หลักและวธิ กี ารสอนเพลง 1. ผู้สอนมีความม่นั ใจในตนเอง - ตอ้ งจำ�จังหวะและทำ�นองเพลงไดด้ ี - ตอ้ งจ�ำ เน้ือร้องได้ - ต้องฝกึ หัดรอ้ งและได้ทดลองฝกึ มาแลว้ - จดจ�ำ ท่าทางประกอบของเพลงไดแ้ มน่ ย�ำ 2. ผู้สอนจะตอ้ งรอ้ งให้ฟังก่อน - เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟังทำ�นอง จังหวะ เนื้อร้อง หรือจับเค้าเพลงท่ีร้อง ใหไ้ ดก้ ่อน - ควรรอ้ งให้ฟังกอ่ น 1-2 เท่ยี ว 3. ผู้สอนควรใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมร้องตามทีละวรรค ฯลฯ - ควรจะสอนเพลงเป็นวรรคสัน้ ๆ ก่อน 4. ผู้สอนให้สัญญาณในการร้องเพลงก่อน เพื่อให้ทุกคนได้เร่ิมร้องเพลงอย่าง พรอ้ มเพรยี งกนั - อาจจะใช้การนับ ปรบมือ ฟังสัญญาณมอื ขนึ้ -ลง ฯลฯ 5. ผสู้ อนต้องควบคุมจังหวะเพลงได้ดี - จงั หวะเพลงเปน็ สง่ิ สำ�คญั มาก - ใชเ้ คาะพืน้ หรอื ปรบมอื เป็นการให้จงั หวะ 6. ผสู้ อนต้องเลอื กเพลงที่มีจังหวะง่าย 7. เวลาร้องควรออกเสียงพอดี อย่าออมเสียงหรือตะเบ็งเสียงให้ร้องเต็มเสียงและ ใ ห้ถ้อยค�ำ ท่ีชัดเจน เทคนคิ การเปน็ ผูน้ �ำ รอ้ งเพลง 1. แม่นเน้ือร้อง 2. แม่นทำ�นอง 3. เสียงรอ้ งชัด 4. ชดั สายตา 5. มีท่าทางดี 6. มีเทคนคิ หลากหลาย คมู่ อื ผู้นำ�นันทนาการ 91
ขนั้ ตอนการนำ�รอ้ งเพลง 1. บอกชื่อเพลง 2. ร้องเพลงใหฟ้ ังกอ่ น 1 เท่ียว 3. สอนให้รอ้ งตามทีละวรรค 2-3 เท่ียว 4. สอนรอ้ งพรอ้ มกัน 5. ใหใ้ ส่จังหวะปรบมือ/กลอง/อ่ืน ๆ ไปดว้ ย 6. สอนทา่ ทาง (ถา้ มี) 7. ใช้เทคนิคพเิ ศษอ่ืน ๆ บ้าง การสอนรอ้ งเพลงไทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงให้ข้อคิดบางประการไว้ ในพระราชนพิ นธ์ เร่อื ง “เดก็ และดนตรไี ทย” ดังน้ี การสอนเด็กให้หัดร้องเพลงไทย เพลงไทยของเรานี้ร้องยาก และร้องให้ไพเราะ ชวนฟังย่ิงยากมากขึ้นไปอีก ครูมักนิยมสอนให้เด็กร้องเพลงหมู่ การสอนร้องเพลงหมู่ให้ฟัง ได้ยิ่งยาก ต้องฝึกอย่างดีอาจจะลำ�บาก สำ�หรับยุคปัจจุบันซ่ึงมีครูสอนขับร้องน้อย นักเรียน มากต้องสอนพร้อม ๆ กัน เสียงตีกันยุ่ง ถ้าจับแยกมาหัดร้องทีละคนบ้างก็ดี หรือจัดกลุ่ม ให้เล็กลง เมื่อแม่นเสียงในกลุ่มเล็ก แล้วจึงรวมเป็นกลุ่มใหญ่ขึ้น เร่ืองน้ีเห็นใจครูจะเอามาร้อง ทีละคนก็หาเวลาไม่ได้ ฝึกหนักเด็กก็จะท้อ สำ�หรับเด็กโตที่จะร้องเด่ียวนั้นเรียนร้องจริงจัง ไมน่ ่ามีปญั หาอะไรเพราะเหน็ ครูสอนร้องทกุ ท่านจู้จีด้ ีแลว้ บางโรงเรียนมีกิจกรรมแล้วจำ�เป็นต้องให้เด็กทุกคนได้แสดงออก เด็กท่ีนำ�ร้องหมู่ เป็นพวกที่เหลือมาจากเล่นเครื่อง เวลาร้องเสียงมักจะไม่ถึงโน้ตที่กำ�หนดไว้ในเพลง เพราะ ฉะนั้นคงจะต้องเลือกเพลงท่ีเสียงไม่สูงไม่ต่ำ�เกินไป พอดี ๆ ท่ีคนหมู่มากจะร้องได้ตามปกติ เด็กนักเรียนทุกคนต้องเรียนวิชาขับร้อง แต่ก็มิได้หมายความว่าทุกคนจะต้องร้องเพลงได้ เพราะ เกี่ยวกับความถนัดของเด็กด้วย เมื่อจะมีการแสดง เช่น มหกรรมดนตรีไทยก็ควรจะคัดเลือก เด็กให้พิถีพิถัน และอีกอย่างหน่ึง การให้เด็กร้องเพลงหมู่โดยไม่มีดนตรีคลอร้องนั้น น่าจะเห็นใจ เด็กให้มาก อย่างน้อยท่ีสุดจะมีจังหวะและเครื่องดนตรีบรรเลงคลอสักช้ินก็ยังดีกว่าไม่มีเลย ถ้าเด็กร้องเพี้ยนนอกจากจะเสียรสแล้ว ยังทำ�ให้คนท่ีร้องถูกต้องพลอยเขวไปด้วย ยิ่งเพลง ประเภทสามชั้นเอื้อนยาวด้วยแล้วมีโอกาสพลาดเสียงได้ง่าย จึงเห็นว่าเด็กเล็กควรร้องเพลง โดยมดี นตรีคลอแบบจำ�ลองจะเหมาะกวา่ แถมยงั ฝกึ ง่ายอกี ดว้ ย 92 คู่มือผูน้ �ำ นนั ทนาการ
การสอนรอ้ งเพลงลกั ษณะอน่ื ๆ เนื่องจากเพลงมีหลายประเภท ร้องในโอกาสแตกต่างกัน และตามวัตถุประสงค์ของ การร้องเพลง เช่น ร้องในพิธีเข้าประจำ�หมู่ยุวกาชาด การถวายราชสดุดี เพลงสยามมานุสติ ประกอบบทเรียนการอยคู่ า่ ยพักแรม หรอื อาจเป็นการร้องเพลงเพ่ือการประกวด ดงั นั้น ครผู ูส้ อน ตอ้ งวางแผนการสอนเพลงใหส้ อดคล้องกนั ซึ่งใช้วธิ ีเลือกสอนเพลง 4 ลกั ษณะ คอื 1. การสอนร้องเพลงเดย่ี ว เป็นการสอนให้ผู้เรียนร้องเพลงเพียงคนเดียวเป็นรายบุคคลและมีเสียงเดียว ซึ่งจะ ใช้ในกรณีทต่ี ้องการใหผ้ เู้ รยี นได้แสดงศกั ยภาพการร้องเพลงอย่างเตม็ ที่ 2. การสอนร้องหมู่ เป็นการสอนให้ผู้เรียนร่วมร้องเพลงต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป อาจเป็นการร้องเสียงเดี่ยว หรือร้องประสานเสียงก็ได้ ซ่ึงจะใช้ในกรณีท่ีต้องการให้ผู้เรียนได้รวมพลังเสียงให้เกิดความ ครึกคร้ืน เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ หรือเพ่ือให้เกิดความไพเราะอันเกิดจากความสลับซับซ้อน และหลากหลายของโนต้ ดนตรที ีเ่ รยี กวา่ การประสานเสียงน่ันเอง อน่ึง ลักษณะการสอนเพลงเพื่อฝึกทักษะการฟัง การร้อง และเกิดการแข่งขัน ผสู้ อน อาจใชว้ ิธีรอ้ งไล่กันรอบวง เพือ่ ใหเ้ กดิ ความแปลกใหม่ไม่จ�ำ เจ 3. การสอนร้องเพลงประกอบดนตรี เป็นการสอนให้ผู้เรียนร้องเพลงประสานไปกับเสียงดนตรีเพื่อให้ผู้เรียนรู้จังหวะ ของเพลงอาจสอนรอ้ งเพลงเดยี่ ว รอ้ งเพลงหมู่ หรือรอ้ งเพลงหมู่ประสานเสยี งกไ็ ด้ ท้งั นี้ ครผู ้สู อน ต้องมคี วามรูพ้ ืน้ ฐานดนตรี และสามารถใชเ้ คร่ืองดนตรีงา่ ย ๆ ช่วยควบคมุ จงั หวะ 4. การสอนรอ้ งเพลงประกอบทา่ ทาง เป็นการสอนให้ผู้เรียนร้องเพลง และมีการเคล่ือนไหวร่างกายไปตามจังหวะ คำ�ร้อง และทำ�นองเพลง เพ่ือสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง และกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดท่าทางประกอบเอง อย่างสร้างสรรค์ เช่น การสอนเลียนแบบสัตว์ การสอนให้รู้จักน้ิวมือ และรู้จักใช้ลีลาท่าทาง ทีส่ วยงาม คู่มือผนู้ ำ�นนั ทนาการ 93
ตัวอยา่ งเพลงประกอบท่าทาง 1) สอนใหร้ จู้ กั เลียนเสยี งแบบสัตว์ เพลง งู มอง ๆ หาอยู่ (ซ้�ำ ) โอน้ น่ั งู (ซ้ำ�) จงเดินหนี ๆ ไปให้ไกลงู หาทางใหง้ ไู ป (ซ�ำ้ ) งลู งรู (ซ้ำ�) เนอื้ ร้อง ท่าทางประกอบ มอง ๆ หาอยู ่ ใช้มอื ป้องท่ีหน้าทำ�เหมอื นก�ำ ลังมอง โอ้นน่ั ง ู ใช้มอื ท้ังสองข้างประกบกนั แล้วท�ำ ทา่ เล้อื ยแบบงู จงเดนิ หนี ๆ ไปใหไ้ กลงู ให้เด็กเดินถอยหลังเหมอื นเดินหนี หาทางใหง้ ไู ป ใชม้ อื ท้ังสองขา้ งประกบั กันแลว้ ทำ�ท่าเลือ้ ยแบบงู งลู งรู ทำ�ทา่ เหมือนงเู ลื้อย 2) สอนใหร้ ้จู กั เล่นนิว้ มอื เพลง นิ้วฉนั อยูไ่ หน นวิ้ โป้งอยไู่ หน นวิ้ โปง้ อยไู่ หน อยนู่ จี่ ะ๊ อยู่น่ีจ๊ะ สุขสบายดีหรอื ไร สุขสบายทง้ั กายใจ ไปก่อนนะ สวัสดี เนือ้ รอ้ ง ทา่ ทางประกอบ น้ิวโปง้ อยู่ไหน ชูน้วิ โป้งขา้ งซา้ ยขึ้นกระดิก อยู่นีจ่ ะ๊ ชนู วิ้ โป้งข้างขวาขน้ึ กระดกิ สขุ บายดีหรือไร ยกน้วิ ชถี้ าม สุขสบายทง้ั กายใจ มอื กอดอกพร้อมเอียงซา้ ยขวา ไปก่อนนะ โบกมอื อ�ำ ลา สวัสด ี พนมมอื ไหว้ 94 คู่มือผู้น�ำ นนั ทนาการ
3) สอนใหร้ จู้ ักใชล้ ีลาทา่ ทาง เพลง แมงมุมลาย แมงมมุ ลายตวั นั้น ฉนั เหน็ มันซมซานเหลอื ทน วนั หนงึ่ มนั ถูกฝน ไหลหลน่ จากบนหลังคา พระอาทติ ยส์ อ่ งแสง ฝนแหง้ เหือดไปลับตา มนั รบี ไตข่ น้ึ ฝา หันหลังมาท�ำ ตาลุกวาว เน้อื รอ้ ง ท่าทางประกอบ แมงมุมลายตัวนั้น สลบั นิ้วชกี้ ับน้วิ หัวแมม่ อื ฉันเห็นมันซมซานเหลอื ทน สลับน้ิวช้ีกบั นวิ้ หวั แมม่ อื วันหน่ึงมันถกู ฝน ชูมือขึ้นทำ�ท่าฝนก�ำ ลงั ตก ไหลหลน่ จากบนหลังคา ชมู ือขนึ้ ท�ำ ท่าฝนก�ำ ลงั ตก พระอาทติ ย์ส่องแสง โบกมอื ทัง้ สองข้างไปทางซา้ ยขวา ฝนแหง้ เหือดไปลับตา โบกมือทงั้ สองข้างไปทางซ้ายขวา มันรีบไต่ขึ้นฝา สลบั น้วิ ช้กี บั นิว้ หัวแม่มอื หันหลังมาท�ำ ตาลุกวาว นิว้ ชแี้ ละนว้ิ หวั แมม่ ือท�ำ เป็นวงกลมของลกู ตา การสอนรอ้ งเพลงส�ำ หรับเดก็ การเรียนรู้ของเด็กที่กำ�ลังเรียนอยู่ในชั้นอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษามีหลายรูปแบบ อาทิ เรียนรู้จากการฟังนิทาน การอ่านหนังสือรูปภาพ การดูหุ่นประกอบการเล่านิทาน รวมท้ัง การรอ้ งเพลง ซ่งึ เป็นวิธที ่ีดวี ธิ ีหนงึ่ ดว้ ย เพราะเดก็ วยั น้ีเป็นวัยชา่ งสงั เกต จดจ�ำ และรบั ร้สู ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัวและธรรมชาติได้ง่าย ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรศึกษาลักษณะของเพลงสำ�หรับเด็ก ซ่ึงมี ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. เป็นเพลงที่สรา้ งสรรค์ และเพ่ือเดก็ รอ้ งเพลงแลว้ เกิดความสุขและภาคภูมใิ จ 2. เปน็ เพลงส้ัน ๆ งา่ ย ๆ เหมาะสมกับวยั และความสามารถของเด็ก 3. เป็นเพลงท่ีสามารถใชเ้ ป็นเครื่องปลกู ฝังจิตใจเด็กให้เป็นคนดี มีศลี ธรรมทบ่ี รรจุไว้ใน เนื้อเพลง 4. เปน็ เพลงท่มี ที �ำ นองสูง ๆ ตำ�่ ๆ ซง่ึ ควรหลีกเลี่ยงเพลงที่มที �ำ นองเรียบจนเกินไป 5. เปน็ เพลงท่มี จี ังหวะง่าย ๆ ฟงั ได้ชัดเจน 6. เปน็ เพลงทีส่ ามารถให้ความรูแ้ ก่เดก็ ไปในตวั คมู่ ือผนู้ �ำ นันทนาการ 95
ตวั อยา่ งเพลงส�ำ หรับเด็ก 1) สอนนบั ตวั เลข เพลง นก นั่นนกบินมาลบิ ๆ ๆ นกกระจบิ 1 2 3 4 5 อกี ฝงู บนิ ล่องลอยมา 6 7 8 9 10 ตวั 2) สอนการรักษาสขุ ภาพ เพลง ฟัน ฟนั ๆ ๆ เปน็ ส่งิ ส�ำ คัญทค่ี วรรักษา ตน่ื เช้าเราลุกขึน้ มา เราต้องลา้ งหนา้ และแปรงฟนั 3) สอนการออกก�ำ ลงั กาย เพลง กายบรหิ าร ก�ำ มอื ขนึ้ แล้วหมุน ๆ ชูมือข้ึนโบกไปมา (ซำ�้ ) กางแขนขึ้นและลง ยกแขนมือแตะไหล่ กางแขนขึน้ และลง ชูมือตรงหมนุ ไปรอบตัว 4) สอนเรือ่ งอาชีพ เพลง อาชพี คนไทย ชาวประมงคือคนหาปลา ชาวนาคือคนปลูกข้าว ชาวสวนปลูกผลไม้ ชาวไร่ปลูกพืชผกั เอย 5) สอนเรอื่ งสัตว์ เพลง ชา้ ง ชา้ ง ๆ ๆ นอ้ งเคยเห็นชา้ งหรอื เปลา่ ชา้ งมนั ตัวโตไมเ่ บา ๆ จมูกยาว ๆ เรียกว่างวง มีเข้ียวใตง้ วงเรยี กว่างา มหี มู ตี าหางยาว 96 คมู่ อื ผู้นำ�นนั ทนาการ
เพลง เบ็ดเตล็ด 1. ไก่ ไก่ทฉ่ี ันเลี้ยงมนั เปน็ เพ่อื นของฉนั มันขนั ใหฉ้ ันฟัง (ซ�ำ้ ) เอ้กอี๊เอ้กไกเ่ อย 2. กว๋ ยเตีย๋ วบะหมี่ ก๋วยเต๋ียวบะหม่ี (ซำ้�) แกงกะหรี่มัสม่ัน ขนมจีนทอดมัน (ซ้ำ�) เน้ือสเต๊ะสตู แกงเน้ือ แกงหมู แกงไก่ ใสน่ ำ�้ ปลา โอ้โฮ (ซ�ำ้ ) ฉนั คือกาตม้ น�ำ้ น้อยอ้วนมอ่ ตอ้ 3. กาตม้ นำ้� นคี่ อื หูของฉนั นนั่ คือพวยกางอ ยามเมื่อนำ�้ ก�ำ ลังเดอื ด ฉนั ร้องฮอ่ ยกฉันลง แลว้ กช็ งฉนั ต่อ 4. การซิ ุม ซุม การกิ ารกิ าริซุม การิการิซุม การกิ ารกิ าริซุม การกิ ารซิ มุ ลา…ลา…ลา 5. กงมงเหมยี วขอื่ กงมงเหมียวขื่อ (ซ้ำ�) โอละฟู (ซำ้�) โอละหลีหลี อาละเหมียวขื่อ อาละเหมียวข่ือ (ซ้ำ�) ลู ลา ลู (ซำ�้ ) 6. กระต่ายนอ้ ย ฉันเป็นกระตา่ ยตวั น้อยมีหางเดียว สองหูยาวส่นั กระดุ๊กกระดุก๊ กระดิก๊ กระโดดสขี่ าท�ำ ทา่ กระดุ๊กกระด๊ิก เพือ่ นท่ีรกั ของฉันนนั่ คอื เธอ ฉนั อยากจะบิน 7. กระต่ายหมายจันทร์ ตาบอกทีน่ ั่น บนิ ไปใหถ้ ึงดวงจนั ทร์ ฉันอยากจะขอ มกี ระต่ายหลายตวั เจ้าอย่าหมองมวั ขอเอาไว้ในครวั เลยนะกระต่ายหมายจนั ทร์ กระโดด กระโดด กระโดด 8. กระโดด กระโดดเพื่อสรา้ งพลงั กระโดดให้พรอ้ มเพรียงกัน ลา ลา ลา ลา ลา กำ�ลังให้แก่พวกเรา ลา ลา ลา ลา ลา คู่มอื ผนู้ �ำ นนั ทนาการ 97
