Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tanad_62_19ebook

tanad_62_19ebook

Published by student9539, 2021-02-04 08:58:20

Description: tanad_62_19ebook

Search

Read the Text Version

นักดนตรคี ลาสสคิ 1.Chopin ผปู ้ ระพันธเ์ พลงและนักเปียโนเลอื ดผสมฝร่งั เศส - โปแลนด์ เกดิ ทห่ี ม่บู า้ นเซลาโซวา โวลา (Zelazowa Wola) ใกล ้ กรุงวอรซ์ อว์ (Warsaw) ประเทศโปแลนด์ (Poland) เมอื่ วนั ที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1810 โชแปงเกดิ ในประเทศโปแลนด์ แต่ใชช้ วี ติ ตัง้ แตว่ ยั หน่มุ อยูใ่ นปารสิ จนถงึ แกก่ รรม วันท่ี 17 ตลุ าคม ค.ศ. 1849 โชแปงมพี นี่ อ้ งผหู ้ ญงิ อกี 3 คน สว่ นเขาเป็ นลกู ผชู ้ ายคน เดยี ว พอ่ แมจ่ งึ รกั มาก โชแปงเป็ นคนทมี่ ี รูปร่างบอบบางจติ ใจออ่ นไหวงา่ ยมคี วามรกั ชาตมิ าก ตงั้ แตเ่ ดก็ ๆ จนเป็ นแรงบันดาลใจใหเ้ ขาประพันธด์ นตรสี าหรับเปียโนไวม้ ากมาย โชแปงเรม่ิ เรยี น เปียโนเมอ่ื อายุ 7 ขวบกับครดู นตรชี อ่ื อดาลแบต์ ซวิ นี (Adalbert Zywny) ชาวโบฮเี มยี เนื่องจากครูคนน้ชี อบดนตรขี องบาค โมสารท์ และเบโธเฟน เป็ นพเิ ศษจงึ ถา่ ยทอดความคดิ ของ เขาใหโ้ ชแปง ตอ่ จากนัน้ โชแปงไดเ้ รยี นกบั ครูคนใหมช่ อ่ื โยเซฟ เอล็ สเนอร์ (Joseph Elsner) จนกระท่ังอายุได ้ 16 ปีกเ็ ขา้ สถาบันดนตรแี ห่งวอรซ์ อว์ ซง่ึ เอ็ลสเนอรด์ ารงตาแหนง่ ผจู ้ ัดการ ณ จดุ นี้เองทท่ี า ใหโ้ ชแปงเรยี นดนตรอี ย่างเต็มที่ (ไพบูลย์ กจิ สวสั ด,์ิ 2535 :105) ในสมยั นัน้ เป็ นชว่ งของการ อภวิ ัฒนท์ างศลิ ป์ และศลิ ปินเรมิ่ มคี วามสาคญั ต่อสังคมมากขนึ้ ทงั้ นักดนตรี นักวาดรูป และนัก ประพนั ธ์ สามารถสมาคมกบั ขา้ ราชการหรอื เจา้ นายชัน้ สงู ในฐานะเทา่ เทยี มกนั โชแปงไดร้ ับเชญิ ไปบรรเลงเปียโนเสมอมาจากการบรรเลงน้รี วมทงั้ การสอนดนตรี ทาใหโ้ ชแปงสามารถชว่ ย ตัวเองใหด้ ารงอยไู่ ด ้ 2. chaikovsky ผปู ้ ระพันธเ์ พลงชาวรัสเซยี คนแรกทเ่ี ป็ นทรี่ จู ้ กั ในวงการนานาชาติ เป็ นบุตรคนท่ี 2 ในจานวน 5 คน ของ อลิ ยา เปโตรวชิ ไชคอฟสกี (Ilya Petrovititch Tchaikovsky) และ อเลกซานดรา (Alexandra) เกดิ ทเ่ี มอื งวอ็ ทกนิ สค์ (Voltkinsk) เมอ่ื วนั ที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1840 เป็ น

ผปู ้ ระพันธเ์ พลงยอดนยิ มคนหนงึ่ ในบรรดาผปู ้ ระพนั ธท์ ยี่ ง่ิ ใหญ่ของโลกดนตรี ไชคอฟสกเี ป็ นคตี กวที แี่ ปลกไปกว่าทา่ นอน่ื ๆ กลา่ วคอื ทุกๆคนมกั จะเรยี นและเล่นดนตรเี กง่ ชนดิ อจั ฉรยิ ะ ตงั้ แต่ อายุยงั นอ้ ยสว่ นไชคอฟสกมี าเรมิ่ เรยี นดนตรจี รงิ จังก็เมอื่ อายุ 21 ปี เน่ืองจากเขาตอ้ งเรยี น กฎหมาย ตามความตอ้ งการของพอ่ จนกระทัง่ จบปรญิ ญาตรที างกฎหมาย และออกมาทางานรับ ราชการในกระทรวงยตุ ธิ รรม แตด่ ว้ ยความสนใจและความชอบซง่ึ มเี ป็ นทนุ อย่แู ลว้ ไชคอฟสกจี งึ หนั เหชวี ติ มาเรยี นดนตรอี ย่างจรงิ จังในสถาบันดนตรแี หง่ เซน็ ตป์ ีเตอรส์ เบริ ก์ ในวชิ าการเรยี บ เรยี งเสยี งประสานสาหรบั วงออรเ์ คสตรา (Orchestration) เทคนคิ การเลน่ เปียโนและออรแ์ กน ชวี ติ ของไชคอฟสกกี ค็ งเหมอื น ๆ กับคตี กวคี นอนื่ ๆ ทวั่ ๆ ไป กลา่ วคอื มที งั้ สขุ และทกุ ขร์ ะคนกนั ไปชวี ติ เหมอื นนยิ ายมากกวา่ ชวี ติ จรงิ เพราะยามทตี่ กอบั จะมกี นิ ก็เพยี งประทงั ความหวิ และมที ่ี อยอู่ าศัยเพยี งแคซ่ กุ หัวนอน ในยามเมอื่ คนอน่ื ไม่เห็นคณุ คา่ ผลงานของเขากไ็ มม่ คี า่ อะไร แตย่ งั ดที มี่ ผี ทู ้ เ่ี หน็ ความสาคัญและคอยจุนเจอื ค้าจนุ เสมอมาอยา่ งแทบไมน่ า่ เชอ่ื เธอผนู ้ ัน้ ก็คอื มาดาม ฟอน เมค (Nadezhda von Meck) เศรษฐนี ีหมา้ ยผมู ้ ง่ั ค่ัง เธอใหเ้ งนิ สนับสนุนไชคอฟสกโี ดยไม่ เคยหวงั ผลตอบแทนใด ๆ เธอมคี วามสขุ ทไี่ ดม้ โี อกาสสนับสนุนผอู ้ นื่ ใหท้ างานทเี่ ธออยากทาแต่ ทาไมไ่ ด ้ เพราะเธอเคยใฝ่ ฝันทจี่ ะเป็ นนักประพนั ธด์ นตรแี ต่ไมส่ ามารถทาไดด้ ว้ ยใจรกั ดนตรใี น ยามว่างจากภาระกจิ เธอมกั จะนั่งฟังดนตรเี สมอ ดัง้ นัน้ เธอจงึ ทดแทนสว่ นนด้ี ว้ ยการสนับสนุน ตามความเป็ นจรงิ แลว้ ถา้ หากในโลกนมี้ คี นดอี ย่างมาดามฟอน เมค (Nadezhda von Meck) มาก ๆ คงเป็ นการดแี ละทาใหค้ นในวงการดนตรมี โี อกาสผลติ ผลงานทดี่ อี อกสสู่ าธารณะชนมาก ขนึ้ ไชคอฟสกผี ูซ้ งึ่ ในระหวา่ งทมี่ ชี วี ติ อยเู่ ขาไม่เคยไดร้ บั เกยี รตอิ ยา่ งจรงิ จังจากชาวรัสเซยี เลย ตรงกนั ขา้ มกับทางยุโรปและอเมรกิ านยิ มชมชน่ื ในตวั เขามากขณะทชี่ อ่ื เสยี งกาลงั โดง่ ดังอยู่นัน้ เขาก็ดว่ นจบชวี ติ ลงเสยี กอ่ นซง่ึ นับเป็ นเรอ่ื งทนี่ า่ เสยี ดายอย่มู ากทพี่ ยายามสรา้ งงานมากมายแต่ บัดน้เี ขาเป็ นคตี กวที ช่ี าวรสั เซยี ภูมใิ จมากทสี่ ดุ (ณรทุ ธ์ สทุ ธจติ ต,์ 2535 :171) ไชคอฟสกถี งึ แก่ กรรมดว้ ยโรคอหวิ าตซ์ งึ่ เกดิ จากความไมเ่ ฉลยี วใจหลงั จากทรี่ ับประทานอาหารเสรจ็ ไชคอฟสกี ไปเปิดน้าประปาทกี่ อ๊ กมาดม่ื โดยไมไ่ ดน้ ามาตม้ เสยี กอ่ น เพราะขณะนัน้ ทเี่ มอื งเซ็นตป์ ีเตอรส์ เบรก์ิ มโี รคระบาดพอดแี ละมคี นคอยเตอื นแลว้ ในทส่ี ดุ กถ็ งึ แกก่ รรมเมอ่ื วนั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1893 . ผลงานทม่ี ชี อ่ื เสยี ง ผลงานทเ่ี ด่นประกอบดว้ ย Romeo and Juliet : Fantasy Overture 1870, Swan lake 1875-76, Eugene Onegin:Waltz 1879, The Nutcracker-Nutcracker March 1892…. 3.Handel บดิ าของฮนั เดล นายจอรจ์ ฮันเดล เกดิ เมอ่ื ปีค.ศ. 1622 เป็ นศลั ยแพทยแ์ ละชา่ งโกนหนวด นับ ถอื นกิ ายลูเธอรัน และกลายเป็ นพ่อหมา้ ยเมอ่ื ปีค.ศ. 1682 เขาแต่งงานในปีตอ่ มากบั โดโรเธอา เทาสต์ บตุ รขี องปาสเตอรท์ อี่ อ่ นกว่าเขาหลายปี จอรจ์ เฟรดรกิ เป็ นบุตรชายคนโตของทงั้ สอง และมนี อ้ งสาวอกี สองคน บดิ าใฝ่ ฝันใหฮ้ นั เดลประกอบอาชพี ทางดา้ นกฎหมาย แมว้ ่าเขาจะ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสามารถโดดเด่นเกนิ วัยทางดนตรกี ็ตาม พ่อยอมใหฮ้ ันเดลเรยี นดนตรอี ยา่ ง เสยี ไม่ได ้ กบั นักจัดแสดงดนตรชี อ่ื เฟรดรกิ วลิ เฮลม์ ซาโชว ผซู ้ งึ่ ไดถ้ า่ ยทอดความรูท้ างดนตรี

ใหแ้ กฮ่ นั เดลอยา่ งสมบรู ณ์แบบ เขาหัดเล่นฮารป์ ซคิ อรด์ ออรแ์ กน ไวโอลนิ และโอโบ เขาเรม่ิ ประพันธเ์ พลงสาหรับเครอ่ื งดนตรแี ละสาหรบั ขบั รอ้ งตงั้ แตว่ ยั เยาว์ ในปีค.ศ. 1697 ขณะพานักอยู่ ทน่ี ครเบอรล์ นิ เขามโี อกาสไดพ้ บกบั กษัตรยิ แ์ ห่งปรสั เซยี แต่เขากก็ ลบั มาทเ่ี มอื งฮลั ลต์ ามคาขอ ของบดิ า ผูซ้ งึ่ เสยี ชวี ติ เพยี งสว่ี ันกอ่ นทเี่ ขาจะเดนิ ทางกลับถงึ บา้ น เพอื่ แสดงความเคารพตอ่ บดิ า เขากไ็ ดเ้ ขารบั การศกึ ษาในสถาบนั แห่งหนง่ึ พรอ้ มไปกับการเลน่ ดนตรี ราวปีค.ศ. 1702 เขา ไดร้ บั ตาแหนง่ ในมหาวหิ ารเมอื งฮลั ล์ ในฐานะผจู ้ ัดการแสดง และไดม้ โี อกาสผูกมติ รกับจอรจ์ ฟิลปิ ป์ เทเลมนั น์ 4. Verdi ผปู ้ ระพนั ธเ์ พลงประเภทโอเปร่า ชาวอติ าเลยี น เกดิ ทหี่ มบู่ า้ นเล็ก ๆ ในเมอื งรอนโคล (Le Roncole) ซง่ึ อยู่ใกลก้ ับเมอื งบุสเซโต (Busseto) เมอื่ วนั ท่ี 10 ตลุ าคม ค.ศ. 1813 เป็ นลูกชาย ของคารโ์ ล แวรด์ ี (Carlo Verdi) และลยุ เจยี (Luigia) เป็ นผทู ้ ยี่ งุ่ เกยี่ วกบั วงการเมอื งของอติ าลี มาตลอดนอกเหนอื จากเป็ นนักดนตรี เมอื่ อายุ 10 ขวบ พ่อไดส้ ง่ เขาไปเรยี นหนังสอื ทเี่ มอื งบสุ เซ โต ซงึ่ อย่หู า่ งจากรอนโคลประมาณ 3 ไมล์ พ่อไดน้ าเขาไปฝากไวก้ บั เพอ่ื นทสี่ นทิ คนหนงึ่ มี อาชพี เป็ นชา่ งซอ่ มรองเทา้ อยู่ในเมอื งนัน้ เมอื่ มเี วลาว่างแวรด์ มี ักจะไปขลกุ อยกู่ ับแอนโตนโิ อ บา เรสซี่ (Antonio Barezzi) เจา้ ของรา้ นขายของชาผูม้ ่ังคั่งและทสี่ าคัญทส่ี ดุ กค็ อื ทน่ี ั่นมแี กรนด์ เปียโนอยา่ งดที ามาจากกรงุ เวยี นนา แวรด์ มี ักจะมาขอเขาเลน่ เสมอ ๆ เมอ่ื บาเรสซเี่ ห็นหน่วยกา้ น เดก็ คนน้ีว่าต่อไปอาจจะเป็ นนักดนตรผี อู ้ ัจฉรยิ ะ จงึ รบั มาชว่ ยงานเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ทร่ี า้ นขายของชา ของเขาในตอนเยน็ หลังจากเลกิ โรงเรยี นแลว้ จากนัน้ ไมน่ านนักเขากต็ ัดสนิ ใจรบั เดก็ นอ้ ยแวรด์ มี า อยทู่ ร่ี า้ นและอยู่ในความอปุ การะของเขา ทน่ี เี่ องเดก็ ชายวยั 14 ขวบ ก็ไดเ้ ล่นเปียโนดูเอทคกู่ บั มารเ์ กรติ า (Margherita) เดก็ หญงิ วัย 13 ขวบ ซง่ึ เป็ นลกู สาวของบาเรสซน่ี ่ันเอง ซง่ึ ต่อมาทงั้ คู่ก็ ไดแ้ ตง่ งานกนั ในวนั ที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1836 บาเรสซม่ี กั จะใชเ้ วลาสว่ นมากมาคอยดแู ลและ นั่งฟังเดก็ นอ้ ยทงั้ สองเล่นเปียโนดว้ ยความพอใจอย่างยงิ่ เขาใหค้ วามรักและสนทิ สนมกบั เดก็ นอ้ ยแวรด์ อี ยา่ งลกู ชายของเขาทเี ดยี ว ผลงานสว่ นใหญข่ องแวรด์ ี คอื อุปรากรหรอื โอเปรา่ (Opera) เพราะสมัยของแวรด์ นี ัน้ ชาวอติ าเลยี นชอบชมอุปรากรมากแวรด์ เี ป็ นคนทมี่ คี วาม เสยี สละมาตลอดชวี ติ เมอ่ื ภรรยาและตัวเขาเองตายไปแลว้ ทรัพยส์ มบตั ทิ ัง้ หมดก็ถกู นาไปใช ้ สรา้ งอาคารสงเคราะหใ์ หเ้ ป็ นทพี่ ักอาศัยของนักดนตรที ย่ี ากจนนอกนัน้ ก็นาไปใชส้ รา้ ง โรงแสดง ดนตรแี วรด์ ี (Verdi Concert Hall) และพพิ ธิ ภณั ฑแ์ วรด์ ี (Verdi Museum) ในเมอื งมลิ าน เป็ น อนุสาวรยี เ์ ตอื นชาวโลกใหร้ าลกึ ถงึ เขาในฐานะคตี กวผี ยู ้ งิ่ ใหญข่ อง อติ าลแี ละของโลก การ มรณกรรมของเขาจงึ มใิ ชเ่ ป็ นการสญู เสยี ผปู ้ ระพันธโ์ อเปร่าทยี่ งิ่ ใหญ่เทา่ นั้น ผลงานทมี่ ชี อื่ เสยี ง ผลงานโอเปรา่ ทเ่ี ด่นประกอบดว้ ย Nabucco : Chorus 1842, Macbeth : Aria from Act III 1847,La traviata 1853, Aida : Triumphal Scene 1871

5. Brahms ผปู ้ ระพนั ธเ์ พลงดเี ด่นอกี คนหนง่ึ ชาวเยอรมนั แตม่ าตัง้ รกรากใชช้ วี ติ นักดนตรจี นถงึ แกก่ รรม ณ กรงุ เวยี นนาเกดิ ทเ่ี มอื งฮามบวรก์ (Hamburg) เมอื่ วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1833 บดิ าชอ่ื โยฮนั ยาค็อบ บราหม์ ส์ (Johann Jakob Brahms) ซง่ึ เป็ นนักดนตรที เี่ ล่นดับเบลิ เบส (Double bass) ประจาโรงละคร เมอื งฮามบวรก์ ในวัยเดก็ บราหม์ สแ์ สดงใหพ้ ่อเหน็ พรสวรรคท์ างดนตรพี ออายุ ราว ๆ 5-6 ขวบพอ่ ก็เรม่ิ สอนดนตรเี บอื้ งตน้ ให ้ ครอบครวั ของเขาค่อนขา้ งยากจนพอ่ และแมต่ อ้ ง ดนิ้ รนและประหยดั เพอ่ื หาครูทด่ี ที ส่ี ดุ เท่าทจี่ ะหาไดม้ าสอนเปียโนและการประพนั ธด์ นตรใี หแ้ ก่ ลกู นอ้ ยพอ่ เองเคยไดร้ ับบทเรยี นมากอ่ นเมอ่ื ถูกกดี กันไม่ใหเ้ รยี นดนตรใี นวยั เด็กตอ้ งแอบฝึกซอ้ ม เอาเองเท่าทโี่ อกาสดว้ ยความทพี่ อ่ เองรกั ดนตรแี ละบราหม์ สก์ ็ชอบดนตรอี ยา่ งพอ่ พอ่ จงึ สนับสนุนอย่างเตม็ ทแี่ ม่เองกเ็ ป็ นคนทร่ี ักดนตรเี ชน่ กนั ดงั นัน้ เขาจงึ ไมม่ อี ปุ สรรคในเรอื่ งการเรยี น ดนตรมี กี ็แต่ความขดั สนเรอื่ งเงนิ อย่างไรกต็ ามเพอ่ื ใหค้ วามหวงั เป็ นจรงิ พ่อจงึ คดิ หารายไดใ้ ห ้ มากกว่าทเี่ ป็ นอยจู่ งึ แยกตัวออกจากวงออรเ์ คสตรา้ มาตงั้ วงขนาดยอ่ ม ๆ แบบวงดนตรเี ชมเบอร์ มวิ สกิ (Chamber Music) รับจา้ งเลน่ ตามสถานทตี่ า่ ง ๆ (ไพบลู ย์ กจิ สวสั ด,์ิ 2535 :176) บราหม์ สเ์ รยี นเปียโนกับ คอสเซล็ (Cossel) เมอ่ื อายุ 8 ขวบ จากนัน้ พออายุได ้ 10 ขวบ ก็ เปลย่ี นไปเรยี นกับ มารก์ เซน็ (Marxsen) บราหม์ สป์ ระพันธด์ นตรแี ละรับจา้ งเรยี บเรยี งแนว บรรเลงใหก้ บั วงดนตรเี ล็ก ๆ ตามรา้ นกาแฟและวงดนตรขี องพอ่ ดว้ ย เขาเคยบอกว่ามบี ่อยครงั้ ที่ คดิ ดนตรขี นึ้ มาไดร้ ะหว่างทก่ี าลงั ขัดรอ้ งเทา้ ตอนเชา้ ตรขู่ ณะทค่ี นอนื่ ยงั ไม่ตน่ื Marion Bauer และ Ethel Peyser ไดก้ ล่าวถงึ ผลงานและความสามารถของบราหม์ สไ์ วว้ ่า “มนั ไม่ใชข่ องง่ายท่ี จะเขยี นถงึ บราหม์ สโ์ ดยไมท่ าใหค้ นอ่านรสู ้ กึ ว่ามนั เป็ นเรอ่ื งเกนิ ความจริ ง” หรอื คาชน่ื ชมทวี่ ่า “ถา้ เราพดู ถงึ เชมเบอร์ มวิ สกิ (Chamber Music) เราตอ้ งรับวา่ เขาเขา้ ใจวธิ เี ขยี นใหเ้ หมาะสมกับ เครอ่ื งดนตรที ใ่ี ชบ้ รรเลงอย่างไม่มใี ครทาไดด้ เี ทา่ ทัง้ กอ่ นและหลงั สมยั ของ บราหม์ ส”์ “ใครพบที่ ไหนบา้ งว่ามไี วโอลนิ คอนแชรโ์ ต ้ (Violin Concerto) และเปียโน คอนแชรโ์ ต ้ (Piano Concerto) ทสี่ วยสดงดงามยง่ิ กว่าของบราหม์ ส”์ ทย่ี กตัวอย่างขา้ งตน้ นัน้ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสามารถของบราหม์ สว์ ่าเป็ นทยี่ อมรับของคนทวั่ ไปและผลงานของเขาก็ยงั ถอื วา่ เป็ นอมตะ ตลอดกาล ดว้ ยความทบี่ ราหม์ สเ์ ป็ นคนทสี่ ภุ าพถอ่ มตวั มาก หากเขายงั อยู่เขาคงป็ นการสมควร อยา่ งยง่ิ ทชี่ นรนุ่ หลงั ๆ ยกยอ่ งชมเชยเขาเน่ืองจากผลงานของบราหม์ สเ์ ขยี นขน้ึ มาดว้ ย ความหวงั ผลประโยชนท์ เ่ี ป็ นวัตถุ เขาคงจะพอใจทม่ี คี นเขา้ ใจเขาเชน่ นี้ เพราะมนั เป็ นความจรงิ ท่ี เขาเองคงอยากใหค้ นทงั้ โลกรแู ้ ละปฏบิ ตั ติ าม ผลงานทม่ี ชี อื่ เสยี ง ผลงานดนตรขี องบราหม์ ส์ สว่ นใหญ่สะทอ้ นใหเ้ ห็นความรสู ้ กึ อัดอนั้ ตันใจในความรกั ดนตรขี องบราหม์ สท์ เี่ ด่นประกอบดว้ ย Four Ballades 1854, Cradle Song 1868, Symphony No.1 in Cm 1876, etc….

6. Haydn ผปู ้ ระพันธเ์ พลงยง่ิ ใหญ่เกดิ ทหี่ มบู่ า้ นเลก็ ๆ แห่งหนงึ่ ชอื่ โรหเ์ รา (Rohrau) อยู่ในภาคใตข้ อง ออสเตรยี เมอื่ วนั ที่ 1 เมษายน ค.ศ.1732 ถงึ แกก่ รรมทก่ี รงุ เวยี นนาเมอื่ วันท่ี 31 พฤษภาคม 1809เขาเป็ นบุตรคนท่ี 2 ในจานวน 12 คนของครอบครวั ชาวนายากจนทรี่ กั ดนตรี เมอื่ เขาอายุ ได ้ 8 ปี เขาไดเ้ ป็ นนักรอ้ งในวงประสานเสยี งของโบสถเ์ ซนต์ สตเิ ฟน ( St Stephen) แห่ง เวยี นนา หลงั จากอยู่ทน่ี ั่น 9 ปีในปี 1749 เขาออกจากทน่ี ั่นเพราะเสยี งแตก เขาไม่มเี งนิ ไมม่ บี า้ น เขาเลยี้ งชพี ดว้ ยการรอ้ งเพลง เลน่ ฮารป์ สคิ อรด์ (Harpsichord) และสอนดนตรี ตลอดเวลาเขา ฝึกหัดและเรยี นดนตรอี ยา่ งตอ่ เนอ่ื งเขาเรม่ิ แตง่ เพลงและไดเ้ ป็ นผนู ้ าวงออรเ์ คสตราของเคานต์ มอรซ์ นิ (Count Morzin of Bohemia) ซมิ โฟนีชน้ิ แรกของเขานาไปสกู่ ารรบั รองในปี 1761 ตอ่ จากนัน้ ไฮเดนิ กต็ อ้ งออกมา อย่กู บั เจา้ ชายปอล แอนตนั อสี เตอรฮ์ าซ่ี (Prince Paul anton Esterhazy) เขาทางานกบั ตระกลู อสี เตอรฮ์ าซเ่ี ป็ นเวลา 30 ปี โดยความเป็ นจรงิ เป็ นเหมอื นคน รับใช ้ แต่ถงึ อย่างไรก็ดี เขาไดป้ ระพันธซ์ มิ โฟนี โอเปรา่ และเชมเบอร์ มวิ สกิ เป็ นจานวนมากเขามี ชอื่ เสยี งมากในยโุ รปดา้ นดนตรี เขาพบ Mozart ตอนเด็ก ๆ ในปี 1781 และกลายเป็ นเพอื่ นสนทิ กนั และชนื่ ชมในดนตรขี องกันและกันมาก เมอื่ เจา้ ชาย นโิ คลาส ‘The Magnificent’ แห่งตระกลู อสิ เตอรฮ์ าซไี ดส้ น้ิ พระชนมล์ งในปี 1790 เขาถูกปลดออกโดยผรู ้ บั ตาแหนง่ ต่อเขาไดร้ บั เงนิ บานาญและรายไดเ้ ขา้ จากสาธารณะชนและนักเรยี นของเขา จากนัน้ ยา้ ยกลับเวยี นนาและถูก เชญิ ไปลอนดอนโดย เจ.พ.ี ซาโลมอน (J.P. Salomon) เพอื่ ไปจดั แสดงคอนเสริ ต์ ในระหวา่ ง การเดนิ ทางนเี้ ป็ นการเดนิ ทางไปอังกฤษครงั้ ที่ 2 โดยตกลงจะประพันธเ์ พลงให ้ 12 เพลง คอื ชดุ London symphonies เพลงสดุ ทา้ ย เขาถูกเชญิ ใหป้ ระพันธ์ ออราทอรโิ อ (Oratorio) ในสไตล์ ของไฮเดลิ (Handel) เขาประพันธไ์ ด ้ 2 เรอื่ งและดนตรขี องเขาเปลยี่ น the majesty of the Baroque ไปเป็ นการเรมิ่ ตน้ ของศตวรรษท่ี 19 โดย Choruses เชน่ The Heavens are Telling from The Creation แสดงครงั้ แรกในปี1798 ปัจจบุ ันรจู ้ ักในชอ่ื ว่า The father of the Symphony and the String quartet ทจ่ี รงิ แลว้ เขาไมไ่ ดค้ ดิ คน้ มนั ขน้ึ เองทงั้ 2 เรอื่ งแตไ่ ด ้ พฒั นามันจากรปู แบบทม่ี อี ยู่กอ่ นแลว้ ทั่วยโุ รป ไฮเดลิ ประพนั ธ์ Sonatas, quartets, symphonies, operas,concertos เป็ นจานวนหลายรอ้ ย ดนตรขี องเขาดูง่ายมเี สนห่ ม์ กี ารต่อสู ้ ของแฟนซแี ละตลกทแ่ี ทจ้ รงิ ผสมอยู่ใน Classical veneer ตัวอย่างทมี่ ชี อื่ เสยี งมากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ The Surprise ในท่อน (movement) ท่ี 2 ของซมิ โฟนขี องเขา No. 94 in G major แต่การทา ตามความคดิ ของเขาจะพบไดใ้ น The finale of the Symphony no. 82 หรอื เรยี กอกี ชอื่ วา่ The bear เป็ น The bass drone และ Chortling bassoons ซงึ่ เป็ นเรอื่ งของหมที เ่ี ตน้ รา เมอื่ ถงึ ฤดู ใบไมผ้ ลใิ นปี 1809 กองทัพฝร่ังเศสภายใตก้ ารนาของนโปเลยี น ยกทพั เขา้ ยดึ ครองเวยี นนา ออสเตรยี ไวไ้ ด ้ เขาเศรา้ เสยี ใจมากกบั การเสอ่ื มอย่างรวดเร็วและไดถ้ งึ แกก่ รรมดว้ ยอาการสงบใน วันท่ี 31 พฤษภาคม 1809 ทหารฝรัง่ เศสทกี่ าลังยดึ ครองเวยี นนาอยขู่ ณะนัน้ ไดท้ าพธิ ฝี ังศพ ใหแ้ กเ่ ขาอย่างสมเกยี รติ ณ โบสถแ์ ห่งหนง่ึ ในเวยี นนา

7. Schubert Franz Schubert เกดิ ที่ Himmelpfortgrund ซง่ึ อยู่แถวชานเมอื งของกรงุ เวยี นนาในปี 1797 บดิ าเป็ นครขู องโรงเรยี นประจาทอ้ งถน่ิ สว่ นมารดาเคยเป็ นแม่ครัวมากอ่ นแตง่ งาน ชเู บริ ต์ มพี น่ี อ้ ง รวมทัง้ ตัวเขาเองถงึ สบิ หา้ คนแตน่ ่าเศรา้ ทวี่ ่าพนี่ อ้ งของเขารว่ มสบิ คนไดเ้ สยี ชวี ติ ไปตงั้ แตย่ งั เดก็ ยังเลก็ บดิ าของเขายงั เป็ นนักดนตรสี มัครเล่นและไดถ้ า่ ยทอดคณุ สมบตั นิ ี้ใหก้ บั บรรดาลกู ชายที่ ยังมชี วี ติ อยู่ดว้ ย ดว้ ยอายเุ พยี งหา้ ขวบ ชเู บริ ต์ ไดร้ ับการถ่ายทอดเรอื่ งดนตรจี ากบดิ าและอกี หนงึ่ ปีหลงั จากนัน้ เขา้ เรยี นทโี่ รงเรยี นทบี่ ดิ าเป็ นครูสอน อายไุ ดเ้ จด็ ขวบก็เกง่ เกนิ กว่าครูสอนดนตรี ธรรมดาๆ จะสอนได ้ เขาเลยไปเรยี นกบั Michael Holzer ซงึ่ เป็ นผคู ้ วบคุมดนตรใี นโบสถแ์ ห่ง หนงึ่ อายุสบิ เอ็ดปี ไดร้ ับทุนไปเรยี นดนตรที โี่ รงเรยี นชอื่ ดังในกรงุ เวยี นนาภายใตก้ ารดาเนนิ งาน ของ Antionio Salieri เป็ นเวลาหกปี น่าตลกทวี่ า่ เขาไดร้ ับประโยชน์จากการสอนเพยี งนอ้ ยนดิ หากเทยี บกบั การฝึกหัดกับวงของโรงเรยี นและการชว่ ยเหลอื อย่างอบอุ่นจากบรรดาเพอื่ น ๆ ใน การผลติ ผลงานทางดนตรอี ย่างมากมาย ชเู บริ ต์ คลกุ คลอี ยู่กบั เพอ่ื นผชู ้ ายกลุ่มใหญ่ ๆ และ ลักษณะนมุ่ นม่ิ ของเขาทาใหน้ ักประวัตศิ าสตรห์ ลายคนตงั้ ขอ้ สังเกตวา่ เขาอาจจะเป็ นพวกรกั ร่วม เพศ ปี 1813 ชเู บริ ต์ มาเป็ นครสู อนโรงเรยี นเดยี วกบั บดิ าของเขาเพอ่ื หลกี เลย่ี งการเกณฑท์ หาร ซงึ่ เป็ นชว่ งทสี่ ดุ แสนจะนา่ เบอื่ และผลงานทผี่ ลติ ออกมากไ็ ม่สจู ้ ะสาเรจ็ นัก สองปีตอ่ มาชวี ติ ของ เขากเ็ ปลย่ี นไปเมอ่ื ลกู ศษิ ยท์ อี่ ยู่ในตระกลู ม่งั ค่ังไดเ้ สนอใหเ้ ขาลาออกจากโรงเรยี นและหนั มา แตง่ เพลงเพยี งอย่างเดยี ว แตต่ อ่ มากต็ อ้ งตกอับเพราะไม่ประสบความสาเร็จทัง้ ในการสอนดนตรี ตามบา้ นและการแสดง กระนัน้ เขากไ็ ดร้ ับการชว่ ยเหลอื จากเพอ่ื นๆ อกี เชน่ เคย นสิ ัยของชเู บริ ์ ตซงึ่ เป็ นทร่ี ูจ้ กั ันดคี อื เขามกั จะตน่ื แตเ่ ชา้ เพอื่ ประพนั ธเ์ พลงไปจนถงึ เทย่ี งวนั กอ่ นจะสงั สรรคก์ บั เพอื่ นฝูงในยามบ่าย แตแ่ ลว้ เหมอื นกบั ฟ้าจะกลน่ั แกลง้ ในปี 1822 ชเู บริ ต์ พบวา่ ตวั เองตดิ เชอื้ Syphillis (ซง่ึ สมัยนัน้ คงจะรา้ ยแรงเหมอื นกับเชอ้ื HIV) มคี นสนั นฐิ านว่าเขาอาจจะตดิ โรครา้ ยนี้ มาจากสาวใชข้ องบา้ นทเี่ ขาไปสอนดนตรใี นฤดรู อ้ นฤดหู นงึ่ นายแพทยแ์ นะนาใหเ้ ขาไปพักกับ พชี่ ายทช่ี านเมอื งของเวยี นนาอกี ทห่ี นงึ่ (ฝร่งั ไม่ไดบ้ อกว่าทาไม เดาว่าทน่ี ั่นอาจจะมอี ากาศ ดกี วา่ ) แต่แลว้ เขาก็ตดิ โรคไทฟอยดอ์ กี โรคหนง่ึ วา่ กนั ว่า ชเู บริ ต์ ไดเ้ ดนิ ทางไปเยย่ี มเบโธเฟ่ นซง่ึ นอนป่ วยอย่บู นเตยี งนอนใน ปี 1827 เมอ่ื คตี กวที ช่ี เู บริ ต์ เทดิ ทูนบชู าไดเ้ สยี ชวี ติ ลง ชเู บริ ต์ มงุ่ มน่ั ทจ่ี ะชว่ ยแบกโลงศพของเบโธเฟ่ น (บางแหง่ บอกว่าเป็ นคนถอื คบไฟนาหนา้ ขบวน) หลังจากงาน ศพไดส้ น้ิ สดุ ลง เขากับเพอื่ นก็ไปทานอาหารทภี่ ัตตาคาร มกี ารดมื่ สาหรับผูว้ ายชนม์ โดยหารไู ้ ม่ วา่ ในอกี หนงึ่ ปีขา้ งหนา้ ชเู บริ ต์ ก็เป็ นผวู ้ ายชนมเ์ หมอื นกัน แตก่ อ่ นทค่ี ตี กวเี อกของเราจะเสยี ชวี ติ เขาไดร้ อ้ งขอใหศ้ พของเขาถกู ฝังใกลๆ้ กบั เบโธเฟ่ น หลมุ ฝังศพของคนทงั้ คู่อยใู่ นสสุ าน Waehringer ในกรงุ เวยี นนา ในงาน เพอ่ื นคนหนงึ่ ของเขาไดอ้ า่ นบทกวอี ันนา่ ซาบซมึ ใจ

8. โยฮันนเ์ ซบาสเตยี นบ๊ัค เกดิ ในค.ศ. 1685 โยฮันน์เซบาสเตยี นแบก๊ ถกู นักเยอรมัน นักประพนั ธ์ และ violist เขามาจาก ครอบครวั ของนักดนตรรี ่นุ หลงั ยดื และพจิ ารณาองคพ์ ระระหวา่ งทางานลกึ ซงึ้ มากทสี่ ดุ ในละคร เขาเขยี นมากกว่า 1000 องค์ และงานของเขา มที รโิ อ sonatas, sonatas เดย่ี ว สล่ี สวตี ผลงาน ทร่ี จู ้ กั กันดี โดยชดุ ประกอบดว้ ย: 1. ศลิ ปะของฟิวก์ 2. ดแี กว้ กระจก clavier 3. St. Mathew หลงใหล 9. ลดุ วกิ แหง่ แวนบโี ธเฟน ลุดวกิ แห่งแวนบโี ธเฟนเป็ นเยอรมันและนักเปียโนทเ่ี กดิ ใน 1770 และไดค้ ายกย่องเป็ นตัวเลขที่ โดดเด่นทสี่ ดุ ในการเปลย่ี นแปลงระหวา่ งรอบระยะเวลาทโ่ี รแมนตกิ และคลาสสคิ คอล ครูเพลง แรกถูกบดิ า และโรงแรมโมสารท์ เหมอื น เขาเขา้ ใจศลิ ปะการดนตรที อ่ี ายุมากเงนิ องคท์ รี่ จู ้ กั กนั ดี ของเขารวม 9 ซมิ โฟนี เปียโน sonatas 32, concertos 5 สาหรับเปียโนและ 16 สาย quartets บางองคท์ ม่ี ชี อ่ื เสยี งทส่ี ดุ ของเขาไดแ้ ก:่ 1. Fidelio 2. ซมิ โฟนีหมายเลข 9 3. Piano sonata หมายเลข 14

10. Wolfgang สมเดจ็ โรงแรมโมสารท์ โรงแรมโมสารท์ A. Wolfgang เกดิ 27 เวลามกราคมในซาลซบ์ ูรก์ ออสเตรยี ขณะนี้ และถอื เป็ น หนงึ่ ในทสี่ ดุ คลาสสกิ คตี กวตี ลอด ความเห็นจากอัลเบริ ต์ ไอนส์ ไตนอ์ จั ฉรยิ ะวทิ ยาศาสตร์ \"โรงแรมโมสารท์ เป็ นนักประพนั ธท์ ยี่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของ\" เขาหล่อเลยี้ งความสามารถเพลงของเขา ทอี่ ายุเงนิ อายุ 5 เขามมี าสเตอรค์ ยี บ์ อรด์ และไวโอลนิ และบรกิ ารสังคมชนชนั้ สงู ทว่ั ยโุ รป เขา ประกอบดว้ ยงานมากกวา่ 600 ในแนวเพลงคลาสสกิ บางมชี อื่ เสยี งมากทส่ี ดุ โรงแรมโมสาร์ ทของงานประกอบดว้ ย: 1. มายากลขลยุ่ 2. Piano Sonata ใน A 3. ฉัตรมงคลโดยรวม 4. ซมิ โฟนีหมายเลข 40 แหลง่ อา้ งองิ https://www.guitarthai.com/webboard/question.asp?QID=344107 http://th.wondershare.com/music-manager/top-10-classical-artists.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook