Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ____________________________________________________________________________________________________________________________2

____________________________________________________________________________________________________________________________2

Published by nook.19992011, 2017-11-19 12:22:59

Description: ____________________________________________________________________________________________________________________________2

Keywords: พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์

Search

Read the Text Version

1 การศึกษาพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทยTHE STUDY OF THAI ROYAL’S MEDICAL AND PUBLIC HEALTHนางสาวสภุ าพกั ตร์ ภรู ศิ รี รหสั 60461115นางสาวสมุ ัชญา สารคี า รหัส 60461122นางสาวหทัยกานต์ บญุ มาก รหัส 60461139นางสาวอภชิ ญา วงศท์ รพั ย์ รหสั 60461146นายอธสิ ทิ ธ์ิ พิทกั ษ์วินัย รหัส 60461153นายอังกรู ศักดิสริ ิ รหสั 60461160นางสาวอจั ฉราพรรณ หงส์ประสทิ ธิ์ รหัส 60461177นางสาวอาทิตยา เหล่ียมอไุ ร รหสั 60461184นางสาวอาทมิ า เอกอนันตไชย รหัส 60461191นางสาวอารยา เจษฎป์ ยิ ะวงศ์ รหัส 60461207Ms.Chimmi Selden Namda รหัส 60461214รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ าสารสนเทศเพอื่ การศึกษาคน้ ควา้ (001221) มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2560

2 การศึกษาพระราชกรณยี กิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทยTHE STUDY OF THAI ROYAL’S MEDICAL AND PUBLIC HEALTHนางสาวสภุ าพกั ตร์ ภรู ศิ รี รหสั 60461115นางสาวสมุ ัชญา สารคี า รหัส 60461122นางสาวหทัยกานต์ บญุ มาก รหัส 60461139นางสาวอภชิ ญา วงศท์ รพั ย์ รหสั 60461146นายอธสิ ทิ ธ์ิ พิทกั ษ์วินัย รหัส 60461153นายอังกรู ศักดิสริ ิ รหสั 60461160นางสาวอจั ฉราพรรณ หงส์ประสทิ ธิ์ รหัส 60461177นางสาวอาทิตยา เหล่ียมอไุ ร รหสั 60461184นางสาวอาทมิ า เอกอนันตไชย รหัส 60461191นางสาวอารยา เจษฎป์ ยิ ะวงศ์ รหัส 60461207Ms.Chimmi Selden Namda รหัส 60461214รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ าสารสนเทศเพอื่ การศึกษาคน้ ควา้ (001221) มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2560

3 ใบรบั รองโครงงานชื่อหวั ขอ้ โครงงาน การศึกษาพระราชกรณียกิจดา้ นการแพทย์และระบบสาธารณสุขไทยผู้ดาเนนิ โครงงาน นางสาวสุภาพักตร์ ภูรศิ รี รหัส 60461115 นางสาวสมุ ัชญา สารีคา รหัส 60461122 นางสาวหทยั กานต์ บุญมาก รหสั 60461139 นางสาวอภชิ ญา วงศท์ รพั ย์ รหัส 60461146 นายอธสิ ทิ ธิ์ พทิ กั ษว์ ินัย รหัส 60461153 นายอังกรู ศักดสิ ิริ รหสั 60461160 นางสาวอัจฉราพรรณ หงส์ประสิทธิ์ รหัส 60461177 นางสาวอาทติ ยา เหล่ยี มอไุ ร รหสั 60461184 นางสาวอาทมิ า เอกอนนั ตไชย รหสั 60461191 นางสาวอารยา เจษฎ์ปิยะวงศ์ รหสั 60461207 Ms.Chimmi Selden Namda รหัส 60461214ปกี ารศกึ ษา 2560..............................................................................................................................................................................คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร อนมุ ัตใิ ห้โครงงานฉบับนีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษารายวชิ าสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ (001221)

4 สารบัญ หนา้ใบรับรองโครงงาน..............................................................................................................................................กบทคดั ยอ่ ภาษาไทย………………………………..……………….………………………………………………………………………….ขบทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ………………………………………………………………………………………………………………………..คกติ ตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………………………………….…………………………..งสารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………………...………จบทท่ี 1 บทนา………………………………………….…………………………………………………………………………………………1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั .........................................................................................................1 1.2 วัตถุประสงคข์ องโครงงาน..............................................................................................................2 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา..........................................................................................................................2 1.4 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั .............................................................................................................2บทท่ี 2 เอกสารอ้างองิ ........................................................................................................................................3 2.1 พระราชกรณยี กจิ ด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขไทย……………………………………………………..3 2.2 ต้นกาเนดิ ของโครงการตา่ งๆ ทางการแพทย์ และสาธารณสุข……………………………..………………...3 2.3 พระราชปรารภเกย่ี วกับการแพทย์ และพระมหากรณุ าธคิ ุณ เม่อื เกิดโรคระบาดและโรคตดิ ต่อรา้ ยแรง…………………………………………………………………………….5 2.3.1โรคไขส้ นั หลังอกั เสบ (โปลโิ อ) พ.ศ.2495………………………………………………………………….…6 2.3.2.อหวิ าตกโรค…………………………………………………………………………………………………….……..7 2.3.3.โรคเรอ้ื น…………………………………………………………………………………………………………………8 2.4 หนว่ ยแพทยเ์ คล่อื นท…ี่ ……………………………………………………………………………………………………10 2.4.1.กาเนิดหนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นท่พี ระราชทาน……………………………………………………...…………10 2.4.2.หน่วยแพทยเ์ คลอ่ื นท่ีพระราชทาน(ทางบก)………………………….…………………………………..11 หน่วยแรก………………………………………………………………………………………………………………11 หนว่ ยท่ี 2 และ 3 จงั หวัดขอนแกน่ และจังหวดั ยะลา……………………..……………………..……11 หนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นท่ีพระราชทานท่นี ิคมสรา้ งตนเองพัฒนาภาคใต้ จังหวัดนราธวิ าส……...11

5 สารบัญ(ตอ่ ) 2.4.3.หน่วยแพทย์เคลื่อนท่พี ระราชทานทางนา้ ………………………………………………………………..11 2.4.5.สานกั งานเรง่ รัดพฒั นาชนบทจัดหนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นที่ดาเนนิ การตามรอยพระยุคล บาท…………………………………………………………………………………………………………………….…12 2.5 การเสด็จฯ ไปทรงเยยี่ มราษฎร พรอ้ มด้วยคณะแพทย์เฉพาะกจิ รูปแบบต่างๆ…….………………...13 2.5.1.แพทยห์ ลวง……………………………………………………………..………………………..………………...13 2.5.2.หน่วยแพทย์พระราชทาน……………………………………………………………………………………….14 แพทย์หลวง………………………………………………………………………………………….…………………14 หน่วยแพทยพ์ ระราชทาน………………………………………………………………………………………...15 หนว่ ยทันตกรรม(เคล่อื นท่ี)พระราชทาน……………………………………….…………………………...16 หนว่ ยแพทยพ์ ิเศษตามพระราชประสงค์……………………………………….…………………………….17 กล่มุ ศัลยแพทย์อาสาหรือโครงการศลั ยแพทยอ์ าสาราชวิทยาลัยศลั ยแพทย์…………………...17 โครงการแพทย์ หู คอ จมูกพระราชทาน………………………………………….............................17 หน่วยจักษแุ พทย์พระราชทาน พ.ศ. 2513………………………………………………………….……..18 หน่วยแขน ขาเทยี มพระราชทาน พ.ศ.2513…………………………………………….………………..18 โครงการหมอหมบู่ า้ นตามพระราชดาริ พ.ศ. 2524……………………………….……………….….19 หนว่ ยงานฝา่ ยคนไข้ กองราชเลขานกุ ารในพระองค์สมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถ…………..……20 2.6. การแพทยแ์ ละการรักษาพยาบาลในสวนจิตรลดาห้องผา่ ตดั /หอ้ งอภิบาล บนพระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน……………………………………………………………………………………20 2.6.1.กองแพทยห์ ลวง………………………………………………………………………………………………...20 2.6.2.หอ้ งผ่าตดั และหอ้ งอภบิ าลฯลฯ บนพระตาหนกั จติ รลดารโหฐาน…………..………………...21บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน.............................................................................................................................25บทที่ 4 ผลการศึกษา……………………………………………………………………………………………………………………..26บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา……………………………………………………………………………………………………………….27 5.1. สรปุ ผลการศกึ ษา……………………………………………………………………………………………………….27

6 สารบัญ(ตอ่ ) 5.2. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ.....................................................................................................................27 5.3. ขอ้ เสนอแนะ..........................................................................................................................28เอกสารอา้ งองิ …………………………………………………………………………………………………………………………………ฉ สารบญั รูปรูปท่ี หนา้1 โรคไขสนั หลังอักเสบ.......................................................................................................................................62 อหิวาตกโรค...................................................................................................................................................73 หนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นที่พระราชทานทางบก....................................................................................................114 หน่วยแพทยเ์ คลอ่ื นทีพ่ ระราชทานทางบก....................................................................................................115 เรือราชพาหน์...............................................................................................................................................126 แพทย์หลวง..................................................................................................................................................147 หนว่ ยแพทยพ์ ระราชทาน.............................................................................................................................158 หนว่ ยทนั ตกรรมเคลอ่ื นท่พี ระราชทาน.........................................................................................................169 หนว่ ยจกั ษุแพทยพ์ ระราชทาน......................................................................................................................18

7ชื่อหวั ข้อโครงงาน การศกึ ษาพระราชกรณียกิจด้านการแพทยแ์ ละระบบสาธารณสุขไทยผ้ดู าเนนิ โครงงาน นางสาวสุภาพักตร์ ภูริศรี รหสั 60461115 นางสาวสมุ ชั ญา สารีคา รหัส 60461122 นางสาวหทยั กานต์ บุญมาก รหสั 60461139 นางสาวอภชิ ญา วงศ์ทรัพย์ รหสั 60461146 นายอธสิ ิทธิ์ พทิ ักษ์วนิ ัย รหัส 60461153 นายองั กรู ศักดสิ ริ ิ รหัส 60461160 นางสาวอัจฉราพรรณ หงส์ประสิทธ์ิ รหัส 60461177 นางสาวอาทิตยา เหลยี่ มอุไร รหสั 60461184 นางสาวอาทมิ า เอกอนนั ตไชย รหสั 60461191 นางสาวอารยา เจษฎป์ ิยะวงศ์ รหสั 60461207 Ms.Chimmi Selden Namda รหสั 60461214ปกี ารศึกษา 2560.............................................................................................................................................................................. บทคดั ย่อ โครงงานน้เี ปน็ การศึกษาพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการแพทยแ์ ละระบบสาธารณสุขไทย ซึ่งแต่ละโครงการในพระราชกรณีกิจด้านการแพทย์น้ี มีสาเหตุการก่อต้ังโครงการต่างกันตามวัตถุประสงค์การก่อตั้ง ซ่ึงล้วนทรงก่อต้ังข้ึนเพ่ือให้แพทย์ได้บริการการรักษาและให้ความรู้แก่ประชาชนชาวไทยอย่างท่ัวถึงรวมถึงพื้นท่ีทรุ กนั ดารดว้ ย นอกจากท่ผี ปู้ ่วยจะไดร้ บั การรักษาให้หายดแี ลว้ นน้ั ยังได้รบั ความชว่ ยเหลอื ดา้ นสาธารสขุ ต่างๆท่ีจะทาให้คุณภาพชีวิตของชาวไทยดีขึ้นอีกด้วย จากความรู้ต่างๆ ที่ทางผู้จัดทาได้ศึกษาจะนาไปปรับใช้กับวิชาชพี แพทยต์ อ่ ไปในอนาคต

8Project title The Study of Thai Royal’s Medical and Public HealthName Ms. Suphaphak Phusiri ID.60461115 Ms. Sumatchaya Sareekham ID.60461122 Ms. Hathaikan Boonmak ID.60461139 Ms. Apichaya Wongsupsakul ID.60461146 Mr. Apisit Pitakwinai ID.60461153 Mr. Angkoon Sakdisiri ID.60461160 Ms. Atcharapan Hongprasit ID.60461177 Ms. Arthittaya Laim-urai ID.60461184 Ms. Artimar Ekanantachai ID.60461191 Ms. Araya Jedpiyawongsri ID.60461207 Ms. Chimmi Selden Namda ID.60461214Academic year 2017………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… Abstract This project is a study of the Royal Thai Medical and Health. Each project has variousreasons to establish. All provide medical services, treatment and basic medical knowledgeto Thai people as well as Wilderness area. In addition, the patient will be treated well then.They also receive many assistances from the public health that make the quality of life ofThai people as well. So from the knowledge we got. We will be applied to the medicalprofession in the future.

9กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานศึกษาพระราชกรณยี กิจด้านการแพทย์ นนั้ สาเรจ็ ขึ้นได้โดยไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื อยา่ งดยี งิ่จากอาจารย์ทีป่ รกึ ษาประจารายวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพอ่ื การศึกษาคน้ ควา้ ท่ไี ดใ้ ห้คาเสนอแนะ แนวคิดและใหค้ วามร้ใู นการจดั ทาโครงงาน ตลอดจนการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆมาโดยตลอด จนโครงงานน้เี สรจ็ สมบูรณ์ ผู้ศกึ ษาจงึ ขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ขอบคณุ เพอื่ นในกลุ่มทกุ คนที่ใหค้ วามชว่ ยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ในการทาโครงงานท้ายท่สี ดุ ขอกราบขอบพระคณุ คุณพ่อและคุณแม่ ทเี่ ปน็ ผใู้ ห้กาลังใจและใหโ้ อกาสการศึกษาอันมีคา่ ยง่ิ คณะผูจ้ ดั ทาโครงงานศกึ ษาพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์ ขอขอบพระคุณทุกทา่ นอย่างสงู ท่ใี ห้การสนบั สนุน เออื้ เฟอ้ื และให้ความอนเุ คราะห์ชว่ ยเหลอื จนกระทั่งโครงงานศึกษาพระราชกรณียกิจดา้ นการแพทย์สาเรจ็ ลลุ ว่ งได้ด้วยดี คณะผู้จดั ทา

1 บทที่ 1 บทนาความเปนมาและความสาคัญ สืบเน่ืองจากงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ท่ีเป็นม่ิงขวัญของปวงชนชาวไทยทุกคน ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่เป่ียมด้วยพระอัจฉริยภาพและความสามารถ พระองค์ทรงอุทิศพระวรกายในการประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ อย่างมิทรงเหน็ดเหนื่อย แม้ในยามทรงพระประชวร ก็มิได้ทรงหยุดพัก เพื่อขจัดความทุกข์ และแก้ปัญหาให้แก่ปวงชนชาวไทย อาจกล่าวได้ว่า ทุกหนทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยท่ีรอยพระบาทได้ประทับลง ได้ทรงขจัดทุกข์ยากนาความผาสุกและทรงยกฐานะความเป็นอยู่ของปวงชนชาวไทย ให้ดีขึ้นด้วยพระบุญญาธิการและพระปรีชาสามารถปราดเปรื่อง พร้อมด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย และเพื่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศไทยตลอดเวลา โดยมิได้ทรงคานึงถึงประโยชน์สุขส่วนพระองค์เลย ตลอดระยะเวลา 70 ปีท่ีทรงครองราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงปฏิบัตพิ ระราชกรณียกิจและมีพระราชดาริโครงการตา่ งๆมากมาย ผู้จัดทาจึงจะศึกษาพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขท้ังหมด เพราะทางผู้จัดทากาลังศึกษาอยู่ในคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร จะศึกษาประวัติความเป็นมา สาเหตุของโครงการต่างๆ ด้านการแพทย์และสาธารณสุขวิธีท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงใช้แก้ปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้ปวงชนชาวไทย วิธีซักถามสารทุกข์ สุขดิบของราษฎรและการลงพ้ืนที่เพื่อให้เข้าใจสภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ของราษฎรไทย เพื่อนาข้อมูลเหล่าน้ีมาแก้ปัญหา อย่างได้ผลจริง ศึกษารายละเอียดของโครงการต่างๆ ว่าใช้แก้ปัญหาอย่างไร เพื่อท่ีทางผู้จัดทาจะได้ความรู้น้ีไปประกอบการเรียนคณะแพทยศาสตร์ เผยแพร่ให้บุคคลรุ่นหลังได้รู้ถึงพระอัจฉริยภาพและความเสียสละท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงทาเพ่ือปวงชนชาวไทย และนาไปใช้ในวชิ าชีพแพทย์ต่อไปในอนาคต

2วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ศกึ ษาพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ 2. เพอ่ื เผยแพร่ขอ้ มูลใหบ้ ุคคลรนุ่ หลงั ไดศ้ ึกษาและได้รบั ความรู้ขอบเขตการศึกษา 1. ศกึ ษาเรอ่ื งพระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ทั้งหมด 2. ระยะเวลาในการทางาน 2 เดอื น 1 สปั ดาห์ เรมิ่ จากวนั ท่ี 11 กันยายน ถึงวนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2560ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 1. ได้ความรู้เกย่ี วกับโครงการในพระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ไทย และสาเหตุ การ กอ่ ตั้งแตล่ ะโครงการ รวมถงึ ประโยชน์ของโครงการตา่ งๆ เพอ่ื บรรเทาทุกขข์ องประชาชน 2. ไดท้ ราบถงึ ระบบการจดั การการกระจายแพทย์และการรักษาไปยังถิ่นทุนกันดาร

3 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ียวข้องพระราชกรณยี กจิ ด้านการแพทย์และการสาธารณสขุ ไทย นบั ต้ังแต่ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดชฯ เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ ตั้งแต่วันท่ี9 มิถุนายน พ.ศ.2489 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระวิริยะอุตสาหะ ทรงดารงม่ันอยู่ในทศพิธราชธรรม 10 ราชสังคหวัตถุ 4 ครบถ้วนสมบูรณ์ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ทุกด้านตามพระราชปณิธานที่ได้ทรงรักษาไว้อย่างมั่นคงว่า จะทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพ่ือประโยชน์สุข เพ่ือความเจริญรุ่งเรืองของพสกนิกร และความเป็นปึกแผ่นของประเทศเป็นสาคัญอย่างต่อเนื่องตลอดมา นับเป็นพระราชภาระทหี่ นักย่งิ และยาวนานเป็นเวลากวา่ 50 ปี นอกเหนือจากพระราชภาระหนักด้านต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการปกครองประเทศเนอื่ งในพระราชฐานะที่ทรงเป็นประมขุ ของประเทศแล้ว มีภาระทส่ี าคัญ ที่เป็นเรอ่ื งทุกข์ร้อนของราษฎรหลายสง่ิ หลายประการ มที ัง้ ทเ่ี ปน็ ปญั หาเฉพาะหน้าเรง่ ดว่ น และยืดย้ือเรอ้ื รงั ทีท่ รงเห็นความจาเปน็ ตอ้ งแก้ไขปดั เปา่ให้เบาบางลงเป็นเบื้องต้น ได้แก่เรื่องราษฎรเจ็บป่วยท่ีอยู่ห่างไกล ขาดการเอาใจใส่ดูแล เรือ่ งโรคระบาด และโรคติดต่อร้ายแรง แหล่งทากินของราษฎร แหล่งน้า การเกษตรและชลประทาน การส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาของชาติ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และขจัดมลภาวะ รวมถึงการทานุบารุงด้านการศาสนาขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมการกฬี าของชาติ การปอ้ งกนั ประเทศ ความสงบภายใน สัมพนั ธไมตรีกบั ตา่ งประเทศ ตลอดถงึ พระราชภาระเก่ยี วกบั พระบรมวงศานวุ งศ์และพระประยูรญาตอิ กี ดว้ ย พระราชกรณียกิจที่สาคัญอย่างยิ่งยวดคือ เมื่อยามบ้านเมืองอยู่ในภาวะคับขัน เกิดภัยธรรมชาติรา้ ยแรง เกิดโรคระบาดคร้งั ใหญ่ เกิดการใช้กาลังต่อสู้ ประหัตปะหารกันเนื่องจากการขัดแย้งในแนวความคิดหรือวิกฤตการณ์ทางการเมืองภายในประเทศ และความไม่สงบจากผู้ก่อการร้ายตามแนวชายแดน ด้วยพระบารมีและพระปรีชาสามารถล้าเลิศของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวไดท้ รงใช้กลวธิ ีแก้ไขปัดเปา่ ให้คลคี่ ลายได้ขอ้ ยุติ และลลุ ว่ งไปด้วยดีทุกครั้ง

4ตน้ กาเนดิ ของโครงการต่าง ททางการแพทย์ และสาธารณสุข ปัจจยั สาคัญและแรงบันดาลพระราชหฤทัย โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข ถือเป็นจุดเดน่ ทีแ่ ตกตา่ งจากสถาบันพระมหากษัตรยิ อ์ ื่นใดในโลก  พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงเจรญิ รอยตามเบื้องพระยคุ ลบาทสมเดจ็ พระอัยกาธิราชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกาเนิดโรงพยาบาลหลวง (โรงพยาบาลศิริราช) และโรงเรียนแพทย์ (โรงเรียนแพทยากร) แห่งแรกของประเทศ ซึ่งถือเป็นรุ่งอรณของการรักษาพยาบาล และการศึกษาแพทย์แผนใหม่ของประเทศไทย และทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจเจริญรอยตาม สมเด็จพระมหิตลาธิเบศ อดุลเดชวิกม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทย” ซ่ึงได้ทรงปรับปรุง เปลี่ยนแปลงระบบการแพทย์ไทยให้ได้มาตรฐานทดั เทียมนานอารยประเทศ ปรากฏผลทเี่ ป็นประจักษช์ ัดมาตราบเทา่ ทกุ วันน้ี  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงพระราชสมภพ “ในครอบครัวแพทย์-พยาบาล” โดยทรงเปน็ แพทยทายาท แห่งสมเด็จพระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจบุ ัน และกายสาธารณสุขของไทย ซ่ึงได้ทรงอุทิศพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ทรงอุทิศกาลังพระหฤทัย กาลังพระวรกาย เพ่อื การแพทย์และการสาธารณสขุ ของไทยอย่างมากมายไพศาล ทายาทพยาบาล แห่งสมเด็จพระบรมราชชนนี พระมารดาแห่งแพทย์ชนบทของไทย ซึ่งได้ทรงสนพระทัยการสงเคราะห์ประชาชน ชาวชนบท ชาเขาที่อยู่ห่างไกล ให้อยู่ดีกินดี มีการศึกษาและสุขภาพดี ทรงริเร่ิมจัดต้ังหน่วยแพทย์อาสา ออกปฏิบัติการบริการผู้ป่วยในชนบทท่ีห่างไกล ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีท้องถ่ิน และตารวจทหาร และได้ทรงจัดตั้งมูลนิธิแพทย์อาสาฯ (พ.อ.ส.ว.) แกองทุนส่วนพระองค์เพื่อสนับสนุนกิจการขา้ งต้นอย่างต่อเนอ่ื งตลอดมา  พระราชปณิธาน และพระปฐมบรมราชโองการในพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เมอ่ื วนั ท่ี 5 พฤษภาคมพ.ศ. 2493 “เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์สุขแหง่ มหาชนชาวสยาม”  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงสนพระราชหฤทัยในกิจการแพทย์ การสาธารณสขุ และสขุ ภาพอนามัยของประชาชนคนไทย นับตัง้ แต่เสด็จครองสิรริ าชสมบัติเป็นต้นมา เหตทุ ่ีเป็นแรงบนั ดาลใหท้ รงสนพระราชหฤทัยกิจด้านการนี้มีมากเป็นพิเศษ คงเน่ืองมาจากสมเด็จพระบรมราชชนก และสมเด็จพระราชชนนีของพระองค์ ทรงศึกษามาทางสายการแพทย์และการพยาบาล ที่มีพระราชภารกิจด้านการดูแลรักษา ส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยของประชาชนเป็นหลัก ทั้งสองพระองค์ย่อมมีส่วนสาคัญในการหล่อหลอมปลูกฝัง

5พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงมีพ้ืนฐาน ให้ทรงคุ้น และทรงสนพระราชหฤทัยในเร่ืองน้ีทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมอย่างแน่นอน  สาเหตุอีกประการหนงึ่ คือการที่พระองคไ์ ดเ้ สด็จพระราชดาเนินออกไปทรงเยีย่ มเยียนราษฎรทุกจงั หวดั ทุกภาคของประเทศ ได้ทอดพระเนตรเหน็ ความทกุ ข์ยากของประชาราษฎร์ทุกดา้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเจ็บป่วย ปัญหาสุภาพอนามัยเส่ือมโทรมอยู่เสมอ ๆ ทาให้ทรงกังวลห่วงใย กอปรกับในช่วงต้น ๆรชั กาล มีโรคระบาด โรคติดต่อ มีภัยธรรมชาติร้ายแรง และเหตเุ ดอื ดรอ้ นรนุ แรงเกิดขนึ้ ในประเทศ ประชาชนได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส ต่อเนื่องกันหลายคร้ังหลายหน เป็นความจาเป็นและความเร่งด่วน ท่ีพระองคไ์ ด้ทรงพระราชทานพระบรมราชานเุ คราะห์มาโดยลาดับ และเป็นแรงดพระราชหฤทัยอย่างสม่าเสมอและได้ส่งผลให้มีพระราชดาริ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท และพระราชกรณียกิจหลักมากมาย สุดพรรณนาในกาลตอ่ มา เปรียบดังสายธาราแหง่ พระมหากรุณาธิคุณหล่งั ไหลชุ่มชื่นไปท่ัวแผ่นดินไทย ซึมซาบไปดว้ ยกิจกรรมหลากหลายในรปู แบบต่าง ๆ ท่ีพอจะประมวลเปน็ หัวข้อและแผนภูมิไดด้ งั น้ี 1. พระราชปรารภเก่ียวกับการแพทย์ และพระมหากรุณาธิคุณ เม่ือเกิดโรคระบาด และโรคติดต่อ รา้ ยแรงบางโรค ชว่ งตน้ รัชกาล (เรม่ิ พ.ศ.2593)พระราชปรารภเกยี่ วกบั การแพทยข์ องคนไทยในชว่ งแรก (พ.ศ.2593) สมเด็จพระบรมราชชนก ขณะที่ประทับอยู่ท่ีโรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่ เม่ือเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๒ ได้เคยทรงปรารภไว้ในลายพระหัตถ์ถึงหลวงนิตย์ เวชชวิศษิ ฏว์ ่า “.....T.B. มีมากเตม็ ทีไม่รู้จะทาอย่างไร เพราะไม่มีโรงพยาบาลพิเศษ (sanitorium) สาหรบั รักษารายท่ีไม่หนักนัก การเรอ่ื งนี้ทาให้ฉันสนใจมาก อยากใหม้ ี ANTI T.B. SOCIETY ขน้ึ เพอ่ื ปอ้ งกันโรคน้ี” วณั โรคเป็นโรคท่ีมีอบุ ัติการณ์สูง และยงั ไมห่ มดไปจากประเทศไทย ปหี น่งึ ๆ มีผู้เสยี ชีวติ จากโรคนีเ้ ป็นจานวนไม่น้อย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เคยมีพระราชปรารภกับหลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิบดีกรมสาธารณสุข เม่ือวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ.2593 ว่า “คุณหลวง วัณโรคสมัยนี้ มียารักษากันได้เดด็ ขาดหรือยัง ยาอะไรขาด ถา้ ต้องการ ฉันจะหาใหอ้ ีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจรญิ มาก ๆ”พระราชกระแสนแ้ี สดงถึงความสนใจพระราชหฤทยั เกี่ยวกับโรคนี้ และทรงห่วงใยสขุ ภาพอนามัยของประชาชนอยา่ งย่งิ ในปี พ.ศ.2496 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ได้ทรงพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์แกก่ องวิทยาศาสตรส์ ภากาชาติไทย เพ่อื สรา้ ง “อาคารมหดิ ลวงศานสุ รณ์” เป็นศนู ยผ์ ลิตวคั ซีนบ.ี ซี.จี ซงึ่ แตเ่ ดิมตอ้ งสั่งจากตา่ งประเทศเนือ่ งจากยงั ผลติ เองไม่ได้

6 การผลิตวัคซีนได้เองทาให้การควบคุมโรคสะดวกข้ึนมา และประหยัดเงินตราแผ่นดิน กิจการนี้เจริญก้าวหน้าได้อยา่ งมากในเวลาตอ่ มา จนสามารถสง่ ออกจาหน่ายไปต่างประเทศได้อักดว้ ย ดังเช่นองคก์ ารสงเคราะห์แม่และเดก็ (UNICFEF) ได้สั่งซื้อวัคซีนบี.ซี.จี จากสภากาชาดไทยส่งไปช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ผลทเ่ี ห็นได้ชดั เจนตอ่ มาภายหลงั การผลิตคือ ภูมิปอ้ งกนั วณั โรคของประชาชนดขี ้นึ โดเฉพาะอย่างยิง่อัตราการเกดิ โรคเยอ่ื หุม้ สมองอกั เสบในเด็กเนอ่ื งจากเชอ้ื วณั โรคลดลงอยา่ งมาก โรคไข้สันหลงั อกั เสบ (โปลิโอ) พ.ศ.2495 รูปที่ 1 โรคไขสันหลงั อักเสบ ในปี พ.ศ.2494 โรคโปลิโอเร่ิมระบาด และเกิดการระบาดคร้ังใหญ่ในประเทศไทยอย่างกว้างขวางละรนุ แรงในปี พ.ศ.2495 เมื่อแรกเกิดโรคน้ีเป็นท่ีหวาดวติ กกันมากท้ังเร่ืองความพิการตลอดชีวิต และถึงแก่ชีวิตของเด็กและเยาวชน มีผู้ป่วยเด็กเป็นโรคจานวนมาก (ปีพ.ศ.2495 มีผู้ป่วย 391 ราย ตาย 22 ราย ปี2496 ป่วย 72 ตาย 12 ราย และปี 2497 ปว่ ย90 ตาย 8 ราย) เด็กที่รอดชีวิตจากโรคนี้มกั จะเปน็ อัมพาตของกลา้ มเน้ือแขนขา และลาตัว เม่ือความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท จึงได้มีส่วนร่วมในการบาบัดทุกข์จากโรคนี้ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซ้ือเคร่ืองช่วยหายใจ (respirator) พระราชทานแก่โรงพยาบาลต่าง ๆ เพื่อช่วยประคบั ประคองการหายใจเน่ืองจากกลา้ มเนอื้ การหายใจเปน็ อมั พาต จนกวา่ สามารถหายใจไดเ้ อง เม่ือวันท่ี 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2495 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้สานักพระราชวังส่งเงินจานวน 250,000 บาท อันเป็นเงินทุน “โปลิโอสงเคราะห์” ซ่ึงสถานีวิทยุ อ.ส.ได้ประกาศเชญิ ชวนประชาชนบรจิ าคเพอื่ โดยเสด็จพระราชดาเนนิ ไป พระราชทานแกโ่ รงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้เพือ่ ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค้นคว้าทางวิชาการเพอ่ื การป้องกนั และบาบัดโรคนี้ โดยโปรดเกลา้ ฯ ให้มีผแู้ ทนกระทรวงสาธารณสุขรว่ มด้วย

7 เพื่อให้ดาเนินการไปตามพระราชประสงค์ คณะกรรมการได้ลงมติให้สร้างอาคารข้ึน 1 หลัง พร้อมอุปกรณ์การรักษา และกายภาพบาบัดขึ้นภายในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ซึ่งต่อมาได้ทรงพระราชกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานช่ืออาคารว่า “ตึกวชิราลงกรณธาราบาบัด” และได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปิดอาคารน้ี เมอื่ วันท่ี 19 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2497 นอกจากน้ีในปี พ.ศ. 2497 ยังได้ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จานวน 539,714.45บาท สร้างตึก “อานันทมหิดล” ใหแ้ ก่โรงพยาบาลศิรริ าชเพ่ือรักษาเด็กทเี่ ป็นโรคตดิ ต่อ และรักษาโรคโปลิโอนี้อีกด้วย การระบาดของโรคนไ้ี ด้สงบลงในเวลาต่อมา และปัจจุบันเบาบาลงไปมากภายหลังไดม้ ีการผลิตและนาวัคซนี ปอ้ งกันโรคนี้มาสู่ประชาชน อหิวาตกโรค รปู ที่ 2 อหวิ าตกโรค ในปี พ.ศ.2501 ไดเ้ กิดการระบาดขออหิวาตกโรคอย่างรุนแรงในกรุงเทพมหานคร และต่างจงั หวัดอีก35 จังหวัด มีผู้เสียชีวิตจานวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชทรัพย์สว่ นพระองคจ์ ดั ตงั้ “ทนุ ปราบอหวิ าตกโรค” มีประชาชนรว่ มบรจิ าคโดยเสด็จพระราชกุศลอกี จานวนมาก ได้พระราชทานเครื่องฉีดยาโรคนี้แบบใหม่ที่ทันสมัย และฉีดได้รวดเร็ว พร้อมอุปกรณ์ในการผลิตวัคซีนให้สภากาชาดไทย อุปกรณ์ผลิตน้ากล่ันแก่สถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก เคร่ืองมือและเวชภัณฑ์แก่โรงพยาบาลต่าง ๆ ที่ผู้เจ็บป่วยด้วยโรคน้ี ผู้ป่วยทุกราย ได้รับการรักษาโดยไม่คิดมูลค่า และพระราชทานความชว่ ยเหลอื แกผ่ ้ปู ว่ ยขณะพักรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล เมอ่ื โรคภัยสงบลงแลว้ ไดม้ ีพระราชดารเิ กี่ยวกับการป้องกนั เพื่อไม่ใหเ้ กิดโรคข้ึนอีก โดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้แก่ สถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก จัดซื้ออุปกรณ์ศึกษาและวิจัยเชื้ออหิวาตกโรค เพ่อื ความรแู้ ละความก้าวหน้าในการผลติ วคั ซีนต่อไป โรคเร้อื น

8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เคยมีพระราชดาริเมื่อเสด็จข้ึนครองราชย์ใหม่ ๆ ว่า กรระทรวงศึกษาธิการ แลละกระทวงสาธารณสุขยังจัดการศึกษาและการสาธารณสุขให้ประชาชนไม่ท่ัวถึง ทรงสนพระราชหฤทัยปัญหาโรคเรื้อต้ังแต่ปี พ.ศ. 2498 โดยทรงทราบว่า คนท่ีเป็นโรคเรื้อนเป็นโรคท่ีสังคมรังเกียจ แต่ขณะเดยี วกัน คนเป็นโรคมักจะใช้ความพิการความน่าเกลียดของตนเอาเปรียบ และทาให้สังคมเดือดรอ้ นลายรปู แบบ เปน็ ปญั หาการเจบ็ ป่วยทตี่ ้องเรง่ ควบคุม ขณะน้ันองค์การอนามัยโลก และกระทรวงสาธารณสุขได้วางโครงการกาจัดโรคเร้ือนทั่วประเทศไทยให้หมดส้ิน ภายใน 12 ปี ความทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาท ได้รับส่ังกับนายแพทย์สวัสด์ิ แดงสว่าง อธบิ ดีกรมอนามัยสมัยน้ันว่า “นานเกินไป ขอให้เร่งรัดโครงการน้ีให้ส้ันเข้า ให้เหลือ 8 ปี” นายแพทย์สวัสด์ิ ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาว่า เป็นไปได้ แต่การนี้จาเป็นต้องใช้งบประมาณมากขึ้น ต้องขอพระราชทานพระมหากรุณา สร้างสถาบันค้นคว้า วิจัยเกี่ยวกับโรคเรื้อน และสถาบันที่สาหรับอบรมเจ้าหน้าที่ ท่ีจะออกรณรงค์เก่ียวกับโรคน้ีด้วย ณ สถานพยาบาลพระประแดง งบประมาณประมาณ 1 บ้านบาท มีรับสั่งว่า “ให้สร้างได้เลย เงนิ หน่ึงลา้ นบาท จะหามาให้” ก่อนหน้าน้ัน เมื่อปี พ.ศ. 2497 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ ณ ศาลาเฉลิมกรุง รายได้ทั้งหมดพระราชทานไปในการสร้างตึกอานันทมหิดลในบริเวณโรงพยาบาลศิริราช เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ แด่สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล จานวนเงิน 444,600.50 บาท แต่ยังไม่เพียงพอ จึงพระราชทานพระราชทรัพย์สว่ นพระองคจ์ านวนหนึง่ รวมทงั้ ท่ีมีผู้มจี ิตศรัทธาบริจาคโดยเสด็จพระราชกศุ ลอีกจานวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเปิดตกึ “อานันทมหิดล” เม่อื วันท่ี 9 มิถุนายน 2500 อาคารหลังน้ีใช้สาหรับรักษาเด็กป่วยด้วยโรคติดเชื้อ ส้ินเงินในการก่อสร้างและอุปกรณ์ต่าง ๆ รวม 1,558,561.00 บาทปรากฏวา่ ยงั มเี งินเหลอื อกี 175,064.75 บาท จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานเงินจานวนท่เี หลือไว้เป็นทุนในการริเร่ิมการก่อสร้างสถาบันอบรมดังกล่าว เรียกว่า ทุน “อานันทมหิดล” ซ่ึงต่อมามีผู้บริจาคเพมิ่ เตมิ อกี จานวนมาก เมื่อเสร็จส้ินโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระมหากรุณาพระราชทานเงินจากทุนอานันทมหิดล เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 1,236,600.00 บาท และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามสถาบันน้วี า่ “สถาบันราชประชาสมาสยั ” (หมายความว่าพระมหากษตั รยิ แ์ ละประชาชนอาศยั ซง่ึ กนั และกนั ) นอกจากน้ียังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์จานวน 100,00.00 บาท แก่มูลนธิ ิโรคเร้ือนลาปาง เมื่อวันท่ี 16 มิถนุ ายน 2502 อยา่ งไรกต็ าม ยังมเี งินทุนอานันทมหิดลเหลืออย่จู ากการนี้

9อีก 271,452.05 บาท ซึ่งได้พระราชทานให้จัดต้ังกองทุน “ราชประชาสมาสัย” ซ่ึงต่อมาเปล่ียนเป็น “มูลนิธิราชประชาสมาสยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์” สนับสนนุ การดาเนนิ งานของสถาบันฯนี้ต่อไป ผลจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระมหากรุณาช่วยเหลือโครงการปราบปรามโรคเร้ือนของประเทศไทยในคร้ังนัน้ ข่าวน้ไี ด้แพรไ่ ปยงั ตา่ งประเทศ องค์การอนามัยโลกจงึ ไดใ้ ห้การสนับสนุน โดยจัดส่งผู้เช่ียวชาญมาเพิ่มอีก 2 คน รวมเป็น 3 คน ตามโครงการปราบปรามโรคเรื้อนที่ขยายออกไปและที่ร่นระยะเวลาให้สน้ั ลง นอกจากนน้ั องค์การสงเคราะห์เด็กแหง่ สหประชาชาตไิ ด้เพิ่มการช่วยเหลือในปี พ.ศ.2502-2503 รวมเป็นเงินทั้งส้ิน 1,780,000.00 บาท ซึ่งก่อนหน้าน้ีในปี พ.ศ.2500-2501 ได้รับการชว่ ยเหลอื เพียง 640,000.00บาทเท่าน้ัน อีกท้ังรัฐบาลไทยยังได้เพ่ิมงบประมาณการดาเนินการตามโครงการปราบปรามโรคเร้ือนอีกด้วย เป็นผลให้ผลงานโครงการควบคุมโรคเร้ือนแม้จะเริ่มต้นในช่วงระยะเวลา 2 ปีเท่านั้น ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต่างก็มีกาลังใจปฏิบัติงานกันอย่างเต็มที่ เพื่อให้สาเร็จลุล่วงไปตามพระราชประสงค์ดังจะเห็นไดว้ ่าในปี พ.ศ.2499 มีจานวนผู้ป่วยโรคเร้ือนท่ีได้รับการบาบัดเพียง 8,495 รายเทา่ นั้น เทียบกบั ในปีพ.ศ.2502 ได้รบั การบาบดั มากข้ึนถึง 32,744 ราย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดาเนินไปวางศิลาฤกษ์อาคาร เม่ือวันท่ี 16 มกราคมพ.ศ.2503 และทรงเปิดสถาบันราชประชาสมาสัยในเวลาต่อมา ทรงเย่ียมผู้ป่วยโรคเรื้อนโดยไม่ถือพระองค์หรอื ทรงรงั เกียจแต่ประการใด ไดท้ อดพระเนตรเหน็ บุตรของผูป้ ว่ ยจานวนหน่งึ ซึง่ โรงพยาบาลได้แยกเลี้ยงจากบิดามารดาท่ีป่วยเป็นโรค มีพระราชดารัสไต่ถามเรือ่ งท่ีเรียนของเดก็ เหล่านั้น เจ้าหน้าที่ได้กราบบงั คมทูลพระกรุณาว่า ยังไม่ทราบว่าจะให้เรียนท่ีใด เพราะกรมประชาสงเคราะห์รับเฉพาะเด็กที่ไม่มีบิดามารดา กระทรวงสาธารณสุขก็มีโรงเรียนสาหรบั ผู้ป่วยเด็กเรื้อนโดยเฉพาะ แลกระทรวงศึกษาธิการก็มมีพระราชบัญญตั ิควบคุมโรคติดต่อบังคับมิให้ผู้ป่วยโรคเร้ือนเข้าเป็นนักเรียน จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จานวน 1,000,00 บาท ให้สร้างโรงเรียนสาหรับบุตรหลานผู้ป่วยโรคเรื้อนข้ึนในที่ดินราชพัสดุฝั่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยาตรงข้ามโรงพยาบาลพระประแดง เปิดสอนต้ังแต่ชั้นอนุบาลจนถึงช้ันมัธยมศึกษาพระราชทานนามว่า “โรงเรียนราชประชาสมาสัย” นอกจากนี้ได้พระราชทานพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดสถานฝึกอาชีพ ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อนอีกด้วยเพอ่ื เมื่อหายป่วยออกจากโรงพยาบาลแลว้ จะได้มอี าชีพช่วยเหลือตนเองได้ คณะกรรมการมูลนิธิได้ถือเอาวันท่ี 16 มกราคม ซึ่งเป็นวันท่ีเสด็จฯไปทรงวางศิลาฤกษ์อาคาร เป็น“วนั ราชประชาสมาสยั ” เพอื่ เป็นการราลกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ อย่างใหญ่หลวงเปน็ ประจาทกุ ปี

10 ปัจจุบันโรคเร้ือนในประเทศไทยลดน้อยลง จนเกือบไม่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขเหมือนเมื่อ 50 ปีที่แลว้ 2.หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ (โปรดเกลา้ พระราชทาน หรือกาเนิดข้ึนอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรือตามพระราชประสงค์ ฯลฯ) ในทอ้ งถ่ินทนุ กนั ดาร (เร่มิ พ.ศ.2496) ในการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรแต่ละครั้ง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในท้องถิ่นห่างไกลทุรกันดาร ทรงพบว่าราษฎรส่วนหนึ่ง มีสุขภาพบกพร่องไม่สมบูรณ์ บางคนมีร่างกายพิการทุพพลภาพ บ้างก็เจ็บป่วยรุนแรงเรื้อรังทนทุกข์ทรมาน ด้อยโอกาสเนื่องจากขัดสนทุนทรัพย์เพื่อการรักษา ขาดผู้รักษา หรือห่างไกลสถานบริการรักษา และจาวนไม่น้อยท่ีมีภาวะขาดอาหาร ทุโภชนาการ ทรงเห็นว่าประชาชนเป็นทรพั ยากรที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นทรัพยากรบุคคล ถ้าสุขภาพไม่ดีจะประกอบกิจการงานและอาชีพไม่ได้เตม็ ความสามารถ การพัฒนาประเทศให้ไดผ้ ลตามเป้าหมายจะเป็นไปไดย้ ากกาเนิดหนว่ ยแพทย์เคลอื่ นทพี่ ระราชทาน เนอื่ งในการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร (พ.ศ.2496) ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ และพระราชอัจฉริยภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นแนวทางการแก้ไขปัญหาข้างตน้ โดยทรงเร่ิมที่หนว่ ยแพทยเ์ คล่อื นท่ีเป็นประการสาคญั อันดบั ต้น พระราชทานให้แก่ราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารดังกล่าวนับล้าน ๆ คน ให้ได้รับการบาบัดรักษาให้พ้นความทุกข์ทรมานได้อย่างทนั ทว่ งที ได้มีพระราชดารัสว่า “ฉันต้องการให้หมอช่วยไปดูแลบาบัดทุกข์ให้แก่เด็กนักเรียนและประชาขชนที่อยู่ในท้องที่กันดาร ห่างไกลหมอ และจะออกค่าใช้จ่ายให้ทง้ั หมดตามความจาเป็น โดยให้จดั หนว่ ยเคลอื่ นทไ่ี ปบนรถยนต์และตระเวนไปตามถนนหนทาง ตามหมู่บา้ นท่ีอยหู่ า่ งไกลในชนบท”* พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวข้างต้น อาจกล่าวได้ว่ามีความเป็นมาจากการท่ีเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ณ บ้านปากทวาร ตาบลหินเหล็กไฟ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2496 ครั้งน้ันราษฎรพากันมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเป็นจานวนมาก พระองค์ได้ทรงพบว่า บรรดาราษฎรที่เข้าเฝ้าฯ รับเสด็จมีจานวนหนึ่งท่ีเจ็บป่วย ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เป็นโรคทีร่ กั ษาไดไ้ มย่ ากนกั เชน่ โรคไขจ้ ับสัน่ โรคบดิ และโรคตาแดง เปน็ ตน้ *วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 2 ธนั วาคม 2527

11หน่วยแพทย์เคลือ่ นทีพ่ ระราชทาน(ทางบก) เร่ิมพ.ศ.2497 รูปที่ 3, 4 หน่วยแพทยเ์ คลอ่ื นท่พี ระราชทาน(ทางบก)หน่วยแรก ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์รวมท้ังวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ และยานพาหนะให้กระทรวงสาธารณสุข เม่ือเดือนมกราคมพ.ศ.2497 เพ่ือจัดต้ังหน่วยเคล่ือนที่ไปรักษาประชาชนในท้องท่ีทุรกันดารและห่างไกลของจังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ และจงั หวัดเพชรบุรี โดยเรยี กชอื่ วา่ “หน่วยแพทย์เคลอื่ นทพี่ ระราชทาน” ประกอบดว้ ยแพทย์พยาบาล และเจ้าหนา้ ท่ี โดยใชย้ านพาหนะรถยนต์สาหรับทางบก รถยนตท์ ี่ต่อตัวถังเป็นพิเศษ ติดต้ังตูย้ า เปลคนไข้ เครื่องกาเนิดไฟฟ้า เคร่ืองครัว และอุปกรณ์อย่างอ่ืนท่ีจาเป็นอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ยังมีรถจ๊ีปร่วมขบวนด้วยอกี 2 คนั นอกจากน้ไี ด้พระราชทานรถยนตร์ กั ษาพยาบาลเคล่อื นที่สงเคราะห์แมแ่ ละเด็ก อาเภอเขายอ้ ยจงั หวดั เพชรบรุ อี กี ดว้ ย หน่วยที่ 2 และ 3 จังหวดั ขอนแก่นและจงั หวดั ยะลา อีก 2 ปีต่อมา คือปี พ.ศ.2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนท่ีพระราชทานเป็นหน่วยท่ี 2 โดยมีศูนย์อานวยการที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อให้การรักษาราษฎรที่เจ็บป่วยในถ่ินทุรกันดารท้องทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนอื และในปีเดียวกันน้เี องได้ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดตัง้ หน่วยท่ี 3 ขนึ้ ทจี่ งั หวดั ยะลา เพื่อเปน็ ศูนย์กลางการรกั ษาในภาคใต้ หนว่ ยแพทย์เคล่อื นท่ีพระราชทานที่นคิ มสร้างตนเองพฒั นาภาคใต้ จังหวดั นราธิวาส พ.ศ.2516 ในปีพ.ศ.2516 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังหน่วยแพทย์เคล่ือนท่ีพระราชทานขึ้นอีกแห่งหน่ึง ท่ีนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ โดยมีแพทย์อาสาสมคั รจากโรงพยาบาลนราธิวาส และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกมาทาการตรวจรกั ษาสมาชนิ คิ มละราษฎรในเขตใกล้เคยี งโดยไมค่ ดิ มลู ค่า สปั ดาห์ละ 2 วนั

12หนว่ ยแพทยเ์ คล่อื นท่ีพระราชทานทางนา้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชปรารภว่า ราษฎรหลายสิบตาบลที่ต้ังบ้านเรือนอยู่ตามลาน้า และริมลาคลองอย่างโดดเด่ียว ไม่มีถนนเช่ือมต่อกับตัวจังหวัด ต้องใช้ทางน้าเท่านั้นในการเดินทางระยะทางก็ห่างไกลมาก เมื่อเจ็บป่วย ราษฎรก็ต่างรักษากันไปตามีตามเกิด เป็นท่ีน่าเวทนาย่ิงนัก จึงได้พระราชทานเรอื ยนต์สาหรบั เป็นหน่วยแพทย์เคล่ือนที่ทางน้า ให้สภากาชาดไทยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เปน็ ผดู้ าเนินงาน เรือยนต์ที่พระราชทานนต้ี ่อดว้ ยไมส้ กั ท้ังลาใหญเ่ ปน็ พิเศษ ภายในเรือตดิ ตง้ั และบรรจอุ ปุ กรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ เตียงผ่าตัด ยาเวชภัณฑ์ เคร่ืองมือทันตกรรม เครื่องกาเนิดไฟฟ้า และเครื่องฉายภาพยนตร์ ได้พระราชทานนามเรือน้ีว่า “เวชพาหน์” รปู ที่ 5 เรอื เวชพาหน์ ในการปฏิบัติงานของหนว่ ยแพทยเ์ คล่ือนท่พี ระราชทานนี้ ในตอนแรกนัน้ แตล่ ะครั้งมีราษฎรมารับการตรวจรักษาเฉลี่ยแล้ววันละ 70-200 คน ต่อมาเพิ่มขนึ้ เป็นวันละ 700-1200 คน และหากท้องท่ีใดท่ีราษฎรไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคต่าง ๆ ก็จะฉีดวัคซีนให้ด้วย ผู้ป่วยท่ีมีอาการหนักจาเป็นต้องรักษาในโรงพยาบาล ก็จะได้รับการสง่ ต่อไปรักษาทโี่ รงพยาบาลของจังหวัดต่อไป การดาเนินงานของหน่วยแพทย์เคล่ือนท่ี ทั้งทางบกและทางน้าทุกหน่วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้จ่ายจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ท้ังสิ้น ซ่ึงเป็นจานวนมาก ผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย เช่น เจ้าหน้าที่ปกครอง กานันผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าท่ีประจาหน่วยเคล่ือนที่ ฯลฯ ได้เอาใจใส่และให้ความร่วมมืออย่างดีท่ีสุด ทาให้ชาวบ้านท่ีเจ็บป่วยทั้งหลายรู้สึกอบอุ่นใจและพ้นจากความทุกข์ทรมานสมดังพระราชประสงค์ และตา่ งกส็ านึกในพระมหากรณุ าธิคณุ อนั ใหญ่หลวงนี้เปน็ ลน้ พ้นสานกั งานเรง่ รัดพัฒนาชนบทจดั หนว่ ยแพทย์เคลอื่ นท่ีดาเนินการตามรอยพระยุคลบาท ปี พ.ศ.2509 สบื เน่ืองจากการดาเนินงานของหน่วยแพทย์เคล่ือนท่ีพระราชทานข้างต้นเกิดผลสาเรจ็ เป็นทีน่ ่าพอใจอย่างมาก รัฐบาลขณะนั้นไดเ้ ห็นคุณประโยชน์และความสาคัญ จงึ ได้ดาเนินการตามรอยพระยุคลบาท โดยให้สานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนท่ีข้ึนในปี 2509 โดยได้รับการช่วยเหลือจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมการแพทย์

13และกรมอนามัยของกระทรวงสาธารณสุข องค์การยูซอม และองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด ทาใหก้ ิจการหน่วยแพทย์เคล่ือนที่ของสานักงานเรง่ รัดพัฒนาชนบทเจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเรว็ ได้ขยายหน่วยงานไปในหลายจงั หวัด แยกเป็นหลายสิบหน่วยงาน หนว่ ยแพทย์เคลื่อนท่ีเหล่านี้ได้ให้การรักษาพยาบาล และสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั ราษฎรไปแล้วจานวนไมน่ ้อยกวา่ 10 ล้านคน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้การสนับสนุนและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์พยาบาล ตลอดจนเจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องเข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานโล่ท่ีระลึก และพระบรมราโชวาท รวมท้ังพระราชทานพรอยู่เสมอ เป็นผลให้บรรดาเจ้าหน้าที่ต่างมีขวัญและกาลังใจท่ีจาทางานได้อย่างเต็มที่ สาหรับแพทย์ทป่ี ฏิบตั ิหนา้ ทใี่ นหนว่ ยแพทยเ์ คลื่อนท่นี ้นั ตา่ งกไ็ ด้รับพระมหากรณุ าให้เข้าเฝ้าละอองธลุ ีพระบาทใกลช้ ิดและได้รบั พระราชทานพระราชดารัสเสริมกาลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ที่เหน็ดเหนื่อยและเสียสละอยู่เสมอ ดังจะเห็นได้จากพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแก่คณะแพทย์ ท่ีได้ออกปฏิบัติงานรักษาพยาบาลเคลือ่ นท่ีตามแผนงานเร่งรัดพัฒนาชนบท ณ พระท่ีนั่งอมั พรสถาน เมือ่ วันท่ี 3 มิถุนายน พ.ศ.2512 ตอนหนึ่งวา่ ขอชมเชยนายแพทย์ทงั้ หลายที่ได้พากนั ออกไปปฏิบัติหนา้ ที่เพ่ือส่วนรวม....นายแพทย์เมือ่ ได้เรียนวิชาแพทยม์ าแลว้ จะตอ้ งออกปฏิบตั ติ ามความมุ่งหมายของการแพทย์ คือรักษาประชาชนใหพ้ น้ ทกุ ข์จากโรคที่มอี ยู่ในเมืองไทยหรือท่ัวโลกที่เหมือนกันคือความขาดแคลนในสิ่งที่ควรจะมี ได้แก่ขาดแคลนยา ขาดแคลนอาหารบางชนิด และขาดแคลนเร่ืองความเป็นอยู่ซ่ึงทาให้เกิดโรคแก่ร่างกายได้การที่ข้าราชการหรือว่านายแพทย์ท้ังหลายเข้าใจโจมตีจุดสาคัญน้ี คือความเจ็บป่วยของประชาชนถึงที่นั้นนับว่าเป็นการทาหน้าที่ของแพทย์โดยตรงและอย่างตรงท่ีสดุ ....ขอนายแพทย์ทั้งหลายได้อดทนและต้ังใจทจี่ ะปฏบิ ัติงานต่อไป และชักชวนเพื่อนแพทย์อ่ืน ๆ ให้ปฏิบัติเช่นกับท่านด้วย เพราะการออกไปปฏิบัติงานก็ไม่ใช่เป็นการประจา ไปเป็นพัก ๆ เป็นหน่วยเคลื่อนที่ ขอให้ถือว่าเป็นการเปล่ียนอิริยาบถ เป็นการออกไปหาความรู้ และในเวลาเดียวกันก็เป็นการช่วยเหลอื เพ่อื นมนษุ ย์รว่ มชาติ และชว่ ยบา้ นเมอื งใหม้ ่ันคงอีกด้วย... จะเห็นได้ประจักษ์ชัดว่า ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ และพระอัจฉริยภาพท่ีทรงเล็งเห็นแนวทางการแก้ปัญหา โดยได้ทรงริเริ่มท่ีหน่วยแพทย์เคล่ือนที่พระราชทานข้ึนน้ัน เป็นผลท่ีทาให้ราษฎรท่ีอาศัยอยู่ในเขตทุรกันดารนับล้าน ๆ คนได้รับการบาบัดรักษาความเจ็บป่วย และความทุกข์ทรมานได้อย่างงทันท่วงที เป็นต้นแบบของการแก้ไขปัญหาที่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ดาเนินรอยตามเบื้องยุคลบาท ในกาลเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบนั

14 3.การเสดจ็ ฯ ไปทรงเย่ียมราษฎร พรอ้ มดว้ ยคณะแพทย์เฉพาะกิจรปู แบบตา่ ง ทแพทย์หลวง (เคลือ่ นท่ี พระราชทาน) ตรวจรักษาราษฎรที่เจบ็ ป่วยในพื้นท่ีเป็นครั้งแรก เมือ่ พ.ศ.๒๕๐๘ เมื่อ ๔๐ ปีก่อน ในช่วงแรกๆ ในท้องถ่ินทุรกันดาร การคมนาคไม่สะดวก การแพทย์และการสาธารณสุขยังไม่ท่ัวถึง เมื่อพระบาทสมเด็กพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ พระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมและทรงพบราษฎรเจ็บป่วย ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์ประจาพระองค์ (แพทย์หลวง) ท่ีตามเสด็จในขบวนทาการตรวจรักษา เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การบริการรักษาพยาบาลในสภาพพ้ืนท่ีเช่นน้ันอาจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพราะสถานที่ไม่อานวย ขาดอุปกรณ์เคร่ืองมือรักษา ผู้ป่วยท่ีมีอาการหนัก หรือมาภาวะย่งุ ยากซับซ้อนมาก ๆ ยากต่อการเยียวยารักษา ณ พื้นที่น้ัน ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งไปรักษาต่อท่ีโรงพยาบาลท้องถ่ิน ท่ีมีความสามรถรักษาได้ โดยทรงรับไวเ้ ป็นคนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ทุกราย นบั แต่น้ันเป็นตน้ มา การเสด็จพระราชดาเนินแต่ละครง้ั ปรากฏวา่ มีคนเจ็บป่วยมารับการรกั ษามากย่ิงขนึ้ ย่ิงนานวันก็ยง่ิ ทวีจานวนมากขึ้น ท้ังนี้มิใชเ่ พราะราษฎรมีสุขภาพไม่ดีมากข้ึน แต่เพราะเขาเหล่าน้ันมีความเล่ือมใสศรัทธาในพระบารมี และไว้วางใจแพทย์หลวง(ประจาพระองค์)เป็นสาคัญ จนต่อมาเกินกาลังท่ีกลุ่มแพทย์ประจาพระองค์จะให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงได้มีการขยายหน่วยงานบริการรักษานี้เป็น หน่วยแพทย์พระราชทาน ซึ่งมอี งค์ประกอบและภารกจิ ตา่ ง ๆ ไดก้ าเนดิ ขน้ึ เป็นลาดบั ดังนี้หน่วยแพทย์พระราชทาน หน่วยแพทย์พระราชทาน ได้กาเนิดขึ้นประกอบด้วยแพทย์ จานวนตั้งแต่หนึ่งท่านข้ึนไป มีพยาบาลเจา้ หนา้ ทีห่ ้องปฏบิ ัติการ(Lab) และเจา้ หนา้ ที่ทั่วไปออกตรวจรักษาให้บรกิ ารโดยไมค่ ดิ เงินในชว่ งเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ยี มราษฎร ทงั้ นไี้ ด้จดั เปน็ กลุ่ม ๆ ตามลักษณะการทางาน หรอื วาชพี ไดด้ ังนี้1.แพทยห์ ลวง รูปที่ 6 แพทยห์ ลวง

15 กองแพทย์หลวง สังกัดพระราชวัง เดิมเรียกว่า “หมอหลวง” มีหน้าท่ีรักษาพยาบาลเฉพาะพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชพระบริพารเท่าน้ัน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๙ แพทย์หลวงในพระบรมราชวังได้ตามเสด็จฯ แปรพระราชฐาน ประทับแรมในต่างจังหวัด โดยทรงโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์หลวงออกตรวจรักษาผู้ป่วยทั่วไปเม่ือเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร เร่ิมออกตรวจคร้ังแรกเมื่อปีพ.ศ. 2508 ณ วังไกลกังวล หัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตลอดเวลาท่ีเสดจ็ ฯ แปรพระราชฐานทุกวัน ทรงตระหนักวา่ ราษฎรในชนบทห่างไกลด้อยโอกาสได้รับการรักษา จึงได้ทรงพระกรุณาปรดเกล้าฯให้นาแพทย์หลวงจิตรลดาท่ีตามเสด็จ เปิดหน่วยเคลอ่ื นท่ีชว่ั คราวในพน้ื ท่ที ่ีเสดจ็ ฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ า่ ยจากพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ แทนการเบกิ จากงบประมาณแผน่ ดินของสานักพระราชวัง ต่อมามีผ้มู ารบั บริการเพ่ิมมากข้ึนกาลังแพทย์หลวงจิตรลดา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเร่ิมโครงการ”แพทย์พระราชทาน”โดยอาศัยกาลังแพทย์อาสาสมัครจากหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ทรงพบว่าราษฎรป่วยเป็นโรคฟันและโรคในช่องปาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง หน่วยทันตกรรมพระราชทาน เม่ือปีพ.ศ. 2512 ออกตรวจพร้อมกับแพทย์หลวงเคล่ือนท่ี ในช่วงเวลาออกตรวจ เม่ือมีคนไข้จานวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงเขียนใบส่ังยาทรงอธิบายการใช้ยาดว้ ยภาษางา่ ยๆ ถ้าประชาชนขดั สนมากๆ จะพระราชทานเครื่องน่งุ ห่มและอาหารอีกด้วยผูป้ ่วยทม่ี อี าการหนักมาก หรอื ตอ้ งไดร้ บั การผา่ ตดั ก็จะทรงรับไว้เป็นคนไข้ในพระบรมราชานเุ คราะห์2.หนว่ ยแพทย์พระราชทาน รูปที่ 7 หนว่ ยแพทยพ์ ระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์ประจาตัวพระองค์ที่ตามเสด็จ ออกตรวจรักษาราษฎรเจ็บป่วยท่ีมาเฝ้าฯ รอรับเสด็จ เริ่มต้นจากราษฎรชาวไทยภูเขาในจังหวัดเชียงใหม่ หม่อมเจ้าภีศเดชรชั นี ผู้อานวยการโครงการหลวงได้กราบบังคมทลู พระกรุณาวา่ มีราษฎรเจ็บป่วยมากในเขตภาคเหนือ ควรจัดแพทย์ออกไปทาการตรวจรักษา จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดต้ัง “หน่วยแพทย์พระราชทาน” มี

16ศาสตราจารย์นายแพทยด์ นยั สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา เปน็ แพทย์ท่านแรกท่อี อกไปปฏิบตั ภิ ารกิจน้ี เนอ่ื งจากภูมิประเทศอันตรายจึงต้องอาศัยเฮลิคอปเตอร์ เป็นการออกตรวจรักษาคนเจ็บป่วยถึงบ้าน 2-3 ปีต่อมา เมื่อมีประชาชนมารับพระมหากรุณาธคิ ุณมากขึ้น งานล้นมอื ก็ได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์ในโรงพยาบาลของจังหวัดท่ีเก่ียวข้อง จากกระทรวงสาธารณสุข สภากาชาดไทย ทหาร ตารวจตระชายแดน และหน่วยงานต่างๆ ของจังหวัด เมื่อมีผู้มารับบริการมากข้ึน หน่วยแพทย์พระราชทานจะไปตั้งหน่วยรักษาเป็นจุดๆ อาศัยลานบา้ น ใต้ร่มต้นไม้ โรงเรียน และศาลาวดั เป็นต้น เป็นทีท่ างาน การพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ท่ีสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงรับมาดาเนินการ เพื่อทรงแบ่ งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ปัจจุบนั มกี ารต้ังหน่วยงานบริการท่ีหน้าพระราชนเิ วศน์ และหนว่ ยแพทย์ตามเสดจ็ ดังน้ี 2.1.หน่วยแพทย์หน้าวัง จัดสร้างศาลาบริการราษฎรผู้ป่วยไข้ ท่ีหน้าบริเวณเขตพระราชฐาน ท่ีประทับ เมื่อเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรม เปิดทุกวัยต้ังแต่ 8.30 – 16.30 น. แพทย์ผู้ ออกตรวจประกอบด้วย แพทย์ประจาพระองค์ แพทย์ตามเสด็จในขบวน และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางสาชาต่างๆ โดยฝ่ายเภสัชกรรมของกองแพทย์หลวงจัดยา และคณะเจ้าหนา้ ที่จากกองราช เลขาในพระองค์สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ ทาหนา้ ทีด่ ้านธุรการทั่วไป 2.2.หน่วยแพทย์ตามเสด็จ ช่วงที่ในหลวงและราชินีออกไปเย่ียมราษฎรประจาวัน แพทย์ ประจาพระองค์ แพทย์ตามเสด็จในขบวน และแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางสาชาต่างๆ ที่ไม่ได้ทา หน้าท่ีหน่วยแพทย์หน้าวัง จะออกตามขบวนเสด็จพระราชดาเนิน การออกตรวจจะเร่ิมก่อนการ เสด็จฯ มาถึงพนื้ ทปี่ ระมาณ 2-3 1ชวั่ โมง3.หนว่ ยทันตกรรม(เคลอ่ื นท่ี)พระราชทาน เร่ิมเม่อื ปีพ.ศ. 2512 รปู ท่ี 8 หนว่ ยทันตกรรม(เคลื่อนท่)ี พระราชทาน มพี ระราชดารใิ หท้ นั ตแพทยส์ ี สริ สิ ิงห ออกทาการตรวจรกั ษาโรคเหงอื กและฟนั ในทอ้ งถิน่ ทุรกนั ดารโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ กอ่ ตัง้ หน่วยทันตกรรมพระราชทาน

17ขึน้ มรี ถทนั ตกรรมเคลื่อนท่ี และทีมงานทนั ตแพทย์อาสา ออกปฏบิ ัติหน้าที่ หลังจากทันตแพทย์สี ถงึ แก่กรรม กรมแพทย์ทหารบกกไ็ ดร้ ับหนา้ ท่ีบริหารโครงการนโี้ ดยรบั ทันตแพทยอ์ าสาจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และจากกรมแพทย์ทหารบกเข้ารว่ มโครงการ - ทันตกรรมตามเสด็จ - ทันตกรรมทางเรือ พระราชทานเรอื ยนต์ “เวชพาหน์” แก่สภากาชาดไทย เพ่ือให้บริการตรวจโรคแก่ ประชาชนที่ต้ังบ้านเรือนอยู่ 2 ฝ่ังของแม่น้าลาคลอง นอกจากรักษาโรคเกี่ยวกับปากและฟันแล้วยัง รักษาโรคหวัดหรือสง่ ไปตอ่ ให้ผชู้ านาญด้านนั้นๆ4.หนว่ ยแพทยพ์ เิ ศษตามพระราชประสงค์ เร่ิมเมื่อ พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปภาคใต้ ทรงเยี่ยมราษฎรท่ีนิคมพัฒนาตนเองภาคใต้ อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ทรงพบว่าราษฎรเจบ็ ปว่ ยจานวนมาก อีกทั้งมีไข้ป่าชุกชุม สถานบรกิ ารสุขภาพมเี พยี งแห่งเดียว คือ สถานอี นามัย กิ่งอาเภอสุคิริน จึงขอให้จดั แพทย์หมนุ เวยี นเข้าไปท่ีสถานีอนามัยสคุ ิริน เพื่อบริการตรวจรักษาราษฎรในนิคมและพ้ืนท่ีน้ัน โดยรับแพทย์อาสาสมัครจากจงั หวัดใกลเ้ คียง5.กลมุ่ ศัลยแพทยอ์ าสา หรอื โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศลั ยแพทย์ แหง่ ประเทศไทย เรอ่ื เมอื่ พ.ศ.2521 คนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ต้องการได้รับการผ่าตัด แต่โรงพยาบาลประจาจังหวัดยังทาไม่ได้ตอ้ งส่งเข้ารักษาตอ่ ในกรงุ เทพฯ การมีศลั ยแพทยผ์ ู้เช่ียวชาญไปชว่ ยผา่ ตดั เปน็ การประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในระยะต้นๆ ศัลยแพทย์ท่ีเป็นแพทย์หลวงจะทาการผ่าตัดช่วงก่อนที่จะติดตามขบวนเสด็จฯ บางคร้ังการผา่ ตดั เสร็จไม่ทันทาให้เกิดความขลุกขลัก จงึ ได้ขอพระราชทานจัดศลั ยแพทยอ์ าสาของวทิ ยาลัยฯ เข้าร่วมงานกับหน่วยงานแพทย์พระราชทาน เรม่ิ งานคร้งั แรกทโ่ี รงพยาบาลจงั หวดั สกลนคร6.โครงการแพทย์ หู คอ จมกู พระราชทาน เม่อื ปีพ.ศ. 2522 ราษฎรที่มาขอรับการตรวจรักษาเป็นโรคหูน้าหนวด มีต่อมทอลซิลโตอักเสบเร้ือรัง และเป็นโรคเก่ียวกับระบบทางเดินหายจะจานวนมาก พระราชินีจึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดศัลแพทย์

18อาสาสมัครที่เชี่ยวชาญด้าน หู คอ จมูก ออกไปปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยท่ีโรงพยาบาลประจาจังหวัด จัดครั้งแรกที่โรงพยาบาลจังหวัดนราธิวาส ช่วงเสด็จพระราชดาเนินประพระราชฐานไปประทับแรม ณ พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ โรงพยาบาลนครราชสีมา โรงพยาบาลจังหวัดสกลนคร โรงพยาบาลค่ายกาวิละกรณีที่อาการหนักหรือผ่าตัดใหญ่มาก จะได้รับการส่งตอ่ ไปรักษาที่กรุงเทพฯ โดยให้เป็นคนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์7. หน่วยจกั ษุแพทยพ์ ระราชทาน พ.ศ. 2513 รูปที่ 9 หนว่ ยจกั ษุแพทยพ์ ระราชทาน ในช่วงต้นๆ ที่ได้เสด็จพระราชดาเนินออกไปทรงเยี่ยมราษฎรในส่วนภูมิภาคและท้องถ่ินทุรกันดารพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว. และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถไดท้ รงตระหนักว่าโรคตาเป็นโรคท่ีพบได้บ่อย และต้องอาศัยแพทย์ที่มีความรู้ความชานาญในสาขาวิชาน้ีทาการรักษา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหศ้ าสตราจารยน์ ายแพทย์สาราญ วังศพ่าห์ ผู้ซึ่งเป็นจักษุแพทย์โรงพยาบาลศิริราชตามเสดจ็ ทุกคร้ังท่เี สด็จฯ แปรพระราชมฐาน ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ทาการรกั ษา. ผา่ ตัดราษฎรที่เจบ็ ป่วยเรื่องตาตลอดมาอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลาถึง 20 ปี ต่อมาจึงได้มีจักษุแพทย์อาสาสมัครเข้ามาปฏิบัติงานรว่ มด้วย ทาให้งานในหนว่ ยนข้ี ยายวงกว้างขวางออกไปมากขน้ึ ค่าใช้จ่ายท้ังหมดนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับเป็นพระราชภาระท้ังส้ินโดยตลอด โรคตาบางชนดิ ที่มีความแทรกซ้อนเร้อื รังตอ้ งรกั ษาเวลานาน จะได้รับการส่งต่อไปรักษาท่ีโรงพยาบาลมหาวทิ ยาลยัหรือโรงพยาบาลศูนย์ของกระทรวงสาธารณสขุ โดยทง้ั หมดอย่ใู นพระบรมราชานุเคราะหท์ ง้ั ส้นิ

198. หน่วยแขน ขาเทยี มพระราชทาน พ.ศ.2513 รปู ที่ 10 ในปพี .ศ.2511 ประเทศไทยได้ส่งทหารเขา้ ร่วมรบในสงครามเวียดนาม มีทหารได้รับบาดเจ็บ แบะถูกสง่ ตัวกลบั มาพักรักษายังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมทหารที่บาดเจ็บจากการรบเหล่านี้ ทรงพบว่าทหารจานวนมากสูญเสียอวัยวะแขนขา จึงได้มีพระราชดาริกับเจ้ากรมแพทย์ทหารบกว่า โรงพยาบาลน่าจะมีโครงการทาอวัยวะเทียม เพื่อชดเชยการที่เสียแขนขาไป และโครงการฟ้ืนฟูสมรรถภาพอีกด้วย ได้มีพระมหากรุณาพระราชทานพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์เพื่อจัดสร้างรงงานแขนขาเทียมขึ้น พร้อมทั้งหน่วยฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ท่ีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในปีพ.ศ.2513 นอกจากน้ีในการเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปเยี่ยมราษฎรในชนบทแต่ละภาค ทรงพบราษฎรที่พิการแขนขาขาดและทุพพลภาพจากสาเหตุต่างๆ จานวนไม่น้อย ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณรับคนพิการเหล่านี้ไว้เป็นคนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ โดยหน่วยแขนขาเทียมของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจัดต้ังหน่วยเคลอ่ื นที่ ร่วมขบวนเสด็จฯ ไปด้วยเสมอ ในปีพ.ศ.2535 มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทร์ทราบรมราชชนนีได้กาเนิดขึ้นมาด้วยวัตถปุ ระสงคห์ ลักทจ่ี ะบริการดว้ ยเครอ่ื งกายอปุ กรณเ์ ทียมให้แกผ่ ูบ้ ริการ ไมเ่ ลือกชนชน้ั วรรณะหรอื ศาสนา โดยไม่คดิ มลู คา่ ในระยะเริ่มต้น รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ เทิดชัย ชีวะเกตุ ได้นาพลาสติกโปลีสไตรีนที่หลอมเอามาจากขวดบรรจุยาคลู ท์ มาใชห้ ล่อเป็นเบา้ ตอขา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวไดเ้ ปลยี่ นการใชส้ ารโปลีสไตรีนซึ่งอาจเกิดอันตรายในการจัดทา และมีความคงทนไม่พอ โดยให้ใช้สารประเภทเรซินแทน ทาให้มีความปลอดภัยและคงทนดีกวา่9. โครงการหมอหมู่บา้ นตามพระราชดาริ พ.ศ. 2524 ในการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถ่ินต่างๆ นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงเล็งเห็นว่าท้องถิ่นทุรกันดารหลายแห่งขาดแคลน

20สถานพยาบาล เมือ่ ราษฎรเจ็บปว่ ยต้องออกเดินทางเปน็ วนั ๆ กวา่ จะได้พบแพทยท์ ส่ี ถานพยาบาล บางคร้งั อาจเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร ทุโภชนาการ และความไม่รู้จกั การปฐมพยาบาลท่ีถกู ตอ้ ง จงึ ไดม้ พี ระราชดารใิ ห้คนทม่ี ีความรใู้ นหมู่บา้ นมาฝึกอบรมเปน็ หมอหมูบ่ า้ น เพอ่ื ท่จี ะช่วยเหลือเพ่ือนร่วมหมู่บ้าน การฝกึ อบรมฯ เริ่มตน้ คร้ังแรกทีจ่ ังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 2524 เปดิ อบรมทั้งภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ัติเมื่อผา่ นการฝึกแล้วต้องมีความสามารถต่อไปน้ี - ทาการรกั ษาพยาบาลเบ้ืองต้น - ช่วยเหลือการทาคลอด - ปอ้ งกันการตาบอดจากการตดิ เช้ือของทารก - ชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยที่ได้รับอบุ ตั ิเหตุขนั้ ต้น - รจู้ กั ใช้อาหารเสรมิ ในทอ้ งถิน่ ให้เกิดประโยชน์ - มคี วามรู้ทางโภชนาการพน้ื ฐาน - ป้องกันและควบคมุ โรคตดิ ตอ่ - ให้ยาสามัญประจาบา้ นเพอื่ การรักษา - รับและสง่ ผู้ป่วยเพอื่ การรักษาต่อได้ - เผยแพรค่ วามรเู้ ก่ียวกับการสาธารณสขุ มลู ฐานให้แก่ประชาชนได้10. หน่วยงานฝา่ ยคนไข้ กองราชเลขานกุ ารในพระองคส์ มเด็จพระบรมราชินนี าถ สานกั ราชเลขาธิการ การพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ มิได้จากัดเฉพาะผู้เจ็บป่วยเท่านั้น หากยังครอบคลุมไปถึงครอบครัวของผู้ป่วยเหล่านั้นด้วย กรณีท่ีต้องเข้ามารับการรักษาพยาบาลในกรุงเทพฯ คนไข้บางรายมีภาระต้องเล้ียงดูบิดามารดาท่ีชราหรอื บุตรที่ยงั เล็กอยู่ กองราชเลขาฯ จะจดั ค่าเลี้ยงดูไปให้หรือฝากฝังใหอ้ ยใู่ นความดูแลของเจ้าหน้าทีฯ่ ไปเย่ยี มดูแลพร้อมรายงานแจ้งให้ทราบเป็นระยะ กรณีที่ผู้ป่วยต้องอยู่ในโรงพยาบาลนานไปยังกลับบ้านไม่ได้ ก็ได้จัดให้ญาติเดินทางไปเย่ียมเป็นคร้ังคราว หากเจ็บป่วยจนไม่สามารถดูแลบุตรต่อไปได้หรือพิการ หรือเสียชีวิต บุตรที่อยู่ในวัยศึกษาจะได้รับพระราชทานการอดุ หนนุ การศกึ ษาตามสมควร การพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์แกร่ าษฎรผู้ปว่ ยไข้เหลา่ น้ี บันดาลให้เกิดทันตามเห็น ราษฎรยากจนม่ีเจ็บปว่ ยจานวนมากมีโอกาสหายจากโรคกลบั ไปมีความสุขกับครอบครวั บางรายพิการเขา้ สังคมไม่ได้ก็กลบั เขา้ อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน เท่ากบั วา่ ได้ชบุ ชวี ิตคนใหม่

21 4. การแพทย์ และการรกั ษาพยาบาล ในสวนจติ รดา ห้องผ่าตัด/ห้องอภบิ าล บนพระตาหนักจิตรลดารโหฐานกองแพทยห์ ลวงก.)ในพระบรมมหาราชวัง ดงั ทีก่ ลา่ วมาแล้วข้างตน้ “กองแพทย์หลวง” เปน็ หนว่ ยงานหนว่ ยหน่งึ ในสงั กดั พระราชวงั ซึง่ มีตอ่ เนอ่ื งกนั มาต้ังแตส่ มัยราชกาลก่อนๆ เรยี กกันวา่ “หมอหลวง” เพ่ือตรวจรักษาผปู้ ว่ ยที่เปน็ พระบรมวงศานุวงศ์ และขา้ ราชบรพิ ารเท่านน้ั ไมร่ บั รกั ษาบุคคลภายนอก ต่อมาในรชั กาลปจั จบุ นั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ประทับในสวนจิตรดา พระราชวังดุสติ แพทย์หลวงในพระบรมมหาราชวังซ่ึงมเี จ้าหนา้ ทเี่ พยี ง 4 คนคือแพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน และบุรุษพยาบาล 2 คน จงึ ตอ้ งแบ่งสว่ นราชกาลมาประจา ณ ทป่ี ระทับ เพ่ือบริการขา้ ราชบรพิ ารในสวนจติ รดา และตามเสด็จเม่อื เสดจ็ ฯ แปรพระราชฐานอกี ด้วย ทาให้กองแพทย์หลวงในพระบรมหมาราชวงั มีหน้าท่ีเพียงให้การปฐมพยาบาลเลก็ ๆน้อยๆ โดยบรุ ษุ พยาบาลเปน็ ผใู้ ห้การรักษา และปฏิบัติหนา้ ที่ในงานพระราชพธิ ีตา่ งๆ ต่อมาในปี พ.ศ 2498 เรมิ่ รับแพทย์และพยาบาลเพมิ่ ขน้ึ และแบง่ หน้าท่ีกันประจาแต่ละแห่ง คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินการทงั้ หมดอาศัยเงินงบประมาณแผ่นดินของสานกั พระราชวังซงึ่ มีงบประมาณเพียงปลี ะ 2000 บาท แตเ่ นอ่ื งจากข้าราชการของสานักพระราชวงั และครอบครวั ทอ่ี าศยั ในเขตพระบรมมหาราชวังมีจานวนมาก งบประมาณทไ่ี ดร้ บั เพยี งพอสาหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยเฉพาะยาปฐมพยาบาลบางอยา่ งเทา่ น้นั ดังน้นั ข้าราชการและครอบครัวที่ปว่ ยเจ็บจงึ ต้องเสยี คา่ ยา ซึ่งกองแพทย์หลวงเกบ็ ในราคาทนุ ซงึ่ การบริการรักษาเรม่ิ เปน็ ทน่ี ยิ มของข้าราชสานัก และข้าราชการภายนอกทีม่ ีท่ที าการภายในเขตพระบรมมหาราชวังในขณะนนั้ข.)แพทยห์ ลวง ในสวนจติ รดา สว่ นแพทยห์ ลงวง ณ ทปี่ ระทบั ในสวนจติ รดา พระราชวงั ดสุ ติ มหี นา้ ที่ใหก้ ารตรวจรกั ษาขา้ ราชการที่ทางานในสวนจิตรดา และมีหน้าท่ตี ามเสดจ็ ทุกคร้งั ทเ่ี สดจ็ ฯ แปรพระราชฐานไปประทบั แรมในต่างจังหวัด เพอ่ืทาการตรวจรักษาพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบรพิ ารทีต่ ามเสดจ็ แต่ก็ยงั ไมเ่ ปดิ รบั รักษาบุคคลภายนอกอย่างไรกต็ ามเนอื่ งจากในฤดรู อ้ น พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ินาถเสด็จพระราชดาเนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั แรม ณ วงั ไกลกังวล อาเภอหัวหนิ ทุกปี และเสดจ็ ไปทรงเยย่ี มเยียนราษฎรเปน็ ประจา ทรงเหน็ วา่ ราษฎรตา่ งจงั หวัดไม่ไดร้ บั การดูแลในเร่ืองการเจ็บปว่ ยเท่าทค่ี วรจึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปิดรบั รักษาแกร่ าษฎรทวั่ ไป เรม่ิ ประมาณปี พ.ศ 2508 มผี มู้ าขอรับการบรกิ ารมากขน้ึ

22เรือ่ ยๆ จากวันละ 50-60 คน เปน็ วันละ 250-300 คน ทาใหต้ อ้ งรบั แพทย์ ทันตแพทย์ เภสชั กรและพยาบาลเพ่มิ ข้ึน เริม่ ตง้ั แต่ปี พ.ศ 2510 ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ แพทยห์ ลวงในพระบรมมหาราชวัง และแพทย์หลวงสวนจติ รดา ทาการรักษาข้าราชบรพิ าร ขา้ ราชสานักพระราชวังและครอบครัวโดยไมค่ ดิ มลู ค่าเชน่ เดยี วกบั แพทย์หลวงสวนจิตรดา ใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ า่ ยจากพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์แทนงบประมาณแผน่ ดนิของสานกั พระราชวงั ซึ่งมงี บนอ้ ยไมเ่ พยี งพอ เม่อื มผี ู้มาขอรับบรกิ ารมากขึ้น กองแพทยห์ ลวงจงึ ตอ้ งเชญิ แพทย์ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะโรคจากสถาบนั การแพทยแ์ หล่งตา่ งๆ มารว่ มการตรวจรกั ษาเพือ่ ให้มปี ระสิทธภิ าพดยี งิ่ ขึ้นส่วนเครื่องมอื แพทย์ และเครอื่ งเวชภัณฑต์ ่างๆทีจ่ าเปน็ ไดม้ ผี ู้มจี ิตศรทั ธาน้อมเกลา้ ฯถวาย เชน่ เครอ่ื งตรวจหัวใจ เครอื่ งเอ๊กซเรย์ เครอ่ื งวิเคราะหท์ างเคมี เคร่อื งมือทนั ตกรรม วสั ดอุ ุปกรณท์ างจกั ษุวทิ ยา เปน็ ตน้ ในคราวเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรม ณ วังไกลกังวล อาเภอหวั หนิ ปเี ดยี วกันน้ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงเห็นความจาเปน็ เรอื่ งความเจ็บปว่ ยของราษฎรในถิ่นทรุ กนั ดาร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้แพทยห์ ลวงออกไปทาการตรวจรกั ษาราษฎรที่เจบ็ ปว่ ยในถ่ินทุรกนั ดารทกุ วันขณะเดียวกันกเ็ ปดิ บริการ ณ หนว่ ยแพทย์ท่ปี ระทับด้วย การออกไปบริการในท้องถิ่นทรุ กันดารไดผ้ ลดี เพราะขณะน้ันยงั ไมม่ หี นว่ ยแพทยข์ องทางราชการหนว่ ยใดออกตรวจรักษา แต่ละวนั มีผูม้ ารับบริการไมต่ ่ากวา่ 300คน ในแตล่ ะจุด โรคท่ีตรวจพบมากได้แก่ โรคพยาธลิ าไส้ โรคขาดอาหาร โลหติ จาง มาลาเรยี โรคผวิ หนงั และโรคตาเปน็ ตน้ เมอ่ื ตรวจพบผู้ปว่ ยที่จาเป็นตอ้ งเขา้ รบั การรักษาในโรงพยาบาล แพทย์และหนว่ ยงานฝา่ ยคนไข้ กองราชเลขานุการในพระองคส์ มเดจ็ พระบรมราชนิ นาถ จะจดั การใหผ้ ู้ป่วยได้เข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลของจงั หวดั น้ันๆ หรอื โรงพยาบาลในกรงุ เทพฯ แลว้ แตค่ วามจาเป็น ทง้ั นี้โดยไดร้ บั พระบรมราชารุเคราะหท์ ุกราย ในการเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเย่ียมราษฎรในตา่ งจงั หวดั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหแ้ พทย์หลวงและพยาบาลตามเสดจ็ เพอ่ื ตรวจและรกั ษาราษฎรด้วยทุกคร้งั แม้ในทอ้ งถ่ินห่างไกลทรุ กนั ดาร ตอ้ งใชเ้ ฮริคอปเตอร์เขา้ ไปจนถึงหมู่บา้ นกม็ ี เม่ือพบผูป้ ่วยที่จาเปน็ ตอ้ งเข้ารบั การรกั ษา กม็ อบหมายให้เจา้ หนา้ ท่ีท้องถิ่นหรอื ตารวจตระเวนชายแดน ทหาร นาสง่ โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ หรือแพทยห์ ลวงสวนจติ รดา ตามความจาเป็นทีไ่ ด้นดั หมายไวต้ อ่ ไป ในการปฏบิ ัติแตล่ ะครงั้ จะมีรายงานผลการปฏิบัตใิ หท้ รงทราบฝา่ ละอองธลุ ีพระบาทด้วยเสมอรวมท้ังบญั ชรี ายชอื่ ผูป้ ว่ ยทส่ี ง่ ตอ่ เข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลตา่ งๆ เน่อื งจาการเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรมในแตล่ ะปีซ้าทกี่ นั การออกหนว่ ยตามจุดต่างๆที่เดยี วกันจงึ ง่ายในการตดิ ตามผลการรักษา เพราะพบผ้ปู ว่ ยเดมิ ในภูมลิ าเนานน้ั ๆทุกปี ส่วนการบรกิ ารตรวจรกั ษาที่หน่วยแพทยห์ น้าวัง การติดตามผลการรักษาสะดวกมากเพราะมีประวตั กิ ารรักษาในทะเบยี นคนไข้อยู่

23แล้ว เนอื่ งจากกาลังเจา้ หนา้ ทท่ี ีไ่ ปปฏิบตั ิในการเสดจ็ ฯแปรพระราชฐานในแตล่ ะครั้งมจี านวนจากดั การบริการจงึ อยู่ในวงจากดั ด้วย ขยายใหม้ ากกวา่ ทีเ่ ป็นอยู่น้ีไม่ไดแ้ ลว้ เชน่ ท่พี ระตาหนกั ทักษณิ ราชนเิ วศน์ หนว่ ยแพทย์หน้าวัง มผี ู้มารับการรกั ษาเพมิ่ ข้นึ ทกุ ปี เม่อื ปี พ.ศ. 2527 ประมาณวันละ 700-1200 คน การทีท่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ให้แพทย์หลวงทาการตรวจรักษาในเขตพระราชฐานกด็ ี หรอื อกปฏิบตั ิในหน่วยแพทยเ์ คลื่อนทตี่ ามจุดตา่ งๆก็ดี แมเ้ ปน็ การสิ้นเปลอื งพระราชทรพั ย์อยา่ งมากมายก็ตาม ก็ได้ผลคุ้มค่าและเป็นที่นยิ มของราษฎรอยา่ งกวา้ งขวาง ดังจะสงั เกตเหน็ ได้จากทร่ี าษฎรจังหวัดใกลเ้ คียงทป่ี ระทับ เดนิ ทางมาขอรับการรกั ษาเพมิ่ ข้นึ ทุกปี นับเป็นพระมหากรณุ าธิคณุ แก่พสกนกิ รโดยทว่ั ถงึหอ้ งผ่าตดั และห้องอภบิ าล ฯลฯ บนพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน นอกเหนอื จากแพทยป์ ระจาพระองค์ และแพทยผ์ เู้ ช่ยี วชาญเฉพาะทางเช่น อายรุ แพทย์ทว่ั ไป แพทย์โรคหัวใจ และทรวงอก แพทย์ระบบทางเดนิ อาหาร แพทย์ระบบหู คอ จมกู และโรคภมู แิ พ้ จักษแุ พทย์ศลั ยแพทย์ระบบตา่ งๆ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดคิ ส(์ กระดูก และ ขอ้ ) สตู นิ รีแพทย์ แพทยท์ างเวชศาสตรฟ์ ื้นฟูทันตแพทย์ และวสิ ญั ญีแพทย์ เปน็ ต้น ถวายการรักษาและถวายขอ้ แนะนาแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวัสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ นี าถ และทลู กระหมอ่ มทุกพระองค์ตามปกตแิ ลว้ สง่ิ ท่ีพเิ ศษสุดก็คือ การปรบั สถานทใี่ นพระตาหนกั ฯบางส่วน(ชนั้ สอง) ใช้เป็นหอ้ งถวายการผ่าตดั หอ้ งพกั ฟน้ื ห้องอภิบาล (รักษาทงั้หนักและเบา) หอ้ งทาพระทนต์ หอ้ งถวายอภบิ าลขณะมพี ระประสูติการ(หอ้ งคลอด) และกายภาพบาบดัศาสตราจารยน์ ายแพทย์ประดิษฐ์ เจรญิ ไทยทวี วิสญั ญแี พทย์ และแพทย์ประจาพระองค์ไดก้ ลา่ วเกยี่ วกับเรือ่ งนตี้ อนหน่ึงว่า “ผมไดม้ ีโอกาสเข้าเฝา้ ฯรบั ใชเ้ บอ้ื งยคุ ลบาทตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2508 เม่ือครงั้ ที่ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าวชริ าลงกรณ ประชวรและตอ่ มทอนซิลอักเสบโตจาเป็นตอ้ งถวายการผา่ ตดั พระบาทสมเด็จสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงไวว้ างพระราชหฤทัยและทรงเช่อื มนั่ ฝีมอื แพทยไ์ ทย ทรงใชแ้ พทยไ์ ทยท้ังชดุ พลโทนายแพทย์อัศวนิ เทพาคา เปน็ ผู้ถวายการผ่าตัด โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯใหผ้ มเป็นวสิ ญั ญีแพทย์ถวายพระโอสถระงับความรสู้ กึ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ปรับปรงุ สถานทีบ่ นพระตาหนักเป็นหอ้ งผ่าตัด คอื หอ้ งที่ท่ีตดิกับหอ้ งเฝ้าใหญบ่ นชัน้ สองไดใ้ ช้ห้องนเ้ี ปน็ คร้ังแรก การเตรยี มการได้ใช้มาตรการเขม้ งวดด้านความถูกต้องทางเทคนคิ และความปลอดภัย เช่น เตยี งผา่ ตดั เคร่ืองดมยา ถงั ก๊าซ พระโอสถท่จี าเปน็ ทกุ รายการตอ้ งผ่านขน้ั ตอนการตรวจสอบและลงนามปดิ ผนึกแล้วประทบั คร่ัง กา๊ ซทุกถงั ผา่ นการตรวจสอบแล้วประทบั ครง่ัเช่นเดยี วกนั ” “หอ้ งทจี่ ะทาผา่ ตัดตอ้ งปดิ เทปตามขอบประตูหนา้ ตา่ งกนั ลมและฝ่นุ ละอองเลด็ ลอดเข้า(sealed)อยา่ งแน่นหนา ได้อบห้องดว้ ยดา่ งทับทมิ ผสมนา้ ยาฟอรม์ าลนิ เพอื่ ฆ่าเชอื้ โรคในหอ้ ง 2-3ครงั้ แล้วลอ็ กห้องใส่กุญแจ

24ประทับครงั่ น้าเกลอื ท่ีจะถวายเขา้ เส้นพระโลหิตระหว่างการผ่าตดั ก็ไดเ้ ตรียมไว้อย่างดี โดยได้ถวายให้สมเดจ็พระญาณสังวรณ์ วัดบวรนิเวศวิหารและทา่ นอาจารยม์ หาบวั วัดป่าบ้านตาด จงั หวัดอดุ รธานซี ง่ึ พานกั อย่ทู ว่ี ดัได้รว่ มแผ่เมตตาผ่านทางน้าเกลือ 2 คืนเพื่อความเปน็ ศริ มิ งคล การผา่ ตัดครัง้ นัน้ สาเรจ็ เรียบรอ้ ยไดผ้ ลดเี ปน็ ท่ีพอพระราชหฤทัย” “…หอ้ งผ่าตดั หอ้ งน้ีใชท้ าผา่ ตัด ทาพระทนตอ์ ีกหลายครง้ั ในเวลาตอ่ มาแม้สมเดจ็ พระเทพรัตนฯทูลกระหม่อมเจา้ ฟา้ จุฬาภรณฯ พระองคเ์ จ้าโสมสวลีฯและสมเดจ็ พระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถกท็ รงใชห้ ้องนใ้ี นการตรวจและรกั ษาครงั้ สาคญั ๆห้องนีต้ อ่ มาจึงกลายเปน็ หอ้ งถวายการรักษาอเนกประสงค์ แมเ้ มอ่ืพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงพระประชวรหนกั มากๆก็ทรงรับการอภบิ าลในหอ้ งน้ี.” “ห้องผ่าตัด/หอ้ งอภิบาลอเนกประสงค์นี้ มคี วามพรอ้ มทุกอยา่ งแทบจะครบวงจร แม้ต้เู ยน็ เกบ็ พระโลหติ มีหอ้ งล้างมอื ผ่าตดั ใช้ได้เปน็ หอ้ งเลก็ ๆอยูต่ ดิ กนั และยังมีหอ้ งขนาดประมาณ กว้าง 5เมตร ยาว10 เมตรอยู่อกีดา้ นหน่งึ เปน็ ทที่ ีพ่ ระบรมวงศานวุ งศช์ ้นั ผู้ใหญ่ประทับรอเฝา้ อาการทรงพระประชวร บางโอกาสห้องนีก้ ใ็ ช้เปน็หอ้ งทาพระทนต์ และกายภาพบาบัดอีกด้วย.”เก้าอท้ี าพระทนต์ขอ้ ความตอนหนึ่ง ในเอกสารเผยแพร่พระมหากรณุ าธคิ ุณ ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงมตี อ่ วิชาชีพทนั ตแพทย์ โดยองค์กรผู้บริหารคณะทนั ตแพทย์ศาสตร์แหง่ ประเทศไทย 2539 ทเี่ กย่ี วกับเรอ่ื งนม้ี ีดงั นี้ เกา้ อ้ที าพระทนต์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ได้ทรงใช้ในพระตาหนกั จติ รลดารโหฐานนี้ เป็นเก้าอที้ าพระทนตท์ ไี ดใ้ ชม้ าตง้ั แตพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวยังประทับ ณ พระทน่ี งั่ อัมพรสถาน เป็นระยะเวลาเกินกวา่ 20 ปี ทนั ตแพทย์ประจาพระองค์ไดก้ ราบบังคมทูลถาม และเสนอเก้าอี้ทาฟันที่ดีทั้งในดา้ นคณุ ภาพและความสวยงาม พระองค์รับสง่ั ว่า “เกา้ อ้ีทาฟันอะไรกไ็ ด้ ไม่จาเปน็ ต้องมรี าคาแพง เป็นเกา้ อ้ีท่ีหมอถนดั และทางานสะดวก ก็ใช้ได้” จากพระราชกระแสรบั ส่งั ของพระองค์แสดงใหเ้ ห็นวา่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วัแมจ้ ะทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์ เปน็ เจา้ แผน่ ดนิ ของประเทศ ก็ไมท่ รงเหน็ ความจาเปน็ ทจี่ ะต้องใช้ของมีราคาแพง ทง้ั นท้ี รงถือประโยชน์ในการใชส้ อยเป็นสาคญั เมอ่ื ทนั ตแพทยไ์ ด้จดั เกา้ อท้ี าพระทนตใ์ หมม่ าแทนแลว้ จงึ ได้ขอพระราชทานเกา้ อที้ าพระทนต์ชุดเก่ามาเกบ็ ไวใ้ นพพิ ธิ ภัณฑข์ องคณะทนั ตแพทยศาสตรเ์ พอื่ จะได้เก็บไว้เป็นประวัติศาสตร์ใหค้ นรนุ่ หลังได้ศึกษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มรี บั ส่ัง ถามถึงเก้าอท้ี าฟนั ตวั นัน้ วา่ ยังใช้ประโยชนไ์ ดห้ รอื ไม่ และเมอ่ื ทรงทราบว่ายังใชป้ ระโยชนใ์ นการทาฟนั ได้ จึงมรี บั สง่ั ใหพ้ ระราชทานเก้าอ้ีทาฟันน้ันใหแ้ ก่โรงพยาบาลตา่ งจังหวดั ที่ยงัขาดแคลนเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ประโยชน์ เจา้ หน้าที่ผรู้ ับผดิ ชอบจงึ ไดส้ ง่ ไปยังฝา่ ยทันตกรรม โรงพยาบาลนราธวิ าส และเก้าอี้ทาฟันชุดน้ันยงั คงใชบ้ รกิ ารทางทันตกรรมแกป่ ระชาชนตลอดมาจนถงึ ปจั จุบันนี้

25 เหน็ ไดช้ ัดเจนวา่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงเปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ใี นการประหยดั ทรงเหน็ คุณประโยชน์ของสิ่งของมากกว่าความสาคญั ของพระองค์เอง (กล่าวคือ สง่ิ ของทท่ี รงใช้แล้วจะตอ้ งถกู เก็บรกั ษาไวโ้ ดยเปลา่ประโยชน)์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอ่ื ประโยชนน์ ้นั จะตกแกป่ ระชาชนของพระองค์

26 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ งานวธิ ีการดาเนินงาน 1. ศกึ ษาและคน้ ควา้ ขอ้ มูลท่เี กยี่ วขอ้ งวา่ มีเนอื้ หามากน้อยเพียงใด และต้องศกึ ษาค้นควา้ เพม่ิ เติมเพียงใด จากหนงั สือและเว็บไซตต์ ่างๆ และเก็บขอ้ มูลไว้เพื่อจดั ทาเนื้อหาต่อไป 2. ศกึ ษาพระราชกรณยี กิจด้านการแพทย์จากหนงั สอื ท่มี ีความนา่ เชอ่ื ถอื 3. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าตอ่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษารายวชิ าซึง่ อาจารย์ที่ปรกึ ษาจะให้ขอ้ เสนอแนะ ตา่ งๆเพอื่ ใหจ้ ดั ทาเนอ้ื หาและการนาเสนอที่น่าสนใจตอ่ ไป ท้งั น้เี มือ่ ได้รับคาแนะนากจ็ ะนามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ ป็นที่สนใจยิ่งข้นึ 4. จดั ทาเอกสารรายงานโครงงานศึกษาพระราชกรณยี กิจด้านการแพทย์ โดยนาเสนอเปน็ งานนาเสนอ วดิ ีโอและจดั ทารปู เล่มรายงาน

27 บทท่ี 4ผลการศึกษาจากการศึกษาพระราชกรณยี กจิ ด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขไทยทาใหก้ ลมุ่ ของขา้ พเจา้ ไดเ้ ห็นพระปรชี าสามารถอนั ล้าเลศิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ 9 เปน็ อย่างมาก ทรงบาเพญ็ พระราชกรณยี กิจเจริญรอยตาม สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศ อดลุ เดชวิกม พระบรมราชชนก “พระบิดาแหง่ การแพทย์แผนปจั จบุ นั และการสาธารณสขุ ของไทย” ซึง่ ได้ทรงปรับปรุง เปล่ียนแปลงระบบการแพทยไ์ ทยใหไ้ ด้มาตรฐานทดั เทยี มนานอารยประเทศ สมเด็จพระบรมราชชนก และสมเด็จพระราชชนนีของพระองค์ ทรงศึกษามาทางสายการแพทยแ์ ละการพยาบาล ทง้ั สองพระองค์มีส่วนสาคัญในการหล่อหลอมปลูกฝงัพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ใหท้ รงมพี น้ื ฐาน และจากการทพ่ี ระองค์ได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ ออกไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรทกุ จงั หวัด ทุกภาคของประเทศ ได้ทอดพระเนตรเหน็ ความทกุ ข์ยากของประชาราษฎร์ทุกดา้ นโดยเฉพาะอย่างยิง่ ดา้ นการเจบ็ ปว่ ย ได้ส่งผลใหม้ ีพระราชดาริ พระราชดารสั พระบรมราโชวาท พระราชกรณยีกิจดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ไทยต่างๆมากมาย ยกตัวอย่างเช่น พระราชปรารภเก่ียวกบั การแพทย์และพระมหากรณุ าธิคณุ เมอื่ เกิดโรคระบาด และโรคตดิ ตอ่ , หนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นที่ ในท้องถนิ่ ทุนกนั ดาร ,ทรงเสดจ็ ฯ ไปทรงเย่ียมราษฎร พร้อมดว้ ยคณะแพทยเ์ ฉพาะกจิ รปู แบบตา่ ง ๆเพอื่ ตรวจรักษาราษฎรทีเ่ จ็บปว่ ย,การแพทย์ และการรักษาพยาบาล ในสวนจติ รลดา ห้องผ่าตัด/หอ้ งอภิบาล บนพระตาหนักจิตรลดารโหฐานฯลฯ ซึ่งถอื เปน็ พระมหากรณุ าธิคณุ ทที่ รงมตี อ่ ประสกนิกรชาวไทยเปน็ อย่างมาก

28 บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษาสรปุ ผลการศกึ ษา จากการศึกษาพระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร ทางดา้ นการแพทย์และการสาธารณสขุ ไทยทาให้ได้ทราบว่าพระองคท์ รงงานหนกั มากเพียงใดในการพฒั นาการแพทยเ์ พอื่ ให้สามารถรักษาและเข้าถงึ ประชาชนทกุ คนบนแผน่ ดนิ ไทย ซงึ่ เกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งมากต่อท้งั ด้านทต่ี วั แพทย์เองสามารถนาส่ิงทพ่ี ระองค์ทาไปประยุกต์ใชไ้ ดแ้ ละอีกทง้ั ประชาชนเองก็สามารถนาเกร็ดความร้ตู า่ งๆมาปรบั ปรงุ สขุ ภาพของตนเองใหด้ ีขึ้นและมคี ณุ ภาพชวี ิตดขี น้ึ อกี ดว้ ยประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั 1. สาเหตขุ องการกอ่ ตงั้ โครงการตา่ งๆขน้ึ มาน้ันเป็นเพราะว่าพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวรชั กาลที่ 9 ทรงสมภพในครอบครวั แพทย์-พยาบาล แหง่ สมเดจ็ พระบรมราชชนก พระบดิ าแห่งการแพทยแ์ ผนปัจจุบัน และกายสาธารณสขุ ของไทย และพระองค์ทรงเสดจ็ พระราชดาเนนิ ออกไปเยย่ี มเยียนราษฎรทกุ จังหวดั ทกุ ภาคของประเทศไทย ได้ทอดพระเนตรเห็นความทกุ ขย์ ากของประชาราษฎรใ์ นทุกๆด้านโดยเฉพาะอยา่ ง ย่ิงดา้ นความเจ็บป่วย ปญั หาสุขภาพอนามยั ทาใหพ้ ระองคท์ รงหว่ งใยประกอบกบั ในชว่ งต้นๆรชั กาลมโี รค ระบาด โรคตดิ ต่อ ภยั ธรรมชาติรุนแรงเกิดขึน้ ในประเทศไทย ประชาชนได้รับความทกุ ข์ทรมานแสนสาหัส ทรงได้อทุ ิศพระราชทรัพยส์ ว่ นพระองค์ ทรงอุทิศกาลังพระหฤทยั กาลังพระวรกายเพอ่ื การแพทย์และการ สาธารณสุขของไทย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เพอ่ื ประชาชนของพระองค์ 2. สมัยก่อนทยี่ งั ไม่มกี ารกอ่ ต้งั โครงการหน่วยแพทย์เคลอ่ื นนนั้ ราษฎรในถน่ิ ทรุ กันดารไมส่ ามารถเข้าถงึ การ รักษาไดไ้ มว่ ่าจะเกิดจากปัจจยั ขาดอุปกรณ์เครือ่ งมอื การรกั ษา ผู้ป่วยมอี าการหนกั หรอื มภี าวะยงุ่ ยาก ซบั ซอ้ นมากๆยากต่อการรกั ษา ณ พน้ื ทนี่ ัน้ แตเ่ มอ่ื กอ่ ตัง้ โครงการหน่วยแพทย์เคลอื่ นที่ทาใหร้ าษฎร สามารถเขา้ ถึงการรกั ษาและไดร้ บั การรักษาทดี่ ขี ้นึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ส่งไปรักษา ตอ่ ทโ่ี รงพยาบาลทอ้ งถิน่ ที่มีความสามารถรกั ษาได้โดยทรงรับไว้เป็นคนไขใ้ นพระบรมราชานเุ คราะห์ทกุ รายนบั แต่นน้ั เปน็ ต้นมา

29ขอ้ เสนอแนะ1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ ทกุ พระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 9 ลว้ นสอดแทรกพฤตกิ รรมซึง่ เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีทีซ่ ึ่งคนทกุ เพศทกุ วยั สามารถนาไปปรับหรอื ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาคน้ ควา้ ควรมกี ารหาข้อมูลจากหลากหลายประเภทและแหลง่ ทมี่ าเปรียบเทียบกนั เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู ทถี่ ูกต้อง และนา่ เชอื่ ถอื มากข้ึน3. ปญั หาและอปุ สรรค เนื่องจากพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลที่ 9 ทรงมมี ากมายหลากหลาย มี ความคล้ายคลึงกันในหลายโครงการ ทาให้ยากในการจาแนกและเนอ้ื หามคี วามเฉพาะตอ้ งศกึ ษาจาก แหล่งข้อมูลท่ีมคี วามเชือ่ ถอื เพราะเน้ือหาตามเว็บไซตต์ า่ งๆ ยงั ไม่ครอบคลุมมากพอ

30ประวัตผิ ู้ดาเนินโครงงานชอ่ื นางสาวสุภาพักตร์ ภูรศิ รีภมู ิลาเนา 99/2346 หมู่ 2 คา่ ยพอ่ ขุนผาเมือง ต.สะเดียง อ.เมอื ง จ.เพชรบูรณ์ประวัตกิ ารศกึ ษา - จบระดับมธั ยมศึกษาจากโรงเรยี นเพชรพทิ ยาคม - ปัจจบุ นั กาลังศึกษาในระดับปรญิ ญาตรชี ้นั ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรE-mail : [email protected]ชอ่ื นางสาวสมุ ัชญา สารคี าภมู ลิ าเนา 46/1 หมู่ 2 ต.บา้ นตว้ิ อ.หลม่ สัก จงั หวัดเพชรบรู ณ์ประวัตกิ ารศกึ ษา - จบระดับมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นมัธยมสาธิต มหาวทิ ยาลยั นเรศวร - ปจั จุบันกาลงั ศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ชอ่ื นางสาวหทยั กานต์ บุญมากภูมิลาเนา 8/7 ถ.อินทรครี ี อ.แม่สอด จ.ตากประวตั กิ ารศึกษา - จบระดับมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นมัธยมสาธติ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร - ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรชี ั้นปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]

31ชือ่ นางสาวอภชิ ญา วงศท์ รัพย์สกลุภมู ลิ าเนา 15/4 ถนนเทศบาลดาริ3 ต.เมอื งสวรรคโลก อ.สวรรค โลก จ.สุโขทัยประวัตกิ ารศกึ ษา - จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรียนสวรรอนนั ต์วทิ ยา - ปจั จุบนั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรชี ั้นปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรE-mail : [email protected]ชื่อ นายอภสิ ทิ ธิ์ พทิ ักษว์ นิ ยัภมู ลิ าเนา 434/11 ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.เพชรบูรณ์ประวตั ิการศึกษา - จบระดับมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นเพชรพทิ ยาคม - ปัจจบุ ันกาลังศึกษาในระดับปรญิ ญาตรชี ั้นปที ่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ชอ่ื นายองั กรู ศกั ดสิ ริ ิภูมิลาเนา 27/41 ซ.เพชรเกษม 21/2 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาประวัตกิ ารศกึ ษา - จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลัย - ปจั จุบนั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี ้ันปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ชือ่ นางสาวอัจฉราพรรณ หงษ์ประสทิ ธ์ิภมู ิลาเนา 86/1 ม.3 ต.ปา่ เซา่ อ.เมอื ง จ.อตุ รดิตถ์ประวตั ิการศึกษา - จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นอุตรดติ ถ์ดรุณี - ปัจจบุ ันกาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี ้นั ปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]

32ชอ่ื นางสาวอาทิตยา เหล่ียมอุไรภูมลิ าเนา 57/2 หมูท่ ี่1 ตาบลทอ้ แท้ อาเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลกประวตั กิ ารศึกษา - จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนเซนตน์ ิโกลาส - ปัจจุบันกาลงั ศกึ ษาในระดับปริญญาตรชี นั้ ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail : [email protected]ชื่อ นางสาวอาทมิ า เอกอนันตไชยภูมิลาเนา 283/4 ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.พิษณุโลกประวัติการศกึ ษา จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรยี นเฉลิมขวญั สตรี - - ปัจจุบันกาลังศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี ัน้ ปที ่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรE-mail : [email protected]ชอื่ นางสาวอารยา เจษฎ์ปยิ ะวงศ์ภูมิลาเนา 98 ซอยเพชรเกษม 48 แยก16/1 ถนนเพชรเกษม แขวง บางด้วน เขตภาษเี จรญิ กรุงเทพมหานครประวตั กิ ารศกึ ษา - จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรียนสตรวี ิทยา - ปจั จุบนั กาลังศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรชี ้ันปที ่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ชอ่ื Ms.Chimmi Selden Namdaภูมิลาเนา -ประวตั กิ ารศึกษา ปจั จุบันกาลังศึกษาในระดับปรญิ ญาตรชี ั้นปีที่ 1 - คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : -

33 เอกสารอ้างองิกระทรวงสาธารณสุข. (2550). สาธารณสขุ ของแผ่นดนิ . นนทบรุ ี:กระทรวง.ดิเรก อศิ รางกรู ณ อยุธยา. (บรรณาธิการ). (2541). สายธาราแหง่ พระมหากรุณาธิคุณ. กรงุ เทพ: คณะกรรมการสภาวจิ ัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาต.ิประเวศ วะส.ี (2549). พระเจา้ อย่หู วั กบั รหัสพฒั นาใหม่. กรุงเทพ:สานกั งาน.ไพฑรู ย์ พศะบุตร. (2550). สารานุกรมฉบบั เฉลมิ พระเกียรติในโครงการฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี. กรุงเทพ:อมรินทรพ์ ร้นิ ต้ิงแอนด์พับลชิ ชิง่ .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook