Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว

Description: กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว

Keywords: แพ่ง,ครอบครัว

Search

Read the Text Version

กฎหมายแพ่ง เกี่ยวกับ \"ครอบครัว\"

กฎหมายแพ่ง คือ กฎหมายเอกชนที่วางระเบียบความ เกี่ยวพันระหว่างบุคคล เกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่นกฎหมายเกี่ยวกับ ทรัพย์ นิติกรรม สัญญาหนี้ ครอบครัว มรดก เป็นต้น

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับ คือ กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกใน \"ครอบครัว\" ครอบครัว หรือเครือญาติ

เป็นสัญญาอย่างหนึ่งที่ทั้ง 2 ฝ่าย ตกลงกัน 1. การหมั้น ว่า ชายและหญิงคู่หมั้น จะทำการสมรสกัน ในอนาคต แต่ไม่สามารถเอาสัญญาหมั้นมา ฟ้องร้องบังคับคดีให้อีกฝ่ายหนึ่งทำการ สมรสได้ แต่อาจฟ้องเรียกค่าทดแทนความ เสียหายได้

ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ เงื่อนไข การหมั้น 1 และต้องได้รับความยินยอมของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ถ้าฝ่ายชายและฝ่ายหญิง เป็นผู้บรรลุ 2 นิติภาวะ อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ สามารถ ทำการหมั้นได้ด้วยตนเอง 4 การหมั้นต้องมีของหมั้น และของหมั้นนั้น ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ฝ่ายหญิง

1 ไม่สามารถหมั้นกับบุคคลผู้เป็นบุพการีได้ \"ข้อห้าม\" ไม่ให้ทำการหมั้น ไม่สามารถหมั้นกับคนวิกลจริต หรือคนที่ 2 ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ 3 ไม่สามารถหมั้นกับบุคคลที่มีคู่สมรสอยู่ แล้ว บุคคลที่เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4 หรือร่วมแต่มารดา หรือบิดาเพียงอย่าง เดียว ไม่สามารถหมั้นกันได้

ของหมั้น สินสอด ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายได้ให้ไว้แก่ ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดา ฝ่ายหญิงในขณะทำการหมั้น มารดา หรือผู้ปกครองของฝ่าย เพื่อเป็นหลักฐานการหมั้นและ หญิง เพื่อตอบแทนการที่ ประกันว่าจะสมรสกับฝ่ายหญิง ยินยอมให้ฝ่ายหญิงสมรสด้วย ถ

การผิดสัญญาหมั้น หมายถึง การที่คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งปฏิเสธไม่ยอม ทำการสมรส หากไม่มีเหตุผลที่อ้างทางกฎหมายได้ จะมีผลให้อีกฝ่ายหนึ่งสามารถเรียกค่าทดแทนได้ ถ้าฝ่ายหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายชาย มีสิทธิเรียกของหมั้นคืนได้

2. การสมรส หมายถึง การที่ชายและหญิงสมัครใจเข้ามา อยู่กินกันฉันสามีภริยาชั่วชีวิตโดยจะไม่ เกี่ยวข้องทางชู้สาวกับบุคคลอื่นใดอีก ซึ่งตามกฏหมายปัจจุบันนั้น กำหนดว่า การสมรสต้องมีการจดทะเบียนสมรส จึงจะมีผลตามกฏหมาย

1 คู่สมรสทั้งสอง มีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ เงื่อน ไข การสมรส 2 ต้องเป็นการสมรสโดยสมัครใจของทั้ง 2 ฝ่ายหากไม่ สมัครใจในการสมรส การสมรสนั้นจะเป็นโมฆะ 3 หญิงที่สามีเสียชีวิตจะทำการสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อ สิ้นสุดการ สมรสไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อ ชายหญิงยินยอมเป็นสามีภรรยากัน 4 และต้องแสดงการยินยอมนั้นให้เปิดเผยต่อหน้านายทะเบียน 5 ผู้เยาว์จะทำการสมรสได้ ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากบิดา มารดาหรือผู้ปกครองหากฝ่าฝืนการสมรสนั้นตกเป็นโมฆียะ

\"ข้อห้าม\" 1 ชายหรือหญิงขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่แล้ว ไม่ให้ท ำการสมรส ชายหรือหญิงเป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็น 2 บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ชายหญิงซึ่งเป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรง 3 ขึ้นไปหรือลงมา หรือเป็นพี่น้องร่วมบิดา มารดา 4 ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะ สมรสกันไม่ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างคู่สมรส หากสามีข่มขืนกระทำชำเราภรรยา ภรรยาจะฟ้องคดีความผิด ฐานข่มขืนไม่ได้ การที่ภรรยาปฏิเสธไม่ยอมให้สามีร่วมประเวณีด้วย อาจเป็นการ กระทำอันเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภรรยา เป็นเหตุให้สามีฟ้อง หย่าได้ ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยอมอยู่กินด้วยกันฉันสามีภรรยา จงใจละทิ้งอีกฝ่ายหนึ่งไป เกิน 1 ปี เป็นเหตุหย่าได้

3. คือ การรับรองบุตรของตนเองให้เป็นบุตรที่ การรับรองบุตร ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งการจดทะเบียนรับรอง บุตรจะเกิดขึ้นเมื่อบิดามารดาไม่ได้จดทะเบียน สมรสกัน จึงถือว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ของมารดาเพียงฝ่ายเดียว แต่บิดาจะไม่มีสิทธิ และหน้าที่ต่อกัน บิดาจึงต้องขอจดทะเบียนว่า เป็นบุตร เพื่อให้เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย

สามารถทำได้โดยให้บิดาเป็นผู้ยื่นคำร้อง ณ สำนัก การจดทะเบียน ทะเบียนอำเภอ กิ่งอำเภอหรือสำนักงานเขต แห่งใด รับรองบุตร ก็ได้ โดยนำหลักฐานไปด้วย ได้แก่ 2 สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน ของบิดา มารดา และ บุตร 3 บัตรประจำตัวประชาชน ของบิดา มารดา และสูติบัตรของบุตร 4 พยานบุคคลจำนวน 2 คน

หมายเหตุ การจดทะเบียนรับรองบุตรต้องได้รับความยินยอมทั้งจากมารดาและบุตร และ แม้บุตรจะมีอายุครบ 15 ปี ก็สามารถให้ความยินยอมได้หากรู้และเข้าใจถึงการ ให้ความยินยอมหรือคัดค้านว่า ผู้ร้องเป็นบิดาของตนได้ หากถ้าบุตรหรือมารดาไม่ให้ความยินยอมหรือไม่อาจให้ความยินยอมได้ เช่น เด็กเป็นผู้เยาว์ไร้เดียงสา มารดาเด็กถึงแก่กรรม การทะเบียนรับรองบุตรต้องมี คำพิพากษาของศาล

4. การรับบุตร คือ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ไปรับ บุญธรรม บุคคลหนึ่งมาอุปการะเลี้ยงดูเหมือน บุตรของตนเอง โดยบุคคลนั้นไม่ใช่ บุตรโดยกำเนิดของตน

การจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร ผู้รับบุตรบุญธรรม มีอำนาจปกครอง บุญธรรม กฎหมายจะให้ความคุ้มครอง ให้ความอุปการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม สิทธิเด็กให้มีฐานะอย่างเดียวกับบุตรที่ และ ถือว่าบุตรบุญธรรมเป็นผู้สืบ ชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตร สันดานของผู้รับบุตรบุญธรรมเหมือน บุญธรรมทันที นับแต่วันที่จดทะเบียน กับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย บุตรบุญธรรมยังไม่เสียสิทธิที่พึงมี ตามกฎหมายในครอบครัวเดิม แต่พ่อแม่โดยกำเนิดจะหมดอำนาจ ปกครองนับแต่วันจดทะเบียน

คุณสมบัติทาง 1 2 สังคมของผู้ขอรับ ต้องมีวุฒิภาวะเหมาะ ต้องมีเวลาให้กับเด็กที่จะ เด็กเป็นบุตร สมที่จะอุปการะเลี้ยงดู รับเป็นบุตรบุญธรรม ให้ บุญธรรม อบรมสั่งสอนให้บุตร ความสำคัญ และเอาใจ บุญธรรมประพฤติตน ใส่เด็กอย่างใกล้ชิด เป็นคนดี 3 4 5 6 ต้องมีเหตุผลในการขอรับ ไม่เคยมีประวัติกระทำ เป็นครอบครัวที่ มีฐานะการครองชีพที่ เด็กเป็นบุตรบุญธรรมที่ ความผิดตามกฎหมาย สมบูรณ์ อบอุ่น มีความ มั่นคง ไม่มีปัญหา เหมาะสม จริงใจ และเปิด สัมพันธ์ในครอบครัวดี เรื่องค่าใช้จ่ายการ หรือมีพฤติกรรม เผย ก้าวร้าวรุนแรง เลี้ยงดูหรือสนับสนุน การศึกษาของเด็ก

คุณสมบัติทางกฎหมายของผู้ที่จะรับบุตรบุญธรรม และผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และต้องมีอายุแก่กว่าผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี ผู้จะรับบุตรบุญธรรม หรือผู้จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสอยู่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน ผู้เป็นบุตรบุญธรรมที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี ต้องให้ความยินยอมด้วยตนเอง ผู้เป็นบุตรบุญธรรมที่เป็นผู้เยาว์ ต้องได้รับความยินยอมจากบิดาและมารดา หรือผู้ปกครอง ผู้เยาว์ที่เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลใดอยู่ จะเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไม่ได้

อ้างอิง pincha danudom. (2556). กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว. จาก https://bit.ly/3escmgW ทนายนิธิพล สำนักงานกฎหมายนิธิลอว์แอนด์วิน. (2564). คดีผิดสัญญาหมั้น. จาก https://www.nitilawandwinner.com/content/3525/ บริษัทธรรมนิติ. (2564). กฎหมายครอบครัว การหมั้น การสมรส. จาก https://www.dharmniti.co.th/engagement-rule-family/ ศูนย์ตอบปัญหางานทะเบียนและบัตร1548. (2564). การจดทะเบียนรับรองบุตร. จาก https://www.bora.dopa.go.th/CallCenter1548/index.php/menu-general/12- service-handbook/general/42-son-of-certified

อ้างอิง NATTAPAT YODNIN. (2564). จดทะเบียนรับรองบุตร. จาก https://nattapatfirm.com/กฎหมาย/จดทะเบียนรับรองบุตร สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน. (2564). การรับรองบุตร. จาก http://thai.thaiembassy.de/child-claim นางสาวอวิการัตน์ นิยมไทย. (2554). การรับบุตรบุญธรรม. จาก http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Im age/b/reform/reform18.pdf นายดนตร์ เกษมรัชดารักษ์. การรับบุตรบุญธรรม. จาก https://www.lawgeneration.net/การรับบุตรบุญธรรม/ อธิวัฒน์ ช่อผูก. กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว. จาก http ://athiwatlawyer.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook