Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันอาสาฬหบูชา.pptx

วันอาสาฬหบูชา.pptx

Published by Krittaya Tummajindamet, 2022-06-29 03:15:57

Description: วันอาสาฬหบูชา.pptx

Search

Read the Text Version

ตรงกบั วนั ข้ึน ๑๕ คา่ํ เดอื น ๘

วันอาสาฬหบูชา ขึน้ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๘ เปนวนั ที่สําคัญในประวัตศิ าสตรแ หง พระพุทธศาสนา คอื วันท่ีพระพุทธองค ทรงแสดงธรรมเทศนาหรือหลกั ธรรม ทที่ รงตรสั รู เปนครงั้ แรกแกเ บญจวัคคียทง้ั ๕ ณ มฤคทายวัน ตําบลอสิ ิปตนะ เมอื งพาราณสี ในชมพทู วีปสมัยโบราณซง่ึ ปจจบุ นั ตงั้ อยใู นประเทศอินเดีย ดว ยพระพทุ ธองคทรงเปรยี บดังผทู รงเปนธรรมราชา กท็ รงบันลือธรรมเภรี ยงั ลอแหง ธรรมใหห มนุ รดุ หนา เริ่มตนแผข ยายอาณาจักรแหงธรรม นาํ ความ รม เยน็ และความสงบสขุ มาใหแกห มูประชา ดงั นัน้ ธรรมเทศนาท่ีทรงแสดง คร้ังแรกจงึ ไดช่ือวา ธัมมจักกปั ปวัตตนสูตร แปลวา พระสูตรแหง การหมนุ วงลอ ธรรม หรอื พระสตู รแหง การแผข ยายธรรมจักร กลาวคือดินแดนแหง ธรรม

เม่ือ ๒๕๐๐ กวา ปมาแลวนน้ั ชมพทู วีปในสมัยโบราณ กาํ ลังยา งเขาสูย ุคใหม แหง ความเจริญกา วหนา รุงเรอื งเฟอ งฟูทกุ ดานและมคี นหลายประเภททัง้ ชน ผูมง่ั คัง่ ร่ํารวย นักบวชที่พัฒนาความเชอื่ และ ขอ ปฏบิ ัตทิ างศาสนา เพอื่ ใหผ ู รํ่ารวยไดป ระกอบพธิ กรรมแกต นเต็มที่ ผเู บ่อื หนายชีวิตที่วนเวียน ในอํานาจ และโภคสมบตั ทิ อ่ี อกบวช หรือบางพวกกแ็ สวงหาคาํ ตอบทีเ่ ปน ทางรอกพน ดว ยการคิดปรัชญาตางๆ เก่ยี วกับเรอ่ื งท่เี หลือวสิ ัยและไมอ าจพสิ ูจนไ ดบ า ง พระพทุ ธเจาจงึ ทรงอบุ ตั ิในสภาพเชนน้ี และดําเนินชพี เชนนีด้ ว ยแตเ มือ่ ทรง พบวา สงิ่ ทเ่ี กิดขน้ึ ในตอนนั้นขาดแกน สาน ไมเ ปนประโยชนอยา งแทจ ริง แก ตนเองและผอู น่ื จงึ ทรงคิดหาวธิ แี กไ ขดวยการทดลองตางๆ

โดยละท้ิงราชสมบตั ิ และอิสรยิ ศแลว ออกผนวช บาํ เพ็ญตนนานถึง ๖ ป ก็ ไมอ าจพบทางแกได ตอ มาจึงไดทางคน พบ มัชฌิมาปฏปิ ทา หรือทางสาย กลาง เมือ่ ทรงปฏิบตั ติ ามมรรคาน้ีกไ็ ดค นพบสจั ธรรมท่ีนาํ คุณคา แทจ รงิ มาสู ชวี ติ อนั เรยี กวา อรยิ สจั ๔ ประการ ในวันเพ็ญเดอื น ๖ กอนพุทธศก ๔๔ ป ท่ี เรยี กวา การตรสั รูเปนพระพทุ ธเจา จากน้ันทรงงานประกาศศาสนาโดยทรงดํารหิ าทางท่ไี ดผลดีและรวดเรว็ คือ เร่มิ สอนแกผ มู ีพนื้ ฐานภมู ปิ ญญาดีท่ีรูแ จง คาํ สอนไดอยา งรวดเรว็ และสามารถ นาํ ไปช้แี จงอธิบาย ใหผ ูอน่ื เขา มาไดอ ยา งกวางขวาง จึงมงุ ไปพบนกั บวช ๕ รูป หรือเบญจวคั คยี  และไดแ สดงธรรม เทศนาเปนคร้ังแรกในวนั เพญ็ เดอื น ๘

ในการแสดงแสดงปฐมเทศนาครงั้ แรกของพระพุทธเจา ทรงแสดงหลกั ธรรมสําคญั ๒ ประการคือ ๑. มชั ฌมิ าปฏิปทาหรือทางสายกลาง เปน ขอ ปฏิบตั ทิ ่เี ปนกลาง ๆ ถกู ตองและ เหมาะสมท่ีจะใหบ รรลถุ งึ จดุ หมายได มใิ ชก ารดําเนนิ ชวี ิตที่เอยี งสุด ๒ อยาง หรอื อยา งหนึ่งอยา งใด คือ ๑) การหมกหมุนในความสขุ ทางกาย มวั เมาในรูป รส กลน่ิ เสยี ง รวมความเรยี กวา เปน การ หลงเพลิดเพลนิ หมกหมุน ในกามสุข หรือ กามสขุ ัลลิกานโุ ยค ๒) การสรา งความลาํ บากแกต นดําเนนิ ชีวิตอยา งเลอ่ื นลอย เชน บําเพ็ญตบะการ ทรมานตน คอยพง่ึ อาํ นาจส่งิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ เปนตน การดาํ เนนิ ชีวติ แบบที่กอความทกุ ขใหต น เหนอ่ื ย แรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกวา อตั ตกลิ มถานุโยค

ดงั นัน้ เพือ่ ละเวนหา งจากการปฏบิ ัติทางสดุ เหลา น้ี ตองใชท างสายกลาง ซึ่งเปน การ ดาํ เนนิ ชีวติ ดว ยปญญา โดยมีหลักปฏิบัตเิ ปนองคป ระกอบ 8 ประการ เรียกวา อริยอัฏ ฐังคกิ มัคค หรือ มรรคมอี งค ๘ ไดแ ก อริยอฏั ฐังคกิ มัคค หรอื มรรคมอี งค ๘ 1. สมั มาทิฏฐิ เห็นชอบ คอื รเู ขา ใจถูกตอง เห็นตามทีเ่ ปนจริง 2. สมั มาสังกัปปะ ดาํ ริชอบ คอื คิดสุจรติ ตั้งใจทาํ สิ่งทีด่ งี าม 3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กลา วคาํ สจุ รติ 4. สมั มากมั มันตะ กระทาํ ชอบ คือ ทาํ การท่ีสจุ ริต 5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชพี หรืออาชพี ท่ีสุจรติ 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพยี รละช่ัวบําเพ็ญดี 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ทําการดวยจติ สํานกึ เสมอ ไมเผลอพลาด 8. สัมมาสมาธิ ตงั้ จติ มนั่ ชอบ คือ คมุ จติ ใหแ นวแนมนั่ คงไมฟงุ ซาน

๒. อริยสจั ๔ แปลวา ความจริงอันประเสรฐิ ของอรยิ ะ ซ่ึงคือ บคุ คลทีห่ างไกลจาก กิเลส ไดแ ก ๑) ทกุ ข ไดแ ก ปญ หาท้งั หลายทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั มนุษย บุคคลตองกําหนดรูใ หเ ทาทันตาม ความเปน จรงิ วามันคอื อะไร ตอ งยอมรบั รกู ลา สหู นาปญหา กลาเผชญิ ความจรงิ ตองเขา ใจ ใน สภาวะโลกวาทกุ สงิ่ ไมเ ท่ยี ง มีการเปลย่ี นแปลงไปเปน อยางอน่ื ไมย ึดติด ๒) สมทุ ยั ไดแ ก เหตเุ กิดแหง ทุกข หรือสาเหตุของปญหา ตัวการสาํ คัญของทกุ ข คือ ตัณหาหรอื เสน เชือกแหง ความอยากซงึ่ สมั พนั ธกับปจจัยอื่นๆ ๓) นโิ รธ ไดแก ความดับทุกข เร่มิ ดวยชีวิตท่อี ิสระ อยอู ยา งรูเทา ทันโลกและชีวิต ดาํ เนินชวี ิต ดวยการใชปญ ญา ๔) มรรค ไดแก กระบวนวธิ แี หง การแกปญ หา อันไดแก มรรคมีองค ๘

วนั อาสาฬหบูชา แปลวา การบูชาในวนั เพญ็ เดอื น ๘ หรือ การบูชาเพอ่ื ระลกึ ถงึ เหตกุ ารณสาํ คญั ในวันเพ็ญ เดือน ๘ คือ ๑. เปนวันทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงแสดงปฐมเทศนา ๒. เปน วนั ที่พระพทุ ธเจาเร่มิ ประกาศพระศาสนา ๓. เปนวันที่เกดิ อรยิ สงฆคร้ังแรกคอื การทที่ า นโกณฑญั ญะรูแจง เห็นธรรม เปนพระ โสดาบนั จดั เปนอริยบุคคลทา นแรกในอริยสงฆ ๔. เปนวนั ทเี่ กดิ พระภกิ ษรุ ูปแรกในพระพุทธศาสนา คอื การที่ทานโกณฑัญญะขอบ รรพชาและ ไดบวชเปน พระภกิ ษุ หลงั จากฟง ปฐมเทศนาและบรรลุธรรมแลว ๕. เปน วันทพ่ี ระพุทธเจา ทรงไดป ฐมสาวกคอื การทท่ี า นโกณฑัญญะนน้ั ไดบ รรลุ ธรรม และบวชเปนพระภิกษุ จึงเปนสาวกรปู แรกของพระพุทธเจา

กิจกรรมที่ทาํ ในวันอาสาฬหบชู า โดยทัว่ ไป คือ ทาํ บญุ ตกั บาตร รักษาศลี เวียนเทียน ฟง พระธรรมเทศนา (ธมั มจักกัปปวตั ตนสูตร) และสวดมนต ดงั น้ันในวนั นีจ้ งึ ถอื วา พุทธศาสนกิ ชนควรไดรบั ประโยชน ท่ีเปนสาระสาํ คญั จากอาสาฬหบชู า กลา วคอื ควรทบทวนระลกึ เตอื นใจสํารวจตนวา ชีวติ เราไดเ จรญิ งอกงามขึ้นดว ยความเปน อยู อยางผรู ูเทาทันโลกและชีวิตน้บี า งแลวเพียงใด เรายงั ดาํ เนนิ ชีวิตอยูอยางลุมหลง มัวเมา หรอื มีจิตใจอิสระปลอดโปรงผอ งใสบางแลวเพียงใด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook