Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน

รายงาน

Published by Kanyarat Channel, 2018-07-18 23:42:16

Description: รายงาน

Search

Read the Text Version

รายงาน เร่อื ง ประวัตผิ ู้นาระดบั โลก จัดทาโดย นางสาวกญั ญารัตน์ สดุ แสงจันทร์ เลขท่ี 4 6032040044 ปวส.2.3 คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ เสนอ อาจารย์ภูมิพัฒน์ วนพพิ ฒั นพ์ งศ์รายงานน้ีเป็นสว่ นนงึ ของวิชาโปรแกรมสานกั งานช้ันสูง(ปวส.) ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 วิทยาลัยอาชีวศึกษาพษิ ณุโลก

ประวัตผิ นู้ าระดบั โลก1.คมิ จองอนึ ผ้นู าสูงสดุ ของเกาหลเี หนือ คมิ จอ็ ง-อนึ (เกาหล:ี 김정은, ฮันจา: 金正恩, MC: Kim Chŏng'ŭn, MR: Gim Jeong-eun) (เกิด 8 มกราคม ค.ศ. 1983 หรือ 1984) ผู้นาสงู สุดของเกาหลเี หนอื คนปัจจบุ นั ได้รับประกาศเปน็ผนู้ าสงู สุดอย่างเป็นทางการหลังรฐั พิธศี พบดิ า คิม จอ็ ง-อิล เขาเป็นบุตรคนสดุ ทอ้ งจากทั้งหมดสามคนของคิม จ็อง-อิล กับโค ยง-ฮี นบั แตป่ ลาย ค.ศ. 2010 คิม จ็อง-อนึ ถกู มองว่าเป็นทายาทผ้นู าเกาหลเี หนอื และหลงั บดิ าถึงแกอ่ สญั กรรม เขาไดร้ ับประกาศเป็น \"ผสู้ บื ทอดท่ียง่ิ ใหญ่\" ผ่านโทรทศั น์ทางการเกาหลเี หนอื [10] ในพิธรี าลกึ ถงึ คมิ จอ็ ง-อลิ คมิ ย็องนัม ประกาศวา่ สหายคมิ จ็อง-อึนที่เคารพเปน็ ผู้นาสูงสุดของพรรคเรา ทหารและประเทศ ผู้สืบทอดอุดมการณ์ ความเป็นผนู้ า บคุ ลิก คณุ ธรรม ความทรหดและความกลา้ ของสหายคิม จ็อง-อลิ ผยู้ ่ิงใหญ่ การขึ้นสู่ตาแหนง่ ผนู้ าของคิม จ็อง-อนึ เปน็ ทางการก็เม่อื เจา้ หน้าท่ีพรรค รัฐสภา และรัฐบาลระดบั สูงประชุมกันเพ่ือยนื ยนั การแตง่ ตัง้ เขาเป็นเลขาธกิ ารใหญพ่ รรคแรงงานเกาหลแี ละประธานคณะกรรมาธกิ ารทหารกลางของพรรค วนั ท่ี 30 ธนั วาคม ค.ศ. 2011 โปลิตบูโรของพรรคแรงงานเกาหลีแต่งต้ังคมิ เป็นผู้บัญชาการสงู สดุ กองทพั ประชาชนเกาหลอี ย่างเปน็ ทางการ เขามียศแทจงั ในกองทัพประชาชนเกาหลี เทียบเท่านายพลเอกในด้านการศกึ ษา มีการกล่าวว่า คมิ จ็อง-อนึ ไดร้ ับการศึกษาดา้ นวิทยาการคอมพิวเตอร์เปน็ การส่วนตวั ในเกาหลีเหนอื ได้รบั ปริญญาสองสาขา ใบแรกในสาขาฟสิ ิกส์ จากมหาวิทยาลัยคมิ อลิ ซ็อง และอีกใบหนง่ึ จากวทิ ยาลยั การทหารคิม อิล-ซ็อง เขาเปน็ประมุขแห่งรัฐทีอ่ ายนุ ้อยที่สุดในโลกด้วยวยั 28 ปี

การสบื ทอดตาแหนง่ หลังคมิ จ็อง-อลิ ถึงแก่อสญั กรรม แมเ้ ขาวางแผนเอาไว้วา่ หลังตนเสยี ชีวติ จอ็ ง-อึนจะไดก้ ้าวขึ้นสอู่ านาจอย่างเตม็ ท่ี แต่ไม่ชดั เจนหลงั จ็อง-อิลถงึ แกอ่ สัญญกรรมวา่ จ็อง-อนึ จะครองอานาจอยา่ งแทจ้ รงิ และบทบาทแท้จริงในรัฐบาลใหมจ่ ะเป็นอยา่ งไร[16] นักวิเคราะหบ์ างคนใหค้ วามเหน็ ว่าเมอื่ คมิ จอ็ ง-อิล ถงึ แก่อสัญกรรม ชงั ซอ็ ง-แท็กจะทาหน้าท่ีเป็นผูส้ าเรจ็ ราชการแทน เพราะจ็อง-อนึ ไมม่ ีประสบการณ์เพยี งพอทน่ี าประเทศไดท้ นั ที 24 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 จอ็ ง-อนึ กล่าวตอ่ สาธารณะว่า เราได้รับการประกาศเปน็ ผูบ้ ัญชาการสงู สุดกองทัพประชาชนเกาหลี 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 โทรทศั น์เกาหลเี หนือเผยแพรภ่ าพชัง ซ็อง-แทก็ ในชุดเครื่องแบบนายพลอนัเปน็ สัญญาณถงึ การมอี านาจครอบงาที่เพม่ิ ข้ึนหลงั คมิ จอ็ ง-อิล ถงึ แก่อสญั กรรม เจา้ หน้าท่ีเกาหลใี ตซ้ ง่ึเชยี่ วชาญกจิ การเกาหลีเหนอื กลา่ วว่า เป็นครง้ั แรกทีช่ ัง ซ็อง-แท็กปรากฏทางโทรทัศนเ์ กาหลีเหนือในชุดเคร่อื งแบบทหาร ซง่ึ เปน็ การแสดงให้เหน็ ว่าชัง ซ็อง-แทก็ ได้เข้ามามีบทบาทสาคญั ในกองทพั เกาหลีเหนืออนัทรงพลัง ซึ่งได้ปฏญิ าณตนว่ามีความภกั ดีต่อคิม จอ็ ง-อึน ลัทธบิ ชู าบุคคลรอบคมิ จอ็ ง-อึน ได้ถูกสง่ เสริมข้ึนหลงั การถงึ แก่อสัญกรรมของคิม จอ็ ง-อลิ คิม จ็อง-อนึได้รับการสรรเสรญิ ว่าเป็นผสู้ บื ทอดอุดมการณย์ ง่ิ ใหญ่ของการปฏิวตั ิจูเช เป็นผ้นู าอนั โดดเด่นของพรรค กองทพัและประชาชน\"]ประธานคณะกรรมาธกิ ารรฐั พธิ ีศพ คิม จอ็ ง-อิล เรียกคมิ จ็อง-อนึ ว่า \"บุคคลยิง่ ใหญจ่ ตุ จิ ากสวรรค\"์ คาทางโฆษณาชวนเชอ่ื ซ่ึงเคยใชเ้ ฉพาะกบั บิดาและปขู่ องเขา ขณะท่ีพรรคกรรมกรกล่าวในบทบรรณาธิการว่า เราสญั ญาทั้งนา้ ตาทีห่ ลงั่ ไหลเรียกคมิ จอ็ ง-อนึ วา่ ผู้บญั ชาการสูงสดุ ของเรา ผูน้ าของเรา 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 หนังสอื พมิ พ์ชนั้ นาของเกาหลีเหนือ โรดง ซนิ มึน รายงานว่า คมิ จอ็ ง-อึนได้รักษาการประธานคณะกรรมาธิการทหารกลาง และผู้นาสงู สุดของประเทศ หลังบิดาถงึ แกอ่ สญั กรรม หลังจากนน้ั จึงได้รับแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ อยา่ งเป็นทางการเมื่อวนั ท่ี 30 ธนั วาคม โดยฝา่ ยการเมอื งของคณะกรรมาธิการกลางพรรคแรงงาน ได้ประกาศอยา่ งออ่ นนอ้ มว่า คิม จ็อง-อึนท่ีเคารพรัก รองประธานคณะกรรมาธิการทหารกลางพรรคแรงงานเกาหลีดารงตาแหนง่ ผู้บัญชาการสงู สุดกองทัพประชาชนเกาหลีเหนือทาไมต้องเกบ็ เปน็ ความลบั ขนาดนนั้ ?เม่ือนายคมิ จอง อนึ ยงั เดก็ แมแ้ ตส่ ือ่ ของทางการเกาหลีเหนอื เองก็ยงั ไม่เคยเอ่ยถึงตวั เขาแมแ้ ต่คร้งั เดียว เขาเพงิ่ จะปรากฏตัวต่อสาธารณะคร้ังแรกเมอื่ เดอื นกนั ยายนปี 2010 ซ่งึ เป็นช่วงเวลาก่อนทพ่ี ่อของเขาจะเสยี ชีวติ ได้ไม่นาน ไมม่ ใี ครทราบชัดว่าเขาเกิดปไี หนกนั แน่ แต่คาดกนั ว่าน่าจะเป็นช่วงปี 1983-1984ความลึกลับของตระกูลคมิ มีเพ่มิ ขน้ึ เรอื่ ย ๆ เมอื่ สืบมาถึงรุ่นของท่านผูน้ าคิม จอง อลิ บิดาของนายคิม จอง อึนท้ังที่นายคิม อลิ ซงุ ปขู่ องเขาซ่งึ เปน็ ผู้กอ่ ต้งั ประเทศมกั ปรากฏตวั ในวงสังคมพร้อมกบั ภรยิ าอยู่เปน็ ประจา และประชาชนชาวเกาหลีเหนือในยคุ นนั้ กม็ โี อกาสไดเ้ หน็ ภาพถา่ ยครอบครัวตระกลู คิมกนั อยา่ งแพร่หลายเปน็ ปกติเชอ่ื กนั ว่านายคมิ จอง อิลนนั้ มีคู่ครองอย่างน้อย 4 คน แตค่ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวเขากับหญงิ เหล่าน้ซี ่งึ ให้กาเนดิ บตุ รชาย 3 คน และบุตรสาว 1 คนแก่เขา ไม่เคยไดร้ บั การเปดิ เผย

คาบรรยายภาพอดีตผนู้ าคมิ จอง อลิ (ซ้าย) ในวยั เด็ก ถ่ายภาพรว่ มกบั บิดาและมารดาสถานโี ทรทศั นข์ องทางการเกาหลเี หนอื เคยรายงานเมื่อปี 2012 วา่ \"สหายรี ซอล จ\"ู คือภรรยาของนายคิมจอง อนึ และดเู หมือนว่าคนทงั้ สองไดส้ มรสกันเมื่อราว 3 ปีกอ่ นหนา้ นั้น อยา่ งไรก็ตาม ยังคงมคี าถามมากมายเกยี่ วกบั ตัวตนและความเปน็ มาของหญิงที่เคยี งขา้ งทา่ นผู้นาสูงสดุ ในงานทีเ่ ปน็ ทางการหลายงานอยู่การสืบสายครองอานาจอันซบั ซ้อนไมเ่ คยมผี คู้ าดคดิ มากอ่ นวา่ นายคมิ จอง อึน ซึง่ เปน็ บุตรคนเลก็ ของท่านผนู้ าคมิ จอง อลิ จะได้เปน็ ผูส้ บื ทอดอานาจตอ่ จากบดิ า แต่เขาก็ได้รบั การระบชุ ื่อให้เปน็ ทายาทนัง่ เก้าอผ้ี ู้นาสงู สุดเมอื่ ปี 2011 และยงิ่ เมอ่ื มาเกิดเหตุลอบสังหารนายคิม จอง นมั พ่ชี ายตา่ งมารดาและบตุ รคนโตของนายคิม จอง อิล ท่ปี ระเทศมาเลเซียเมื่อช่วงตน้ ปีทผ่ี า่ นมาขา่ วนีย้ งิ่ ดงึ ดดู ความสนใจใหผ้ ู้คนอยากรถู้ ึงเรื่องราวความสัมพันธอ์ นั ซบั ซอ้ น ซึ่งอาจเปน็ ทม่ี าของศึกสายเลอื ดตระกูลคิมกนั มากย่ิงขึน้คาบรรยายภาพนายคิม จอง นมั ในวัยเด็ก (ซา้ ย) เติบโตขน้ึ มาเป็นผใู้ หญท่ ชี่ อบใชช้ ีวิตสนุกสนานตามงานปาร์ต้ี ขณะท่ีอยู่ในตา่ งประเทศ

เมื่อเดอื นสิงหาคม ปี 2013 มรี ายงานว่าหลักการสาคญั ซงึ่ เปน็ แนวทางก่อต้ังและปกครองประเทศของเกาหลีเหนือ ไดร้ ับการแก้ไขเพมิ่ เตมิ ให้มกี ารเชิดชู \"สายเลอื ดเพก็ ต\"ู ซึ่งเปน็ ช่อื ของภเู ขาศกั ด์ิสิทธิใ์ หอ้ ยเู่ หนือสายตระกูลอ่ืน อันเปน็ การสรา้ งความชอบธรรมใหต้ ระกลู คิมไดส้ ืบทอดอานาจการปกครองประเทศจนชั่วลูกสบืหลานหลงั การปรับเปลยี่ นหลกั การน้ี การมที ายาทชายสืบตระกลู จงึ มคี วามสาคัญต่อความมั่นคงของผู้นาเกาหลีเหนอือยา่ งยง่ิ โดยขณะน้ยี งั ไมท่ ราบแน่วา่ นายคิม จอง อึน มบี ุตรชายหรอื ไม่ ทราบกันแตเ่ พียงว่าบุตรคนท่ีสองของเขากับนางรี ซอล จู นัน้ เปน็ บตุ รสาว แต่เพศของบุตรคนแรกและคนสุดทอ้ งนั้นยงั ไม่มผี ู้ใดทราบได้การปรากฏตัวของชายชอ่ื คิม ฮัน ซอล ซงึ่ อา้ งว่าเปน็ บุตรของนายคิม จอง นมั ในวดิ โี อลกึ ลบั ทถ่ี กู เผยแพร่ทางออนไลน์ เปน็ สญั ญาณหน่ึงทีช่ ี้ถงึ ความสัมพันธ์อนั ลึกลบั ซบั ซอ้ นภายในสายตระกูลเดยี วกนั และน่าจะเปน็เครื่องเตอื นใหท้ ่านผู้นาคมิ จอง อึน เลง็ เห็นถึงความสาคญั ของการมีทายาทชายมากข้ึนภรยิ าของคมิ จอง อนึ เปน็ ใครกันแน่ ?ไม่มีใครรู้ท่ีมาที่ไปของนางรี ซอล จู ภรยิ าของคมิ จอง อึนมากนัก แต่เชอื่ กันวา่ เธอเป็นนักรอ้ งสาวผู้หนงึ่ ที่สะดุดตาสะดดุ ใจท่านผู้นาเข้าระหวา่ งชมการแสดงดนตรีมีข้อมลู ยนื ยันได้วา่ มนี ักร้องชื่อน้ีในคณะแสดงดนตรีของทางการเกาหลเี หนอื จรงิ แตก่ ็ไมอ่ าจจะฟันธงลงไปได้ว่า นักรอ้ งชื่อรี ซอล จู เปน็ คนเดียวกบั ที่ยนื เคียงข้างผู้นาเกาหลีเหนอื อยูใ่ นปัจจุบันหรอื ไม่การที่เธอมักหายตวั ไปจากสายตาสาธารณชนเปน็ คร้ังคราว แต่จู่ ๆก็กลบั มาปรากฏตัวข้ึนอย่างไม่คาดคิด ยงิ่เพิ่มความลึกลับในตัวของ \"สภุ าพสตรีหมายเลขหน่งึ \" เขา้ ไปอกี บา้ งเชอื่ ว่าชว่ งท่ีเธอหายไปนนั้ เธอกาลังต้ังครรภ์ ซง่ึ นา่ จะได้ใหก้ าเนิดบุตรแก่นายคมิ จอง อึน อยา่ งน้อย 3 คนแล้ว

คาบรรยายภาพนายเดนนสิ ร็อดแมน นกั บาสเกต็ บอลชือ่ ดัง เป็นแขกของนายคมิ จอง อึน และภริยาเมื่อปี 2014อย่างไรกต็ าม การแตง่ กายตามแบบตะวันตก และการทเี่ ธอมีอิริยาบถทดี่ ูเรียบง่ายสบาย ๆ กับสามขี ณะออกงานสังคม ทาใหบ้ างคนเปรยี บเทียบว่าเธอมบี ุคลกิ คล้ายนางมิเชล โอบามา ภริยาของอดตี ประธานาธบิ ดบี ารัคโอบามา ของสหรฐั ฯทา่ ทที ่ดี เู ปน็ กนั เองของคูส่ ามภี รรยาหมายเลขหนึ่งของเกาหลเี หนือ ทาให้บางคนแอบหวงั ว่านายคมิ จอง อนึอาจมีแนวโน้มเป็นผ้นู าสายกลางมากกวา่ จะเดนิ ตามนโยบายสายแขง็ กรา้ วแต่เป็นทน่ี ่าเสียดายว่าสภาพการณร์ ะหวา่ งประเทศในปัจจบุ ันซง่ึ รอ้ นระอุไปดว้ ยการทดสอบขปี นาวธุ และการปะทะคารมกบั ชาตมิ หาอานาจบ่อยคร้ัง จะตอ้ งทาให้ท่านผู้นาคมิ จอง อนึ มภี าพลักษณท์ แ่ี สดงออกต่อเวทโี ลกไปในทางทน่ี า่ หวัน่ เกรงมากย่งิ ขนึ้

2.อองซาน ซูจี มุขมนตรแี ห่งรัฐของเมียนมาอองซาน ซจู ี (พมา่ : , เกิด 19 มถิ ุนายน 2488) เปน็ นักการเมอื งชาวพมา่ และประธานพรรคสนั นบิ าตแห่งชาติเพ่ือประชาธปิ ไตย (NLD) ผู้ดารงตาแหน่ง รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรปี ระจาทาเนยี บประธานาธิบดี ในการเลอื กตั้งทัว่ ไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงท้ังประเทศ 59% และทนี่ ง่ั 81% (392 จาก485 ท่ีน่งั ) ในรฐั สภา ทว่า เธอถูกควบคมุ ตวั ในบา้ นกอ่ นการเลือกต้งั เธอยงั อยภู่ ายใต้การควบคมุ ตวั ในบา้ นในประเทศพมา่ เปน็ เวลาเกอื บ 15 จาก 21 ปตี ั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปลอ่ ยตัวครั้งล่าสดุ เมื่อวนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทาใหเ้ ธอเป็นนกั โทษการเมืองท่ขี ึ้นชอื่ ท่ีสดุ คนหนง่ึ ของโลก ซจู ีไดร้ บั รางวลั ราฟโต (Rafto Prize) และรางวลั ซาฮารอฟสาหรบั เสรภี าพทางความคดิ (SakharovPrize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสนั ตภิ าพในปี 2534 ในปี 2535เธอไดร้ ับรางวัลชวาหระลาล เนหร์ ูเพื่อความเข้าใจระหวา่ งประเทศ (Jawaharlal Nehru Award forInternational Understanding) โดยรฐั บาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลวี ารร์ ะหวา่ งประเทศ(International Simón Bolívar Prize) จากรฐั บาลเวเนซเุ อลา ในปี 2555 รฐั บาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพอื่ ประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกติ ติมศกั ด์ิของประเทศ เปน็ คนทีส่ ่ีทไี่ ด้รับเกยี รตินี้ ในปี 2554 เธอได้รบั เหรียญวลั เลนเบิรก์ (Wallenberg Medal) วันท่ี 19 กนั ยายน 2555 อองซาน ซูจไี ดร้ บั เหรียญทองรฐั สภา ซงึ่ รว่ มกับเหรยี ญเสรภี าพประธานาธบิ ดี เป็นเกยี รติยศพลเรือนสงู สดุ ในสหรัฐอเมรกิ า วันท่ี 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพอ่ื ประชาธปิ ไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ในปีตลู ุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซงึ่ เปน็ ตวั แทนของเขตเลอื กตง้ั กอวม์ ู(Kawhmu) พรรคของเธอยังไดท้ ีน่ ั่งวา่ ง 43 จาก 45 ที่นง่ั ในสภาลา่ ง คณะกรรมการการเลอื กตง้ั อยา่ งเปน็ทางการยืนยันผลการเลอื กต้งั ในวนั รงุ่ ข้นึ วนั ท่ี 6 มิถุนายน 2556 ซจู ีประกาศบนเวบ็ ไซต์ของเวลิ ด์อโี คโนมกิ ฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมคั รรับเลอื กตง้ั เปน็ ประธานาธิบดีในการเลอื กต้งั ปี 2558 ทวา่ ซูจีถูกหา้ มมใิ หเ้ ปน็ ประธานาธบิ ดภี ายใต้รัฐธรรมนญูปัจจบุ ัน ซงึ่ มอิ าจแกไ้ ขไดโ้ ดยปราศจากการรบั รองจากสมาชกิ สภานิติบัญญัติทหารอยา่ งน้อยหนึง่ คนในปี 2557 นติ ยสารฟอบส์จัดให้เธอเปน็ หญิงทรงอานาจทสี่ ดุ ในโลกอนั ดับที่ 61

ในการเลือกตั้งทว่ั ไปปี พ.ศ. 2558 พรรค NLD ได้คะแนนเสยี งทง้ั ประเทศ 86% (255 ทีน่ ่ัง ในสภาผู้แทนราษฎรและ 135 ทน่ี ัง่ ในสภาเชือ้ ชาต)ิ ทว่า เธอซงึ่ เป็นประธานพรรค NLD ไม่สามารถดารงตาแหนง่ประธานาธิบดีเนื่องจากมขี ้อหา้ มในรัฐธรรมนูญชวี ิตรักของซจู ี เส้นทางความรักของ ออง ซาน ซจู ี กับ ไมเคลิ อริส เพ่อื นนกั ศึกษาชาวอังกฤษ เกดิ ขนึ้ ขณะทท่ี ัง้ 2คน ศึกษาอย่ทู ม่ี หาวิทยาลยั ออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ โดยตอนนั้น ออง ซาน ซจู ี ยงั เปน็ นกั ศกึ ษาสาขาปรชั ญา การเมอื ง และเศรษฐศาสตร์ ส่วน ไมเคิล อรสิ ศกึ ษาอยู่ในสาขาอารยธรรมธเิ บต จนกระท่ังเม่อื ปี2515 ออง ซาน ซูจี และ ไมเคิล อรสิ ได้เข้าพธิ แี ต่งงานกัน และมบี ุตรชายดว้ ยกนั 2 คน คอื อเล็กซานเดอร์และคิม ปจั จุบนั ไมเคิล อริส สามีของ ออง ซาน ซจู ี เสียชีวิตแลว้ เมอื่ ปี 2542 ด้วยโรคมะเร็ง

ออง ซาน ซจู ี เรมิ่ กา้ วเข้าสเู่ สน้ ทางการเมืองในปี 2531 เมื่อ ออง ซาน ซูจี เดนิ ทางกลับบา้ นเกิดที่กรงุ ย่างกุ้ง ประเทศเมยี นมา เพอื่ มาดูแลนางดอว์ขิน่ จี มารดาซ่ึงกาลังปว่ ยหนกั โดยขณะนน้ั กาลังเกิดความวนุ่ วายในประเทศเมยี นมา ทง้ั ปญั หาเศรษฐกิจตกตา่ และปญั หาการเมอื ง ทาให้ประชาชนออกมากดดัน จนนายพล เนวิน ตอ้ งลาออกจากตาแหน่งประธานพรรคโครงการสงั คมนิยมพมา่ (The Burma SocialistProgramme Party-BSPP) ทยี่ ดึ อานาจการปกครอง ประเทศเมียนมา มานานถงึ 26 ปี หลงั จากนนั้ ไมน่ าน ก็ไดเ้ กดิ การนองเลือดในวนั ที่ 8 สงิ หาคม 2531 (ค.ศ. 1988) หรือทีร่ จู้ กั กนั ในชือ่ เหตกุ ารณ์ 8888 ซง่ึ ประชาชนนับล้านรวมตวั กนั ในกรงุ ยา่ งกงุ้ เพ่ือเรยี กรอ้ งประชาธิปไตย จนทาใหผ้ นู้ าทหารสงั่ ปราบปรามประชาชน ผู้ประทว้ งราว 3,000 คนเสียชีวิต จากนน้ั ก็เกิดเหตกุ ารณป์ ราบปรามประชาชน ในวันที่ 15 สงิ หาคม 2531 ออง ซาน ซูจี ก็ไดเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมทางการเมืองเปน็ คร้งั แรก โดยส่งหนงั สอื เปดิ ผนกึ ถึงรฐั บาลเรียกรอ้ งใหม้ ีการจดั ตั้งคณะกรรมการอิสระเพอื่ เตรียมการเลือกต้งั ทว่ั ไป และในวนั ท่ี 24 กนั ยายน 2531 ออง ซาน ซจู ี ไดร้ ว่ มจดั ต้ัง \"พรรคสันนบิ าตแหง่ ชาติเพ่ือประชาธิปไตย\" หรอื เอน็ แอลดี (National League for Democracy: NLD) ขน้ึ มา และได้รับเลือกให้ดารงตาแหน่งเลขาธกิ ารพรรค ตอ่ จากนั้น ออง ซาน ซูจี ไดเ้ ดินหนา้ ปราศัยทางการเมืองเร่ือยมาจนกระทัง่ เมอื่ วนั ท่ี 5 เมษายน 2532 ไดเ้ กิดเหตกุ ารณท์ ด่ี นิ ดอนสามเหลีย่ มอิรวดี ซงึ่ ในตอนนั้น ออง ซาน ซูจีได้เดินเข้าหาเหล่าทหารท่ถี อื ปนื ไรเฟิลเลง็ เขา้ หาตนเอง เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 รฐั บาลทหารเมยี นมา ไดใ้ ช้อานาจตามกฎอัยการศกึ สง่ั กักบรเิ วณออง ซาน ซูจี ใหอ้ ยูแ่ ต่ในบา้ นพักเปน็ ครัง้ แรก เปน็ เวลา 3 ปี โดยไมม่ ีข้อหา ทั้งยังได้จับกมุ สมาชกิ พรรค NLDจานวนมากไปคมุ ขงั ไวท้ ี่เรอื นจาอินเสง่ โดย ออง ซาน ซูจี ไดอ้ ดอาหารเพอื่ ประทว้ ง และเรียกรอ้ งใหน้ าตนเองไปขังรวมกบั สมาชกิ พรรคคนอน่ื ๆ ตอ่ มา ออง ซาน ซูจี ยุติการอดอาหารประทว้ งเมือ่ รฐั บาลเผดจ็ การทหารให้สญั ญาว่า จะปฏบิ ัตติ อ่ สมาชกิ พรรค NLD ซ่ึงถกู คมุ ขังไว้ในเรือนจาเปน็ อย่างดี

หลงั จากที่ ออง ซาน ซจู ี ถกู กกั บรเิ วณอยภู่ ายในบ้านพัก ปรากฏว่า รฐั บาลทหารเมยี นมาในขณะน้นัไดจ้ ดั ใหม้ ีการเลือกตงั้ ขึ้นในปี 2533 ปรากฏวา่ พรรค NLD ของ ออง ซาน ซูจี ไดร้ ับชยั ชนะอยา่ งท่วมท้นในการเลือกตง้ั โดยไดท้ ่นี งั่ ในสภารอ้ ยละ 82 แตร่ ฐั บาลทหารเมียนมาไม่ยอมรับผลการเลอื กตงั้ ทเี่ กดิ ข้ึน ทวา่ ได้มกี ารย่นื ข้อเสนอให้ ออง ซาน ซูจี ยตุ ิบทบาททางการเมอื ง และเดนิ ทางออกนอกประเทศ เพือ่ ไปใชช้ ีวิตกบัครอบครัวทีป่ ระเทศอังกฤษ ซ่งึ ออง ซาน ซูจี ได้ปฏิเสธขอ้ เสนอดังกล่าว เปน็ เหตใุ ห้รฐั บาลทหารเมยี นมามีคาสั่งยดื เวลาการกกั บริเวณ ออง ซาน ซจู ี ออกไปอกี

จนกระทั่ง 6 ปตี ่อมา ออง ซาน ซจู ี ได้รับอสิ รภาพ แต่เพยี งไมน่ านเธอก็ถูกรัฐบาลทหารเมียนมาส่งั กกับรเิ วณอีกคร้ัง โดยปราศจากความผดิ ซ่งึ การสัง่ กกั บริเวณในครง้ั นกี้ ินเวลา 18 เดอื น จน ออง ซาน ซจู ี ไดร้ ับอิสรภาพในเดือนพฤษภาคม 2545 ต่อมาเมื่อวนั ที่ 30 พฤษภาคม 2546 ออง ซาน ซูจี ได้เดินทางไปพบปะประชาชน ซงึ่ ระหวา่ งนน้ั ได้เกดิ การปะทะกนั ระหวา่ งกลุ่มผ้สู นับสนนุ และผู้ตอ่ ต้าน ทาใหร้ ัฐบาลทหารเมยี นมานาเหตุผลดังกล่าวมาสง่ั กักบรเิ วณ ออง ซาน ซูจี อีกคร้ัง ต่อมาเมื่อวนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 รฐั บาลทหารเมยี นมา ได้มีคาสงั่ ปลอ่ ยตวั ออง ซาน ซจู ี ออกจากบา้ นพัก หลังถูกนานาชาติกดดันอย่างหนัก และในวนั ท่ี 23 พฤศจิกายน ปเี ดียวกัน ออง ซาน ซูจี ก็ได้พบกบั คิม บตุ รชายคนเล็กเปน็ คร้ังแรก โดยออง ซาน ซูจี ไดร้ อรบั บตุ รชายท่สี นามบนิ มิงกาลาดง ถือเป็นครั้งแรกท่ี ออง ซาน ซจู ี ไดอ้ ยรู่ ่วมกับครอบครวั แม้จะไมส่ มบูรณก์ ต็ าม ดว้ ยความมุ่งม่นั ทจ่ี ะต่อสู้เพื่อเรยี กร้องประชาธิปไตยภายในประเทศเมียนมา ทาให้ในวันท่ี 14 ตลุ าคม 2534 คณะกรรมการรางวัลโนเบล ประกาศมอบรางวลั โนเบล สาขาสนั ติภาพ ใหแ้ ก่ ออง ซาน ซูจี

(สตรีคนแรกของเอเชยี ท่ไี ดร้ บั รางวลั โนเบล) โดยในวันท่ี 14 ตุลาคม 2534 ซง่ึ มพี ิธมี อบรางวลั โนเบล สาขา สนั ติภาพ ท่ีศาลาว่าการกรงุ ออสโล ประเทศนอรเ์ วย์นน้ั ออง ซาน ซจู ี ไมม่ ีโอกาสเดนิ ทางไปรบั รางวัลด้วย ตัวเอง เนื่องจากยังถูกกกั บริเวณอยูภ่ ายในบา้ นพกั ทปี่ ระเทศเมยี นมา ซ่งึ ในวันดังกล่าว ไมเคิล อรสิ สามขี องออง ซาน ซจู ี และบตุ รชายคอื อเลก็ ซานเดอร์ และคมิ ได้ เดินทางไปรบั รางวลั โนเบลแทน สว่ น ออง ซาน ซูจี ทาได้แตเ่ พยี งติดตามขา่ วการประกาศรางวลั จากการฟงั วทิ ยุอยทู่ บี่ า้ นพกั จนกระทง่ั วนั ที่ 16 มถิ ุนายน 2555 ออง ซาน ซูจี จึงมโี อกาสเดนิ ทางไปท่กี รงุ ออสโล เพอื่ กลา่ ว สนุ ทรพจน์ในโอกาสไดร้ บั รางวลั โนเบลวา่ \"ตนทราบข่าวรางวลั น้ที างวิทยุ ขณะถูกคมุ ขงั ในบ้านพัก ไม่เคย คาดคิดวา่ จะไดร้ ับรางวลั ใด ๆ เพียงแต่รางวัลท่ีจะได้เหน็ บา้ นเมืองทเ่ี สรี ปลอดภัย และยุติธรรม ตนขอบคณุสาหรบั รางวัลน้ี ที่แสดงให้เหน็ ถึงความใส่ใจ ทเี่ กือ้ หนุนการแสวงหาสนั ตภิ าพของพมา่ ซ่ึงเปน็ สงิ่ ท่ีชาวโลกตา่ งแสวงหาเช่นกัน จากสภาพทตี่ ้องถกู คมุ ขังโดดเด่ียวในบา้ นของตวั เอง รางวลั โนเบลนี้ ได้สรา้ งความรูส้ กึ วา่ ตนมีความเชือ่ มโยงกับโลกภายนอก เป็นสว่ นหน่งึ ของโลกนอ้ี ยู่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของมนุษยชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บง่ บอกวา่ โลกนีไ้ มล่ ืมพม่า\" เม่อื วนั ที่ 5 ตลุ าคม 2545 องค์การการศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ไดป้ ระกาศให้ ออง ซาน ซจู ี ผ้นู าพรรคสนั นิบาตแหง่ ชาตเิ พื่อประชาธปิ ไตย หรอื พรรค NLD ท่ี ตอ่ สู้โดยสนั ตวิ ิธีเพอื่ เรียกรอ้ งการปกครองระบอบประชาธิปไตยในบ้านเกดิ ของตน เปน็ \"สัญลักษณแ์ หง่ การ ตอ่ ต้านการกดขีโ่ ดยสันติ\"3.โรดริโก ดแู ตร์เต ประธานาธบิ ดฟี ลิ ิปปนิ ส์

โรดรีโก โรอา ดูแตร์เต (องั กฤษ: Rodrigo Roa Duterte) มักถูกเรยี กดว้ ยชอ่ื เล่นว่า ดกี ง เปน็นกั การเมอื งและทนายความชาวฟลิ ปิ ปนิ ส์ ปจั จบุ ันดารงตาแหนง่ เป็นประธานาธิบดฟี ลิ ิปปินส์คนที่ 16 เขาถือเปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรกทม่ี าจากเกาะมนิ ดาเนา ซ่งึ ทน่ี ่ันเขาเคยดารงตาแหน่งเปน็ นายกเทศมนตรเี มืองดาเวาถงึ กวา่ 22 ปี ในขณะท่เี ปน็ นายกเทศมนตรีเมอื งดาเวาน้ัน เขาใช้นโยบายขน้ั รุนแรงในการปราบปรามอาชญากรจนเมอื งดาเวากลายเปน็ เมืองทม่ี อี ัตราอาชญากรรมตา่ ทส่ี ดุ ในฟิลปิ ปนิ ส์ และตัวเขาไดร้ บั ฉายาว่า \"ผลู้ งทณั ฑ\"์แต่กถ็ กู วิจารณ์วา่ นโยบายของเขาทาใหม้ ผี เู้ สยี ชีวิตมากกว่าพันคน ในพ.ศ. 2559 เขาลงสมัครรบั เลือกตง้ั เปน็ ประธานาธิบดี และไดร้ บั ชยั ชนะดว้ ยคะแนนเสยี ง 13.2ล้านเสียงหรือคิดเป็น 38.72% ของผ้มู าใช้สิทธิภายหลงั ไดร้ บั เลือกตง้ั เขาประกาศนโยบายที่จะใชน้ โยบายข้นัรุนแรงในการกวาดล้างอาชญากรรมให้หมดไปจากฟิลปิ ปนิ ส์ภายใน 6 เดอื น และต้งั เป้าหมายจะสงั หารอาชญากรในฟลิ ิปปินส์ใหถ้ งึ หน่งึ แสนคนนอกจากน้ีดูแตรเ์ ตยงั ยา้ ยร่างของประธานาธบิ ดีจอมเผดจ็ การ เฟอร์ดนิ านด์มาร์กอส ไปฝงั ไว้ทสี่ สุ านวรี ชนในกรุงมะนลิ าหลังจากข้นึ รับตาแหน่งประธานาธบิ ดี เขาก็ประกาศทาสงครามยาเสพตดิ โดยให้อานาจเจา้ หน้าท่ีตารวจสามารถสงั หารผ้ตู อ้ งสงสยั ในคดียาเสพตดิ ไดท้ นั ทโี ดยไมม่ ีความผดิ เพยี งสองเดือนหลงั เขาเป็นประธานาธิบดีมีผ้ตู ้องสงสัยคดยี าเสพตดิ ถูกวิสามญั ฆาตกรรมกว่าพนั คน และมีการฆา่ ตดั ตอนกันเองกวา่ สองพนั คน[8] แมจ้ ะถกู โจมตอี ย่างรนุ แรงจากองคก์ รพิทกั ษส์ ทิ ธมิ นุษยชน แต่เขากเ็ พกิ เฉยตอ่ คาโจมตดี ังกล่าวและยังคงดาเนินนโยบายสงค์เม่อื จบการศึกษา เขามาทางานท่ีสานกั งานอยั การเมอื งดาเวา ในเกาะมินดาเนา ตอ่ มาได้ลงสมัครเปน็ นายกเทศมนตรขี องเมอื งและได้รับเลอื กเป็นครั้งแรกเม่อื พ.ศ.2531 ในขณะนน้ั เมืองดาเวาได้ช่อื ว่าเป็นเมืองที่มีอาชญากรรมมาก ดแู ตร์เตเร่มิ ใช้นโยบายปราบอาชญากรรม โดยการประกาศมาตรการห้ามออกนอกบา้ นและออกกฎหมายควบคุมเวลาการขายสุรา ให้รา้ นคา้ และร้านอาหารต้องมีกลอ้ งวงจรปิดตามทางเขา้ ออก เพิม่ รถและอุปกรณใ์ ห้ฝา่ ยตารวจ และทมี่ ากกวา่ น้นั เขาสนบั สนนุ ทางออ้ มให้มีการตง้ั “หนว่ ยลา่สังหาร” โดยใช้รปู แบบนอกกฎหมายหรือ”ศาลเตีย้ ”ในการปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด เพราะเห็นวา่ น่เี ปน็ วิธีการอันไดผ้ ลนโยบายลกั ษณะนี้ ทาใหเ้ ขาถูกวจิ ารณ์อยา่ งมาก แตก่ ท็ าใหเ้ ขาสามารถสรา้ งฐานความนิยมไดอ้ ยา่ งมั่นคง ทาใหเ้ ขาชนะเลือกตงั้ นายกเทศมนตรอี กี 6 ครง้ั และมบี ทบาทครอบครองการบรหิ ารเมอื งดาเวาตลอดมา เพราะในวาระทีเ่ ขาติดเงื่อนไขทางกฎหมายลงสมัครตอ่ เนอื่ งไม่ได้ เขาก็ใหซ้ ารา ดแู ตรเ์ ต ลกู สาวลงสมัครแทน และเขาก็ไปสมคั รเป็น ส.ส. องคก์ ารสทิ ธมิ นษุ ยชนประมาณวา่ ตลอดเวลา 22 ปีท่ดี าเวา เขาสนับสนุนวิธีนอกกฎหมายในการสังหารผู้ต้องสงสัยไปอยา่ งน้อย 1400 คน และทาใหเ้ ขาได้ฉายาวา่ “มือเพชฌฆาต” แต่ผทู้ ีถ่ กูสังหารจานวนมากเป็นเพยี งผตู้ ้องหาท่ไี ม่มีหลกั ฐานชดั เจน หรือบ้างกเ็ ป็นเพยี งพวกลกั เล็กขโมยนอ้ ย คนเสพยาหรอื แม้กระทง่ั เดก็ จรจัดอยา่ งไรกต็ าม ดแู ตรเ์ ตอา้ งวา่ วิธีการของเขาถือว่าได้ผล ทาใหด้ าวาหลายเปน็ เมอื งปลอดอาชญากรรม และกลายเป็นเมืองสะอาด และชือ่ เสยี งของเขา ทาให้เขาเคยไดร้ ับการทาบทามใหด้ ารงตาแหนง่ รฐั มนตรมี หาดไทยในรัฐบาลก่อนหน้านถี้ งึ 4 ครัง้ แต่เขาปฏิเสธ ในที่สุด เมอื่ พ.ศ.2558 ทผี่ า่ นมา เขากต็ ัดสนิ ใจลงสมคั รแขง่ ขนัชงิ ตาแหน่งประธานาธิบดดี ว้ ยตนเองตัง้ แต่แรกของการรณรงค์ ดแู ตร์เตก็เริม่ ถูกโจมตใี นเร่อื งการพดู จาท่ีสะทอ้ นทัศนะแบบดบิ เถือ่ น เช่น การหาเสยี งว่าจะฆา่ พวกอาชญากรให้หมด เรยี กรอ้ งให้ร้อื ฟืน้ โทษประหารชวี ิตจนถึงข้นั ”แขวนคอ”ในฟิลปิ ปินส์ และ

ยังไปกลา่ ว”โจ๊กหยาบ”ในเรอื่ งแจคการนี ฮามลิ มสิ ชนั นารีออสเตรเลียท่ีถกู รมุ ขม่ ขนื แล้วสังหารตงั้ แต่เม่ือ พ.ศ.2532 อย่างไรกต็ าม เขากลบั ไดร้ บั ความนิยมจากประชาชนท่วั ไปอยา่ งมาก ในการลงคะแนนเสยี งเลือกต้ังวันท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ดแู ตร์เตไดค้ ะแนนเสยี งเปน็ อันดับท่หี นึง่ ด้วยคะแนน 39.01 % ขณะที่มาร์โรฮัส ท่ีมีคะแนนอันดับท่สี องไดเ้ พียง 23.5 % ทาให้เขาได้รับตาแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 16 ของฟิลิปปนิ ส์อยา่ งเต็มภาคภูมิ และกลายเปน็ ประธานาธบิ ดีคนแรกทม่ี าจากเกาะมนิ ดาเนาอกี ดว้ ยหลงั จากรับตาแหนง่ ประธานาธบิ ดี ดแู ตรเ์ ตก็ยงั ใชม้ าตรการเด็ดขาดกับอาชญากรและยาเสพติดด้วยวธิ กี ารนอกกฎหมายต่อไปในระดบั ชาติ โดยอธิบายวา่ ตอ้ งลงมอื ทา “สงครามขจัดยาเสพตดิ ” มิฉะนนั้ ฟลิ ปิ ปินส์จะกลายเป็น “รัฐยาเสพติด” วิธีการคือ การอนุโลมใหเ้ จ้าหน้าทรี่ ัฐใชค้ วามรุนแรงกบั ผูต้ อ้ งหายาเสพติดและอาชญากรรมได้ มรี ายงานว่าในรอบปที ผ่ี ่านมา มีผตู้ อ้ งสงสัยถูกสังหารโดยไม่ผา่ นกระบวนการยตุ ิธรรมไปแลว้ไม่ต่ากว่า 3,000 คน กรณีนี้ ทาใหเ้ ขาถกู โจมตีอย่างหนักในเร่ืองของการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน เขาก็ตอบโต้องคก์ รสิทธมิ นษุ ยชนว่า ทาไมถงึ เรียกพวกอาชญากรว่า “มนษุ ยชน” คาน้มี ีการนยิ ามอยา่ งไรสง่ิ ท่ดี ูแตรเ์ ตกลา้ ทา ทั้งทีถ่ กู ตอ่ ต้านคัดค้านอย่างมาก คอื การอนุญาตใหน้ าศพของอดตี ประธานาธบิ ดีเฟอร์ดนิ ันด์ มารก์ อส มาฝงั ทส่ี ุสานวรี บุรุษแหง่ ชาตไิ ด้ โดยอธิบายวา่ มารก์ อสก็เปน็ อดีตประธานาธิบดแี ละเคยเป็นทหารรบเพ่ือชาติ โดยมองข้ามเร่อื งการปราบปรามประชาชน การประกาศภาวะฉุกเฉิน และการทจุ ริตสมัยมารก์ อส และตอ่ กรณีทมี่ นี กั ขา่ วถกู สังหารเป็นจานวนมากในฟิลปิ ปินส์ ดแู ตรเ์ ตกลับกลา่ ววา่ “ถ้าไม่ได้ทาอะไรผดิ ก็คงไม่มีใครมาฆา่ ” และวา่ การเปน็ ส่อื มวลชนไม่ไดร้ บั สิทธิพิเศษทจ่ี ะไมถ่ ูกฆ่า ถ้าคณุ เป็น”พวกเวรตะไล”เขาจงึ ถูกส่อื มวลชนโจมตอี ยา่ งหนักดูแตรเ์ ตประกาศวา่ รฐั บาลของเขาจะใชน้ โยบายตา่ งประเทศแบบอิสระ จะไม่ยอมใหต้ า่ งชาตเิ ขา้ มาแทรกแซงซง่ึ แสดงนัยยะในการต่อตา้ นอเมริกาโดยตรง เขากลา่ วว่า “เขาไมใ่ ชแ่ ฟนอเมรกิ า” และเรียกร้องให้สหรฐั ถอนทหารจากมินดาเนา และเมื่อประธานาธิบดีบารกั โอบามาวิจารณน์ โยบายสทิ ธิมนุษยชนในฟลิ ปิ ปินส์ ดูแตร์เตตอบโต้ว่า ฟลิ ิปปนิ สไ์ ม่ใชอ้ าณานิคม และเขาจะรับฟังเฉพาะประชาชนฟลิ ิปปนิ ส์ จากนนั้ กด็ ่าโอบามาด้วยคาหยาบ ซงึ่ ถอื ว่าเปน็ การละเมดิ มารยาททางการทูตอยา่ งมากวนั ท่ี 5 ตลุ าคม ทีผ่ า่ นมา ดูแตรแ์ สดงทา่ ทขี ัดแย้งกับสหรัฐฯชดั เจน โดยแถลงวา่ อเมรกิ ากาลงั จะหยุดขายอาวุธให้ฟิลิปปินส์ และถ้าเปน็ เชน่ นี้ เขาจะซ้อื อาวุธจากจีนและรัสเซยี แทน กรณีนที้ าให้ เดลฟนิ ลอเรนซานารฐั มนตรีกลาโหมฟิลปิ ปนิ สเ์ อง ตอ้ งรบี ออกมากล่าวแกว้ า่ ประธานาธบิ ดีไดร้ ับข้อมูลคลาดเคลื่อนและฟิลปิ ปนิ ส์ก็จะรักษาความเป็นพันธมิตรกบั สหรัฐฯตอ่ ไป แต่ดูแตร์เตกไ็ ม่หยุด เพราะในการเดนิ ทางไปเยอื นจนี ในวนั ท่ี 20ตุลาคม เขาได้กลา่ วว่า ฟลิ ปิ ปินสจ์ ะ”แยกทาง”กบั อเมริกา และกระชบั ความสัมพนั ธก์ บั จนี ใหแ้ น่นแฟ้นมากข้ึนวาระประธานาธิบดขี องดูแตร์เตยังอย่อู กี 5 ปี คงตอ้ งตดิ ตามกันตอ่ ไปวา่ ผนู้ า”แหกคอก”ของฟลิ ิปปนิ สจ์ ะดาเนินการอย่างไรตอ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook