูง ครอบคลุมทุกพื้นท่ี ขั้นต่ำ 30 mbps ใน 5 ปแี รก และ 100 mbps ภายใน 20 ปเี พิม่ ขนึ้ 4) ร้อยละของนักเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนใต้ และพ้ืนท่ีพิเศษที่มีคะแนนผลการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน(N-Net) แต่ละสาระวิชาร้อยละ 50 เพิม่ ข้ึน 4. พัฒนาระบบบริหารจดั การศึกษา และสง่ เสริมให้ทุกภาคสว่ นมบี ทบาทและมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา 1) รอ้ ยละของบคุ ลากรทบี่ รรจุตามกรอบอัตรากำลังเพ่ิมข้นึ 2) ร้อยละของบุคลากรท่ีไดร้ บั การพฒั นาเพม่ิ ข้ึน 3) ร้อยละหน่วยงาน/สถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ทท่ี ันสมยั เพมิ่ ขนึ้ 4) ร้อยละของหน่วยงาน/สถานศึกษาท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแผนพัฒนาการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
30 5) มกี ฎ ระเบียบทสี่ ามารถนำไปปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 6) จำนวนภาคีเครอื ขา่ ยท่ีร่วมระดมทุนและทรัพยากรทางการศึกษา 7) จำนวนภาคเี ครือขา่ ยทร่ี ่วมจดั กจิ กรรม/แหล่งเรียนรู้ 8) จำนวนผลงานของภาคีเครือข่ายทีม่ กี ารสรา้ งและเผยแพร่องค์ความรู้/นวตั กรรม 9) ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน. ท่ีได้รับแต่งต้ังเป็นศูนย์ทดสอบด้วยระบบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3.10 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หลกั การ : กศน. เพ่ือประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคุณภาพ” ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เก่ียวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อย ประเด็นการพัฒนาเรียนรู้ และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ท่ีมุ่งเน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์การพัฒนาเด็กต้ังแต่ชว่ งต้ังครรภ์จนถงึ ปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรยี นวยั รนุ่ การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงานรวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผสู้ ูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 และปัญญาของมนุษย์ ท่หี ลากหลายประกอบกบั แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษานโยบายรัฐบาล ทง้ั ในสว่ นนโยบายหลกั ด้านการ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตนโยบายเร่งด่วนเร่ืองการเตรียมคนไทย ส่ศู ตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่นื ที่เกี่ยวขอ้ งอาทิแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560 - 2568 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ พ.ศ. 2562 - 2568 โดยความโดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตประชาชนจะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็น คนดีคนเก่งมีคุณภาพและมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคงมั่งคั่ งและย่ังยืน และกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ข้ึนเพื่อเป็นเข็มมุ่ง ของหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ กับเร่ืองการดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังกล่าว สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และ ปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใชท้ รพั ยากรด้าน การจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพโดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการ คุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาส และลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษาการยกระดับคุณภาพและเพ่ิม ประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมายและสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการโดยได้กำหนด นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน.ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี
31 1. ดานการจัดการเรยี นรคู ณุ ภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรูท่ีสนองตอบยุทธศาสตรชาติและนโยบายของรัฐมนตรีวาการและ รัฐมนตรชี วยวาการกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สงเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคง การสรางความเขาใจที่ถูกตองในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรูประวัติศาสตรของชาติและทองถ่ิน และหนาที่ความเปนพลเมืองท่ีเขมแข็ง รวมถงึ การมจี ิตอาสาผานกจิ กรรมตางๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ท้ังหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐานและหลักสูตรการศึกษาตอเน่ือง ใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลองกับ บริบทที่เปล่ียนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึงปรับลดความ หลากหลายและความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายบนพน้ื ท่ีสูง พ้นื ท่ีพเิ ศษ และพืน้ ทีช่ ายแดนรวมท้งั กลุมชาติพันธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรยี นรูไดตามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสำคัญ กับการเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผู้เรียนใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดบั สากล เชน การประเมนิ สมรรถภาพผูใหญ ตลอดจน กระจายอำนาจไปยังพ้นื ที่ในการวดั และประเมินผลการเรียนรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจดั หลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจรต้ังแต การลงทะเบียนจนการประเมนิ ผลเมอื่ จบหลกั สูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมาย ทสี่ ามารถเรยี นรูไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรยี น 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสำนักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนา ส่ือการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังสื่อการเรียนรูที่เปนส่ือท่ีถูกตองตามกฎหมาย งายตอการสืบคนและนำไปใชในการจดั การเรียนรู 1.8 เรงดำเนินการเร่ือง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพือ่ การสรางโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง สงเสรมิ การวจิ ัยเพือ่ เปนฐานในการพัฒนาการดำเนนิ งานการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ท่ีเนนการพัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับแตละชวงวัยและการ จดั การศกึ ษาและการเรียนรูที่เหมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพืน้ ที่
32 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเนน New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคลองกับบริบท พ้ืนที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมายเชน ผูพิการผูสูงอายุความตองการของ ตลาดแรงงาน และกลุมอาชีพใหมทร่ี องรบั DisruptiveTechnology 2.3 ประสานการทำงานรวมกับศูนยใหคำปรึกษาการจัดต้ังธุรกิจ(ศูนย Start-up) ของอาชีวศึกษา จัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันฐานสมรรถนะ ในทักษะอนาคต (Future Skills) ใหกับแรงงานที่กลับ ภมู ิลำเนาในชวงสถานการณCOVID - 19 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ที่เนน “สงเสริมความรูสราง อาชีพ เพิ่มรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนท่ียอมรับของตลาด ตอยอดภูมิปญญา ท้องถิ่นเพ่ือสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธและชองทางการ จำหนาย 2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุเพ่ือใหเปน Active Ageing WorkforceและมีLife skill ในการดำรงชวี ิตที่เหมาะกับชวงวัย 2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพ่ือเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสำหรับสตรีตั้งครรภและจัด กิจกรรมการเรยี นรูสำหรบั แมและเดก็ ใหเหมาะสมกับบรบิ ทของชุมชนและชวงวัย 2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาท่ีพัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการ ออทสิ ติก เด็กเรรอน และผูดอยโอกาสอนื่ ๆ 2.8 สงเสรมิ การพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และทักษะดานภาษา ใหกับบุคลากรและผูเรียน กศน. เพอ่ื รองรับ การพัฒนาประเทศรวมทั้งจัดทำกรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency)สำหรับครูและบุคลากร ทางการศึกษา 2.9 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy)การวางแผนและสรางวินัย ทางการเงินใหกบั บุคลากรและผูเรียน กศน. 2.10 สงเสริมการสรางนวตั กรรมของผูเรียน กศน. 2.11 สราง อาสาสมัคร กศน. เพือ่ เปนเครอื ขายในการสงเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในชมุ ชน 2.12 สงเสริมการสรางและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร เพื่อให หนวยงาน / สถานศกึ ษา นำไปใชในการพัฒนากระบวนการเรยี นรูรวมกัน 3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรยี นรูคณุ ภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนาท่ีของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พฒั นาตอเนือ่ งสิรินธร สถานศึกษาข้ึนตรง ศูนยฝกและพฒั นาราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพ ในการขับเคลอ่ื นการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในพนื้ ท่ี 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.) ใหมี ความพรอมเพ่ือเปนพน้ื ทกี่ ารเรียนรูตลอดชีวติ ท่สี ำคญั ของชุมชน 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ท่ีเนน Library Delivery เพ่ือเพิ่มอัตราการอานและ การรหู นงั สือของประชาชน
33 3.4 ใหบริการวิทยาศาสตรเชิงรุกScience @homeโดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือนำวิทยาศาสตร สูชีวิตประจำวนั ในทุกครอบครัว 3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพื้นที่การเรียนรูในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- learning Spaceเพื่อการสรางนเิ วศการเรยี นรูใหเกิดขน้ึ สงั คม 3.6 สงเสรมิ และสนับสนุนการดำเนินงานของกลุม กศน.จงั หวดั ใหมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ดานการบริหารจดั การคุณภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท โครงสรางของหนวยงานเพอื่ รองรับการเปลย่ี นแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหาร จดั การ และการจัดการเรยี นรู เชน การปรับหลักเกณฑคาใชจายในการจัดหลกั สูตรการศึกษาตอเนอ่ื ง 4.3 ปรบั ปรงุ แผนอัตรากำลงั รวมทัง้ กำหนดแนวทางทีช่ ัดเจนในการนำคนเขาสูตำแหนง การยาย โอน และการเลอ่ื นระดบั 4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงใหตรงกับ สายงาน และทักษะท่จี ำเปนในการจัดการศึกษาและการเรียนรู 4.5 เสริมสรางขวัญและกำลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน ประกาศเกยี รติคุณ การมอบโล /วฒุ บิ ตั ร 4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุม เหมาะสม เชน การปรับ คาใชจายในการจัดการศกึ ษาของผูพิการ เด็กปฐมวัย 4.7 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอยางเปนระบบ เชน ขอมูลการรายงานผลการดำเนินงาน ขอมูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็กเรรอน ผูพิการ 4.8 สงเสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเคร่ืองมือในการบริหารจัดการอยางเต็มรปู แบบ 4.9 สงเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0และการประเมินคุณภาพ และความโปรงใสการดำเนินงานของภาครฐั (ITA) 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเี ครือขายทุกภาคสวน เพ่อื สรางความพรอมในการจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน
34 ส่วนที่ ๓ ทศิ ทางการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. จังหวัดพัทลุง ได้ประชุมเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษาโดยใช้การ วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมท้ังโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา เพื่อนำผลไปใชใ้ นการกำหนดทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศึกษา จากผลการประเมินสถานการณ์ขององค์กร โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT analysis) ขององคก์ รดังกล่าวขา้ งต้น สามารถนำมากำหนดทศิ ทางการดำเนินงานขององค์กร ดังนี้ การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มการดำเนินงาน (SWOT) สำนกั งาน กศน.จงั หวัดพัทลงุ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพของสถานศกึ ษา : ภายใน จุดแขง็ (Strength) 1. มีการจดั โครงสร้างการบรหิ ารงานที่ชัดเจน และการปฏิบตั ิงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายของต้นสงั กัด และทิศทางในการพฒั นาประเทศ 2. มีการกระจายอำนาจเพื่อการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบริหารงาน ของหนว่ ยงานทำใหส้ ถานศึกษาในสังกัดเกิดความคล่องตวั ในการทำงานมากข้ึน 3. ผู้บริหารมีความมุ่งมั่น มีวิสัยทัศน์กว้างไกลเสียสละในการทำงาน และพร้อมขับเคล่ือนงาน ของหน่วยงานอย่างแท้จรงิ 4. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองยอมรับการ เปลีย่ นแปลงและสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5. ผู้บริหารและบุคลากรมีการทำงานเป็นทีมช่วยเหลือสนับสนุนซ่ึงกันและกัน เปิดโอกาสให้ทุกคน มีสว่ นรว่ มในการรว่ มคดิ รว่ มทำกจิ กรรมต่างๆรว่ มกนั 6. การจัดสรรและการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในการจัดโครงการกิจกรรม มีความโปร่งใส ถูกต้อง ตรวจสอบได้ นำไปใช้ตามวตั ถุประสงค์คมุ้ ค่าเกดิ ประโยชน์สูงสุดกบั ผู้เรียนและผรู้ บั บริการ 7. หลักสูตรและกิจกรรมมีความหลากหลาย คล้องกับความต้องการผู้เรียนและผู้รับบริการ ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 8. มกี ารรณรงค์การนำเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยมาใช้ในกระบวนการจัดการศกึ ษาและการปฏบิ ัติงานมากขนึ้ 9. หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้เรยี น ผู้รบั บริการ ชุมชน และภาคีเครือข่าย มีความเต็มใจบริการด้วย ความเสมอภาค จุดอ่อน (Weakness) 1. บุคลากรบางส่วนยังขาดทักษะ การใช้เทคโนโลยี การผลิตส่ือ เพื่อใช้ในกระบวนการทำงานและ การจัดการเรยี นการสอน 2. บุคลากรมีภาระงานและหน้าท่ีรับผิดชอบท่ีหลากหลาย ภายใต้ระยะเวลาท่ีจำกัด ทำให้การ ปฏิบตั งิ านไมเ่ ต็มประสทิ ธิภาพสูงสดุ 3. ขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง ขาดการพัฒนาเฉพาะด้าน ทำให้ปฏิบัติงาน ไม่ตรงความรู้ ความสามารถ และความถนัดของบุคคล
35 4. การติดตามผเู้ รียนอย่างต่อเนอื่ ง หลงั จบการศึกษา 5. การพัฒนาการศึกษาด้านอาชพี ขาดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในการพัฒนาให้เป็นอาชีพที่ยั่งยืน ในชมุ ชน วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพของสถานศกึ ษา : ภายนอก โอกาส (Opportunity) 1. การได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ทางด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ และความร่วมมือจากภาคี เครือขา่ ย โดยมีการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และเครือขา่ ยในพ้ืนที่ ในการจัดการศึกษา และกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ประสบความสำเรจ็ 2. มแี หลง่ เรียนรู้ ภมู ิปัญญา และทรพั ยากรทีม่ คี วามหลากหลาย เอ้อื ต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้และ การศึกษาด้านอาชพี ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผ้เู รียนและผ้รู บั บริการในบริบทพ้ืนท่ีจงั หวัดพัทลุง 3. ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และผรู้ ับบรกิ าร รวมถงึ การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการทำงานจากหนว่ ยงานตน้ สงั กัดอย่างต่อเน่ือง 4. ผู้เรียนและผู้รับบริการมีความสนใจและตื่นตัวต่อการศึกษาด้านอาชีพ ทักษะชีวิตท่ีจำเป็น ในชีวิตประจำวัน และการศึกษาต่อการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 5. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ท่ีเข้าถึงง่ายและหลากหลาย เพิ่มประสิทธิภาพ ของการดำเนนิ งาน การประสานงานท่ีสะดวก รวดเรว็ และทนั เวลา อุปสรรค (Threats) 1. มีเทคโนโลยีวสั ดุอุปกรณ์ในการจดั การเรยี นรูม้ ไี ม่เพียงพอต่อผเู้ รียนและผูร้ บั บริการ 2. การบริหารการวางแผนการจัดกิจกรรมต้องมกี ารเปลยี่ นแปลงบอ่ ย ไม่เปน็ ไปตามท่ีกำหนดเนื่องจาก มภี ารกจิ เรง่ ดว่ นเขา้ มาเป็นประจำ 3. ผู้เรยี นและผรู้ ับบรกิ ารบางส่วน ขาดอปุ กรณข์ าดทักษะ และการใช้ส่อื เทคโนโลยี เพ่อื การเรียนรู้ 4. ผู้รับบริการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพส่วนใหญ่ฝึกอบรมแล้วไม่ได้นำความรู้ไปต่อยอดหรือ นำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ อยา่ งเต็มที่และเตม็ ศักยภาพ 5. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ และประชาชนในพ้ืนท่ีมีความหลากหลายทางช่วงวัยและสถานภาพ ทางเศรษฐกิจและสังคม สง่ ผลกระทบตอ่ การรวมกลุ่มมกี ารจดั การเรียนรู้ 6. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (Covid-19) ส่งผลติดต่อการดำเนินงาน และการจัดกิจกรรม 7. สภาพสงั คม และวิถีชีวิตคนพทั ลุงทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปตามยุคสมัย เป็นความท้าทายของการดำเนนิ งาน กจิ กรรมส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
36 จากผลการประเมินสถานการณข์ องสถานศึกษา โดยการวเิ คราะห์สถานภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT Analysis) สามารถนำมากำหนดทศิ ทางการดำเนินงาน ดงั น้ี ทิศทางการดำเนนิ งานสำนกั งาน กศน.จงั หวดั พัทลงุ วสิ ยั ทัศน์ “ คนเมืองลุง ทุกช่วงวัยได้รับโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะทจี่ ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21” พนั ธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ และบรกิ ารประชาชนได้อย่างทั่วถึง 2. เสริมสร้างและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะและทักษะ ท่ีจำเป็นอย่างเหมาะสม 3. พัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษา เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา อยา่ งมีคณุ ภาพและทันสมัย 4. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ย ในการจัดการศึกษาตลอดชวี ิต ยุทธศาสตร์ 1. มุ่งส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ และบรกิ ารประชาชนได้อยา่ งท่ัวถงึ 2. เน้นการเสริมสร้างและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะและ ทกั ษะท่จี ำเป็นอย่างเหมาะสม 3. เร่งพัฒนานวัตกรรม ส่ือ และเทคโนโลยีทางการศึกษา เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา อย่างมีคณุ ภาพและทนั สมยั 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสรมิ การมีส่วน รว่ มของภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคส่วนในการจดั การศึกษาตลอดชีวติ อย่างแทจ้ รงิ เป้าประสงค์ คนเมืองลุง สามารถเขา้ ถงึ การศึกษาตลอดชีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม และมีทกั ษะในการดำรงชีพพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง อย่างมีความสุข 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้ด้อยโอกาส พลาดและขาดโอกาสทางการศึกษา ได้รับโอกาสทาง การศกึ ษา อยา่ งเท่าเทียมและท่วั ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ละกลุ่ม 2. ประชาชนได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยมี กศน.ตำบล ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน และแหล่งเรียนรอู้ นื่ ในชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรียนรู้
37 3. ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา อันนำไปสู่การ ยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและย่ังยืนทางด้าน เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสิ่งแวดล้อม 4. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาและจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงในบริบทต่างๆ รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบ ท่หี ลากหลาย 5. หน่วยงานและสถานศึกษา พัฒนาและนำส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร มาใชใ้ นการเพิ่มโอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรยี นรู้ 6. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างทัว่ ถึง 7. หน่วยงานและสถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ที่มีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล สง่ ผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 8. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทง้ั มสี ว่ นรว่ มในการขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรู้ของชุมชน ตัวช้ีวัดความสำเร็จ 1. จำนวนประชาชนพทั ลงุ เข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ิมข้ึน 2. ร้อยละของประชาชนพทั ลงุ ท่ีได้รบั การศกึ ษาสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใชไ้ ด้ตามจุดมงุ่ หมายท่ีกำหนด 3. ร้อยละของประชาชนพทั ลุงทไ่ี ดร้ ับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยมีคุณภาพชีวิตดขี ้ึน 4. ประชาชนพัทลุงมคี วามพงึ พอใจในบรกิ ารการศึกษาตลอดชวี ิตในระดบั มากถึงมากทีส่ ุด กลยทุ ธ์ตามยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1. มุ่งส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ใหม้ ีคุณภาพและบริการประชาชนไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง กลยุทธ์ 1. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้และกิจกรรมสง่ เสริมทักษะของผู้เรียน ผู้รบั บริการในรูปแบบ ท่ีหลากหลาย ตอบสนองต่อความต้องการทางการเรียนรู้ของบุคคล สภาพบริบทพ้ืนที่ สังคม และชุมชน อย่างเหมาะสม 2. สร้างและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อยกระดับการจัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตท่ีสอดคล้องกับ สภาพของผู้เรียนและผู้รับบริการ เพ่ือสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาของผู้เรียนและผู้รับบริการอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเท่าเทยี ม 3. ดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชน ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองและ การเรียนร้แู บบมสี ่วนรว่ ม
38 ยุทธศาสตร์ที่ 2. เน้นการเสริมสร้างและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัยให้มี สมรรถนะและทกั ษะทจี่ ำเปน็ อย่างเหมาะสม กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการที่หลากหลายของผู้เรียนและ ผรู้ ับบรกิ ารแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย เพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตประชาชนทุกช่วงวัยอย่างมั่นคง ย่ังยนื 2. พัฒนารูปแบบและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถวัดและประเมิน ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ และนำผลการประเมนิ ไปใช้ไดจ้ รงิ 3. พัฒนาบุคลากร กศน. ให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็น เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานและการ จัดการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองความต้องการของประชาชนไดม้ ากย่งิ ขนึ้ ยุทธศาสตร์ท่ี 3. เร่งพัฒนานวัตกรรม ส่ือ และเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการ จดั การศกึ ษาตลอดชีวิตอยา่ งมคี ุณภาพและทนั สมยั กลยุทธ์ 1. ศึกษาและพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรียนการสอน การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบ เพ่ือเพิ่มโอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและผู้รับบริการทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึง เพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรในการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษา 2. เสริมสร้างการพัฒนาสมรรถนะและทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร และวางแนวทาง การใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา ในการจัดและสง่ เสริมการศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาให้ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการการติดตามประเมินและรายงานผลให้มีมาตรฐานและตรงกับความต้องการ ในการใชง้ านทีเ่ ชอื่ มโยงกบั หน่วยงานท้ังภายในและภายนอกองคก์ รอย่างเปน็ ระบบ ยุทธศาสตร์ท่ี 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพ และ ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ อย่างแท้จรงิ กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการภายใต้การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีระบบนิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานอย่างมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 2. สร้างกลไกการทำงานร่วมกันกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการจัดโครงการและกิจกรรม เพอื่ การขับเคล่ือนการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ 3. รณรงค์ประชาสมั พันธ์การดำเนนิ งานของหน่วยงานและสถานศกึ ษา เพือ่ สร้างการยอมรับจากสังคม และความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ น ในการจัดการศึกษาตลอดชีวติ
วสิ ยั ทศั น์ “ คนเมอื งลงุ ทกุ ช่วงวยั ได้รบั โอก พนั ธกจิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอ เป้าประสงคร์ วม ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1. สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการจดั การศ 2. เสริมสร้างและพฒั นากระบวนการจดั การเรียนรู้สำหรับคนทกุ เป้าประสงค์ 3. พัฒนาส่อื เทคโนโลยี และนวตั กรรมทางการศึกษา เพอ่ื เพม่ิ ป เชิงยทุ ธศาสตร์ 4. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล และส ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ คนเมืองลงุ สามารถเขา้ ถงึ การศึกษาตลอดชวี ิตไดอ้ ย่างเห 1. มุ่งส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอก 2. เน้นการเสริมสร้างและพัฒนากระ ระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี จัดก ารเรีย น รู้สำหรับ คน ทุก ช่ว คณุ ภาพและบริการประชาชนได้อยา่ งทว่ั ถึง สมรรถนะและทกั ษะทจี่ ำเป็นอย่างเหม 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายประชาชน รวมทั้ง 1. ประชาชนได้รบั การศกึ ษาและการ ผดู้ ้อยโอกาส พลาดและขาดโอกาสทางการศึกษา คุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพการศ ได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างเท่าเทียมและ นำไปสกู่ ารยกระดับคุณภาพชวี ิตและเ ทวั่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการ ความเข้มแข็งให้กับชมุ ชนอย่างมั่นคงแ ของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 2.หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒน 2.ประชาชนได้รับการสง่ เสริมการเรียนรู้และการ กระบวนการเรียนรูเ้ พื่อแกป้ ญั หาและ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยมี กศน.ตำบล คุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปล ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรอู้ ืน่ ในชุมชน ในบริบทต่างๆ รวมทั้งตามความต้อ เปน็ กลไกในการจดั การเรียนรู้ ประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบท่หี ลาก 1.จ ำ น ว น ป ร ะ ช า ช น ลุ่ ม เป้ า ห ม า ย ที่ ได้ เข้ า รั บ 1. ร้อยละผู้จบหลักสูตร /กิจกรรมการศ บรกิ ารและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษา ระบบ สามารถนำความรู้ความเข้าใจไป จุดมุง่ หมายของหลักสูตร/กิจกรรมทีก่ ำหน ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคล้อง 2. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เป้าหมา กบั สภาพ ปัญหา ความตอ้ งการ บริการเขา้ รว่ มกิจกรรมแหลง่ เรยี นรู้ตา 2.จำนวนประชาชนที่ได้รับการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี คี ุณภาพอยา่ งทว่ั ถงึ อัธยาศยั มีความรู้ความเข้าใจ เจตคติท และเสมอภาค จดุ มุ่งหมายของกจิ กรรมทก่ี ำหนด กลยทุ ธ/์แนวทางพฒั นา 1. จัดการเรียนรู้และกิจกรรมส่งเสริมทักษะของ 1. พัฒนาหลักสูตร และกระบวนก ผู้เรียน ผรู้ บั บริการในรูปแบบทหี่ ลากหลายตรงกบั เพ่ือยกระดับคุณภาพและมาตรฐานก ความต้องการของประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมาย เรียนรู้ ใหท้ ันต่อการเปลยี่ นแปลงและ 2. สร้างและพัฒนาระบบขอ้ มูลเพ่ือยกระดับการ กบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตที่สอดคล้อง 2. พัฒนารูปแบบและวิธีการประเม กบั สภาพของผเู้ รียนและผรู้ ับบริการ เรยี นร้ทู ม่ี ีคุณภาพและมาตรฐาน 3. ดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชน ท่ีมี 3. พฒั นาบคุ ลากร กศน. ใหม้ คี วามรู้แ คณุ ภาพและมาตรฐาน ที่จำเป็น เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการทำ
กาสการเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมคี ุณภาพ สอดคล้องกบั อเพยี ง และมีทกั ษะทจี่ ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21” ศึกษาตามอธั ยาศัยใหม้ ีคุณภาพและบรกิ ารประชาชนไดอ้ ย่างท่วั ถงึ กชว่ งวัยให้มสี มรรถนะและทกั ษะทจ่ี ำเปน็ อยา่ งเหมาะสม ประสทิ ธิภาพในการจดั การศึกษาอย่างมีคณุ ภาพและทันสมัย สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ข่ายในการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ หมาะสม และมที ักษะในการดำรงชีพพรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลง อยา่ งมีความสขุ ะบวนการ 3. พฒั นานวตั กรรม สอ่ื และเทคโนโลยที างการ 4. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลัก ง วั ย ใ ห้ มี ศึกษา เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการจัดการศกึ ษา ธรรมาภิบาล และสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของ มาะสม อย่างมคี ณุ ภาพและทนั สมยั ภาคเี ครอื ข่ายในการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ รเรยี นรู้ที่มี 1.หน่วยงานและสถานศึกษา พัฒนาและนำส่ือ 1.ชมุ ชนและทุกภาคสว่ น รว่ มเป็นภาคีเครือข่าย ศึกษา อัน เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการ เสรมิ สรา้ ง และการส่ือสาร มาใช้ในการเพ่ิมโอกาสและ ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา และยัง่ ยืน ยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรียนรู้ ตามอัธยาศัย รวมทัง้ มสี ่วนร่วมในการขบั เคลื่อน นาและจัด 2.บคุ ลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับ กิจกรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน ะพัฒนา การพฒั นาเพอื่ เพิ่มสมรรถนะทางเทคโนโลยแี ละ 2. หน่วยงานและสถานศึกษา มีระบบการบริหาร ลี่ยนแปลง ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานการศึกษานอก จัดการตามหลักธรรมาภิบาล ท่ีมีประสิทธิภาพและ องการของ ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งต่อเนื่อง ประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการจัด กหลาย การศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต รศึกษานอก 1. จำนวน/ประเภทสอ่ื และเทคโนโลยที างการศกึ ษาทมี่ กี าร 1. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. ปใช้ ได้ตาม จัดทำ พัฒนาและนำไปใชเ้ พื่อส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องผู้เรยี น ท่ีสามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจ นด ได้สำเร็จตามเป้าหมายท่ี กำหนดไว้อย่างโปร่งใส าย ทไ่ี ด้รับ และผรู้ ับบรกิ าร ตลอดจนการใชร้ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตรวจสอบไดโ้ ดยใชท้ รัพยากรอยา่ งค้มุ ค่า าม ในการจัดทำฐานข้อมูลและการบรหิ ารจัดการเพื่อสนับสนุน 2. จำนวนภาคีเครือข่ายท่ีมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การดำเนินงานทางการศกึ ษา ท้ังในพืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ที่ ทกั ษะตาม 2. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษา ไดร้ ับการ 3.หน่วยงาน องค์กร ประชาชนในพ้ืนท่ีมีความพึงพอใจ พฒั นาสมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศกึ ษานอกระบบและ ในการทำงานรว่ มกัน การศึกษาตามอธั ยาศยั การเรียนรู้ 1. ศึกษาและพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรยี นการ 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การภายใตก้ ารบรหิ าร การจัดการ สอน การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุก จัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีระบบนิเทศ ะสอดคลอ้ ง รูปแบบ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดำเนินงาน 2. เสริมสร้างการพัฒนาสมรรถนะและทักษะทาง 2. สร้างกลไกการทำงานร่วมกัน กับภาคี มินผลการ เทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร และวางแนว เครือข่ายทุกภาคส่วน ในการขับเคล่ือนการจัด ทางการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต และทักษะ 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ 3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของ ำงาน ทางการศกึ ษาให้ครอบคลุม ถกู ต้อง เปน็ ปัจจุบัน หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา
ส่วน แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ
นที่ 4 กษา พ.ศ.2563 - 2565 40
เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ชอ่ื โครงการ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 มงุ่ สง่ เสริมสนบั สนุนการจดั การศกึ ษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนถึง 1. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการ โครงการสง่ เสริม ผู้ด้อยโอกาส พลาดและขาดโอกาสทาง เรียนรู้และกิจกรรมส่งเสริมทักษะ การรู้หนงั สือ การศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษาใน ของผู้เรียน ผู้รับบริการในรูปแบบท่ี รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับ หลากหลาย ตอบสนองต่อความ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ ต้องการทางการเรียนรู้ของบุคคล อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตาม สภาพบริบทพ้ืนที่ สังคม และชุมชน สภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ อยา่ งเหมาะสม ละกลมุ่ เป้าหมาย 2. สร้างและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อ ย ก ร ะ ดั บ ก าร จั ด แ ล ะ ส่ งเส ริ ม การศึกษาตลอดชีวิตที่สอดคล้องกับ สภาพของผู้เรียนและผู้รับบริการ เพ่ื อ ส ร้างโอ ก าส ใน ก ารเข้ าถึ ง การศกึ ษาของผ้เู รยี นและผู้รบั บริการ อยา่ งทั่วถงึ เสมอภาค และเทา่ เทยี ม
เป้าหมาย ตัวชี้วดั 2563 2564 2565 - กศน.ตำบลทุกแห่งมีฐานข้อมูล 44 คน ของผูไ้ มร่ หู้ นังสือ หม้ ีคุณภาพและบรกิ ารประชาชนไดอ้ ยา่ งทั่วถึง - ร้อย ล ะ ๘ ๐ ของของผู้ ไม่ รู้ 56 คน 44 คน หนังสือสามารถอ่าน เขียนและคิด ค ำ น ว ณ ได้ ต า ม ม า ร ถ ฐ า น ที่ สำนกั งาน กศน.กำหนด 41
เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ชื่อโครงการ 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนถึง 1. สง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการ โครงการส่งเสริมการ ผู้ด้อยโอกาส พลาดและขาดโอกาสทาง เรียนรู้และกิจกรรมส่งเสริมทักษะ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษาใน ของผู้เรียน ผู้รับบริการในรูปแบบที่ รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับ หลากหลาย ตอบสนองต่อความ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง ต้องการทางการเรียนรู้ของบุคคล และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สภาพบริบทพื้นท่ี สังคม และชุมชน อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตาม อย่างเหมาะสม สภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ 2. สร้างและพัฒนาระบบข้อมูลเพ่ือ ละกลุ่มเป้าหมาย ย ก ร ะ ดั บ ก าร จั ด แ ล ะ ส่ งเส ริ ม การศึกษาตลอดชีวิตท่ีสอดคล้องกับ สภาพของผู้เรียนและผู้รับบริการ เพื่ อ ส ร้างโอ ก าส ใน ก ารเข้ าถึ ง การศกึ ษาของผู้เรียนและผู้รบั บริการ อย่างทัว่ ถึง เสมอภาค และเทา่ เทียม 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนถึง 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการ โครงการสำรวจและ ผู้ด้อยโอกาส พลาดและขาดโอกาสทาง เรยี นรู้และกิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะของ จดั การเรียนรู้สำหรับ การศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษาใน ผู้เรียน ผู้รับบริการในรูปแบบท่ี นกั ศึกษาตกหล่นจาก รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับ หลากหลาย ตอบสนองต่อความ การศกึ ษาในระบบ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง ต้องการทางการเรียนรู้ของบุคคล สำนักงานกศน.จังหว สภาพบริบทพื้นท่ี สังคม และชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อยา่ งเหมาะสม พัทลงุ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตาม 2. สร้างและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อ สภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ ย ก ร ะ ดั บ ก าร จั ด แ ล ะ ส่ งเส ริ ม ละกลุม่ เป้าหมาย การศึกษาตลอดชีวิตที่สอดคล้องกับ สภาพของผเู้ รียนและผู้รบั บริการ เพื่อ สร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ของผู้เรยี นและผู้รบั บริการอย่างทัว่ ถึง เสมอภาค และเทา่ เทยี ม
Search