ฉันเกลียดเกลยี ดยุงสน้ิ ดี 9. เกลยี ดยุง ขาแข้งจ�ำ้ แดงแล้วซ ิ เผลอหน่อยกัดเราทุกที บนิ มา บนิ มา บินมา ดูซบิ ินมากนั ใหญ่ ไลไ่ ปบินมา (ซ�ำ้ ) บนิ มาบนิ ถลาใกลใ้ กล้ แหมช่างน่ารำ�คาญ ยามกงั หันตอ้ งลม 10. กงั หนั ตอ้ งลม ยามเห็นสุรยิ า (ซำ้�) เปน็ วงกลมเม่ือลมพัดมา รดี๊ ดงิ ร๊ิด ดิง รดิ๊ ดงิ (ซ�้ำ ) จากฟากฟ้ามาสู่แดนดนิ ถ้ารกั พีจ่ ริงอยา่ ทิง้ พไ่ี ป ถ้ารกั นอ้ งจรงิ อยา่ ท้งิ น้องไป ร๊ดี ดงิ รด๊ิ ดงิ รด๊ิ ดงิ (ซำ�้ ) 11. กรง๊ิ ๆ ๆ ๆ กรงิ๊ ๆ ๆ แลว้ กก็ ริ๊ง ๆ ๆ แลว้ ก็ตนื่ ต่ืน สวมรองเท้า สวมรองเทา้ แลว้ ก็เดนิ ๆ ๆ 12. ขนมเปย๊ี ะขนมปงั ขนมเปี๊ยะขนมปงั (ซ�ำ้ ) ขนมฝรงั่ ไสห้ มู ลอดช่องสาคู (ซ�ำ้ ) ขนมข้ีหนขู ้าวพอง ทองหยบิ ฝอยทอง เมด็ ขนุน ว้นุ น้ำ�เชือ่ มโอ้โฮ (ซ�้ำ ) 13. ความซ่อื สัตย์ ความซื่อสัตยเ์ ปน็ สมบัตขิ องคนดี หากวา่ ใครไมม่ ีชาตินี้เอาดีไมไ่ ด้ มีความรู้ทว่ มหัวเอาตวั ไม่รอดถมไป คดโกงแล้วใครจะรับไวเ้ ขา้ รว่ มการงาน 14. ความเกรงใจ ความเกรงใจเป็นสมบตั ขิ องคนด ี ตรองดซู ทิ ุกคนกม็ หี ัวใจ เกดิ มาเป็นคนถ้าหากไมเ่ กรงใจใคร คนนนั้ ไซร้ไร้คณุ ธรรมประจ�ำ ตน 15. ใครรักใคร ใครรกั ใครโค้งใคร (ซ้�ำ ) ไม่ต้องเกรงอกเกรงใจ ใครรักใครโคง้ ออกมารำ� (ซ�ำ้ ) รูปหล่อเค้าเชญิ มาเล่นเนื้อเยน็ เคา้ เชญิ มาร�ำ มองมานัยนต์ าหวานฉ่ำ� (ซ�ำ้ ) มะมาร�ำ กับพีน่ เ่ี อย ใกล้เขา้ ไปอีกนดิ ชดิ ๆ เขา้ ไปอีกหนอ่ ย สวรรค์น้อย ๆ อยูใ่ นวงฟ้อนร�ำ รปู หลอ่ ขอเชญิ มาเล่น (ซ้ำ�) เน้ือเยน็ ขอเชญิ มาร�ำ มองมานยั ต์ตาหวานฉ่ำ� (ซำ�้ ) มะมาร�ำ กบั พีเ่ อย 98 คู่มือผนู้ �ำ นันทนาการ
ยามคำ่�คนื เดอื นหงาย 16. คืนเดอื นหงาย เย็นอะไรกไ็ ม่เย็นจติ เยน็ พระพรายโบกพล้ิวปลิวมา เย็นร่มธงไทยปกไทยท่ัวหลา้ เทา่ เย็นผกู มติ รไม่เบ่ือระอา เย็นย่ิงนำ�้ ฟ้ามาประพรมเอย ง่วงไหมจ๊ะนอ้ งจ๋า 17. ง่วงไหมจ๊ะ ทำ�แลว้ สดชื่นดี (ซ้�ำ ) ต้องทำ�ทำ�ยังงี้ยังงี้ ยังงี้ยังง้สี บายใจจัง (ซ้�ำ ) 18. งูหนิ หาง งกู นิ หางเอ๋ย เอ๋ย งหู นิ หาง (ซ�ำ้ ) กนิ หวั กนิ ตวั กนิ กลาง (ซ�้ำ ) กนิ หัว กินหาง กินกลางตลอดตัว 19. งามแสงเดอื น งามแสงเดอื นมาเยอื นสอ่ งหลา้ งามใบหนา้ มาสวู่ งร�ำ (ซ�ำ้ ) เราเล่นเพ่อื สนุก เปลื้องทกุ ข์วายระกำ� ขอให้เลน่ ฟ้อนรำ� เพอ่ื สามคั คีเอย เจอะกนั วนั นี้สขุ ใจ 20. เจอะกนั สุขใจ หา่ งเธอฉันเหงาอุรา สบายดหี รือบอกมา ร้องร�ำ ดวี า่ วันนสี้ ุขใจ จับปดู �ำ ขย�ำ ปูนา 21. จับปูดำ�ขยำ�ปูนา สนกุ จรงิ เอย จบั ปมู ้า คว้าปูทะเล ชะโอละเห่ แล้วเลยนอนเปล นอนเปลหลบั ไป จบั มอื กนั ไวใ้ ห้มัน่ คง 22. จบั มอื รักกันปรองดองเหมอื นน้องพ ่ี เพือ่ ความยืนยงสามคั คี โกรธกนั มันรา้ ยเป็นสง่ิ เลว ผกู ความสามัคคมี รี ่วมกัน เผาใจให้มีความไหวหวั่น เปรียบดังเป็นเปลวรอ้ นไฟนัน่ จับมือยิ้มใหก้ นั เป็นสิง่ ดี คู่มอื ผนู้ ำ�นันทนาการ 99
ชา่ งโชคดีวันน้มี าพบเธอ (ซ้ำ�) 23. โชคดี เธอนนั้ อยสู่ บายดีหรอื ไร (ซ้�ำ ) ฉนั ดีใจจรงิ นะเออมาพบเธอ ฉันสขุ ใจ ตบมอื ไปกนั ให้พรอ้ มเพรียง (ซ�ำ้ ) มาร้องรำ�เพลินฤทัยใหห้ วั ใจสขุ ส�ำ ราญ แลว้ หมนุ กลับปรับตวั เสยี ใหท้ นั (ซ้�ำ ) ยกมือไว้ ส่ายหวั เอียง ให้พรอ้ มเพรียงตามกนั มอื ทา้ วเอวซอยเทา้ พลัน ให้พรอ้ มกันเถดิ เอย 24. ชอ่ มาลี ช่อมาลคี นดีของพก่ี ็มา สวยจริงหนาเวลาค�ำ่ คนื (ซำ�้ ) โอจ้ นั ทร์ไปไหนท�ำ ไมถึงไมส่ อ่ งแสง เดอื นมาแฝงแสงสว่าง เมฆนอ้ ยลอยมาบัง (ซ้ำ�) แสงสวา่ งก็จางหายไป ชาวไทยเราเอย๋ 25. ชาวไทย การทเ่ี รา ไดเ้ ล่นสนุก ขออยา่ ละเลยในการท�ำ หนา้ ที่ เพราะชาติเราได้เสรี เปลือ้ งทกุ ขส์ บายอยา่ งน้ี เราจึงควรชว่ ยชชู าต ิ มเี อกราชสมบรู ณ์ เพ่อื ความสุขสมบรู ณ์ ให้เก่งกาจเจดิ จำ�รญู ของชาวไทยเราเอย 26. ดซิ ินซี านงั ดิซินีซานัง ดซิ านาซานงั ดมิ านามานา ฮาติกซู านัง อย่ทู ่นี มี ีสขุ อย่ทู นี่ น่ั มสี ุข อยทู่ ไ่ี หน ๆ ๆ ก็มีสขุ ทุกเวลา 27. ดนตรี เชญิ เรามาเลน่ ดนตรี เสียงไพเราะดสี นุกคร้นื เครง พวกเรามารว่ มบรรเลง เป็นเพลงกันเอย นอย…นอย…นอย…(เสียงดนตรีแต่ละชนิด เช่น กลอง ระนาด ขลุ่ย ฉ่ิง ฉาบ ฆอ้ ง) 28. ดีดกระด่ิง ดีดกระดงิ่ ดงั กรง๊ิ กร๊ิง กรา้ ง ตีระฆงั ดังหงา่ งเหง่งจริง ตีระฆังอย่าให้ดังกรุ๊งกร๊ิง ดดี กระดง่ิ อย่าใหด้ ังเหงง่ หงา่ ง 100 คู่มือผนู้ �ำ นนั ทนาการ
โน่นทะเลแสนงาม 29. ทะเลแสนงาม มองเหน็ เรือใบ ฟา้ สคี รามสดใส หาดทรายงามเห็นรูป แลน่ อย่ใู นทะเล กุง้ หอยนานา ดซู ิดูหมปู่ ลา อยู่ในทอ้ งทะเล (ซ�้ำ ) 30. นกพิราบ พรับ่ พรึบ พรั่บ พรบึ พรบั่ ขยบั บิน (ซ�ำ้ ) ฝูงนกพิราบด�ำ และเทาน่ารกั จรงิ นา บินเวยี นวนอยู่บนหลังคาบินไปเกาะตามพฤกษา ไซรป้ ีกหางกนั อยไู่ ปมาแสงแดดจ้าพากันคนื รัง (สร้อย ลา……………………) 31. เสยี งนาง มาพวกเรารว่ มกนั เพื่ออบรม ความระทมทง้ั หลายจงเวน้ วา่ ง มาเถดิ หนาพวกเราทัง้ นายนาง อย่าอำ�พรางมีใจให้ต่อกัน (สร้อย) เสร็จอบรมพวกเราคงดีใจ ไม่ว่าใครทกุ คนคงเหมอื นข้าฯ จากกนั ไปอาลัยในเพ่ือนยา อีกไมช่ ้าเราคงไดพ้ บกนั (สรอ้ ย) 32. นกแก้ว นกเอ๋ยนกแก้ว เจ้าบินไปแล้ว เจ้าบินไปลับ บินไกล ๆ เกินไปจะโดนถูกจับขอเชิญเจ้า กลบั มาไวไว 33. นางช้าง นางช้างตัวหนึ่งออกไปเท่ียวเดิน บนใยแมงมมุ เทย่ี วจนเพลดิ เพลิน มนั เหน็ เป็นการสนกุ เหลอื ใจ มันจงึ รอ้ งเรียกให้นางช้างอกี ตัวหนง่ึ ขน้ึ มา 34. นิง้ หนอ่ ง (สร้อย) นิง้ หน่อง ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ อ๋อ น้ิงหนอ่ ง ๆ นน่ั เพลงอะไรฟังไปดงั คล้ายนิ้งหนอ่ ง แปลกใจลองฟงั ดูให้รอู้ กี ที เอา้ รบี ไปฟงั กนั เถิดหนา เสียงเพลงเพลินพามาตรงนี้ นั่นดนตรีอะไร อ๋อ นิง้ หน่อง นิง้ หนอ่ ง น้ิงหน่อง นิ้งหนอ่ ง คู่มอื ผนู้ �ำ นนั ทนาการ 101
35. เบิกบานใจ เบกิ บานใจเม่อื เราอยพู่ ร้อมเพรยี งกนั ช่ืนชีวันร้องเพลงรว่ มกนั ใจหรรษา ทุกคนย้ิมผอ่ งใสสุขใจเสยี เปน็ หนักหนา เพ่ิมไมตรรี อยยมิ้ ท่ีมีคุณคา่ หมัน่ ขยันยิม้ กันดีกว่า ทุกวันเวลาสดช่นื รื่นรมย์ 36. บรู ง กา่ กา๊ บรู ง ก่าก๊า ตูอา เมนซอก ดเี จน เดอลา เมเนอก สุด๊า ตูอา กี๊กนิ ยา ตงกาล ตูอา เรทรุม่ เรทรุ่ม เรทร่มุ อรู ารา เรทรุ่ม เรทร่มุ เรทร่มุ อรู ารา เรทร่มุ เรทรมุ่ เรทร่มุ อูรารา บรู ง กา่ ก๊า ตอู า ดวงใจใฝฝ่ ันถงึ คณุ ดวงใจหมายปองเพยี งคณุ ดวงใจเฝา้ คดิ ถงึ คุณ เพราะรกั คณุ ๆ คนเดยี ว รกั คณุ ๆ ๆ ดงั ดวงใจ รักคุณ ๆ ๆ ดังดวงใจ รักคณุ ๆ ๆ ดังดวงใจ ไมเ่ คยรักใครเท่าคุณ MY HEART LONGING TO YOU MY HEART NEEDING TO YOU MY HEART THINKING ABOUT YOU BECAUSE I LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU AS HEART LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU AS MY HEART LOVE YOU LOVE YOU LOVE YOU AS MY HEART NEVER LOVE ANYONE LIKE YOU 37. มสั บลิ ลี่ มสั บิลล่ี บลิ ล่ี บลิ ลี่ มสั บิลลอ่ี กู มั ปา อกู ัมปา ซารนิ ามูนี อูกัมปา ซารนี าบมุ่ เอกะดิน นาดนิ นาดิน เอกะดนิ นา อกู มั ปา อูกัมปา ซารินามนู ี อูกัมปา ซารนี าบุม่ โน่นแนะดวงจันทร์ ดวงจันทร์ ดวงจันทร์ โน่นแนะดวงจันทร์น้ันทอแสงมาแสงเย็นตา ในนภาคืนนี้ ฟ้างามดีดจุ จะเปน็ สีทอง เหล่าดรุณ เริงใจเริงใจ สุขฤทัยแสงจันทร์เรืองรอง สมใจปอง ดุจจะมองใดเหมือน แสงจันทร์ เตือนให้มาร้องร�ำ 102 คู่มอื ผนู้ ำ�นันทนาการ
บ่มุ บุม บมุ บมุ๋ 38. แมเ่ ขียวใบยอ หญิงใดไมเ่ คยข้องเกย่ี ว ฉันรกั เนือ้ นมุ่ แม่พุม่ เขยี ว (ซำ้�) ดอกเอ๋ย…เจ้าดอก… รักน้องคนเดยี ว แมเ่ ขยี วใบยอ 39. ยัก ย่ิงยักเราก็ยิ่งมัน ย่ิงมันเราก็ย่ิงยัก เรามายัก ยักยัก เรามายักให้มันเฮฮา โปรดหมุน ตัวเราไปให้รอบ ๆ ก่อน แลว้ ยอ้ นคนื มา 40. มาละโวยมาละวา มาละโวยมาละวา (ซ้ำ�) ลูกเด็กเล็กแดงว่ิงแข่งสับสน ปากร้องตะโกนว่า…หน่วยสีม่วง… ก็มา 41. มอเปอรแ์ ล มอเปอรแ์ ลโกวา มอเปอรแ์ ลโกวา มอเปอรแ์ ลโกวา ตอื บ่อตือโอปุย ฉันรักเธอจรงิ ๆ ฉนั รักเธอจริง ๆ ฉันรักเธอจรงิ ๆ รักเธอยิง่ กว่าใคร ฉันตอ้ งลาไปที ฉนั ตอ้ งลาไปที ฉันตอ้ งลาไปทีทั้งทส่ี ดุ อาลัย 42. แมส่ ะเรียง เรียมยนิ เสียงแม่สะเรียงรอ้ งเรียก สาดนำ�้ ตัวเปียกฉ่ำ�เม่อื วนั ดำ�หัว เย็นระรื่นชื่นกายผ่อนคลายที่ไดห้ มองมวั โอ้เจา้ สายบัวพจ่ี ำ�จรจากเจา้ ไกล พ่รี กั หว่ งใยแมส่ ะเรียง อกเรียมตรมระทมเพราะห่วงอาลยั (ซำ้�) ใจนางหนอนดั ใหร้ อ ณ ศรสี ะเกษ เสาะหาท่ัวเขตกไ็ มพ่ บทรามวัย จวนจะค�ำ่ รอน ๆ งามงอนเจ้าอยแู่ ห่งใด เรยี มรอสายใจ ณ รมิ หว้ ยน�ำ้ ค�ำ ท่นี ัดประจ�ำ ของเรา อกเรยี มตรมระทมเพราะห่วงนงเยาว์ (ซ้ำ�) รอ้ งเพลงกันเถดิ นะจะ๊ 43. มาร้องเพลงกัน มาเรามารอ้ งรำ�ทำ�เพลง ฟงั เสยี งเพลงแล้วชืน่ ใจ ฟังเสียงเพลงแลว้ ช่ืนใจ มาเรามารอ้ งรำ�ทำ�เพลง มาเรามาร้องรำ�ท�ำ เพลง ซุมบา ซมุ บา ซุมบาซะ (ซ�ำ้ ) มาเรามาร้องรำ�ทำ�เพลง แตรด แตรด แตร่ แตรด แตร่ แตรด แตร่ (ซ�้ำ ) คมู่ ือผูน้ ำ�นนั ทนาการ 103
44. มองหา มอง ๆ หา ขวัญตาเจ้าอย่แู ห่งใด มอง ๆ ไปขวญั ใจทำ�ไมไม่มา เธอหลอกให้พ่มี ารอ โอห้ นอชา่ งเป็นไปได้ เป็นเพราะเหตุอนั ใดขวญั ใจทำ�ไมไม่มา (ซ�ำ้ ) มองเสยี จนเก้อครู่ กั เธอนัน้ คอื ใครกัน มอง ๆ ไปจติ ใจไหวหว่ัน (ซำ�้ ) คู่รักฉนั คล้ายกนั กับเธอ (ซ้ำ�) 45. เมื่อยจรงิ เมอ่ื ยจริง เมือ่ ยจรงิ เมือ่ ยจริง เมอื่ ยจรงิ อยา่ นัง่ นิง่ อยู่กับท่ี ลุกขึน้ ยนื ตบมอื 3 ที (ซ้�ำ ) ออกวง่ิ เร็วร…่ี จบั เพ่ือน…คน 46. มาสขุ กันหนา มาสนุกกันหนา มาสัญญาร่วมผกู พนั ตะระแรก็ แท็ก ๆ แผ่นดนิ ถนิ่ น้ี ทง้ั กลาง เหนือ ใต้ อสี าน สามัคคเี ราอยูร่ ่วมกัน ไม่มเี ส่อื มคลายตะระแร็กแทก็ ๆ 47. แมลงตัวหนง่ึ มแี มลงตวั หนง่ึ บินมาเกาะจมกู กระตา่ ย (3 ครงั้ ) มันจึงปัด มันจงึ ปดั แมลงจึงบินหนีไป 48. แมลงวัน แมงหว่ี แมงวนั แมงหวี่ แมงหวี่ แมงวัน ยุง่ ยงุ่ ยงุ่ เพราะมนั ตกี ัน แมงวัน แมงหว่ี 104 ค่มู ือผ้นู ำ�นนั ทนาการ
เพลง นนั ทนาการ 1. สามัคครี ว่ มใจ สามคั คีรว่ มใจ เร็วไวชว่ ยกนั ทำ�การงาน ด้วยความส�ำ ราญเรงิ ใจ มาชว่ ยกันหนาทรามวัย จะได้เสรจ็ ทันใคร ๆ ก็พากนั ยกยอ่ ง (สร้อย) ลนั ลา ลัน ลา ลัน ลา 2. ตา ตาเราเหน็ เราจงึ พูดเราจึงทำ� ฝกึ เป็นประจำ�เราจะเก่งเราจะเกง่ ตาเราไม่เห็นเราไมพ่ ูดเราไม่ท�ำ จะไมเ่ พลี่ยงพล�ำ้ เราจงจำ�ทุกเวลา 3. ฮิฮะฮะ ฮิ ฮะ ฮะ (ซ้าย) ฮิ ฮะ ฮะ (ขวา) มาสนุกสนานให้สขุ สำ�ราญบานใจ ตบมอื พลนั (ซ้ำ�) ต่างร้อง ฮิ ฮะ ฮะ 4. เพลงระบำ� ก.ไก่ ร�ำ ระบ�ำ กอไก่ ขอไข่ ขอขวด คอควาย พวกเราหญิงชาย (ซ�ำ้ ) ออกกำ�ลงั กายสา่ ยเอวไปมา (ซำ้�) วันนี้ร่นื เรงิ 5. อยคู่ ่ายพักแรม สำ�ราญสขุ สนั ตอ์ รุ า พวกเราตา่ งมา มาอยูค่ า่ ยพักแรม เรารอ้ งเรารำ� ยามเม่ือมาพักแรม สบายคลา้ ยคืนจันทรแ์ จ่ม พักแรมสุขสันต์อุรา (ซ้ำ�…) คมู่ อื ผูน้ ำ�นันทนาการ 105
6. เพ่ือนเอยสุขใจ เพอ่ื นเอยสุขใจ เม่ือเราได้อยดู่ ว้ ยกนั ทำ�งานและเล่นด้วยกนั เธอกับฉนั รักใคร่ ทกุ คนปรองดอง เรามิไดข้ ้องเคอื งใจ เราพรอ้ มให้อภัย ใจมิเปลี่ยนแปรผัน ถงึ คราวงานมี เราน้ีกช็ ว่ ยกันท�ำ ถงึ ล�ำ บากก็ตาม แตเ่ รานัน้ ท�ำ ดว้ ยในรา่ เรงิ ทุกวนั เวลาเรากลมเกลยี วกันเอย 7. วง่ิ แขง่ ออกก�ำ ลงั กาย พวกเราชายหญิง อย่ามัวอย่นู งิ่ วิ่งแขง่ พร้อมกนั เรว็ ซริ ีบอวด กวดฝีเท้าให้ทนั ใครเก่งคนนัน้ ถึงเสน้ ชัยก่อน เอา้ เฮฮ้ าเฮ 8. ออกก�ำ ลังสุขใจ ออกกำ�ลงั กาย เยโ้ ย้โยกไป มาซ…ิ มาซ…ิ ทำ�ให้ใจของเราสุขสันต์ ย้มิ แยม้ ใหก้ ัน เรว็ เข้าซิมาเตน้ ให้มัน ชีวิตสุขสันต์ดงั ขน้ึ วิมาน มองขนึ้ ไปบนทอ้ งฟ้า 9. มองจนั ทร์ เหม่อมองจ้องไป เห็นดวงจันทราชา่ งสดสวยวไิ ล นทิ านโบราณเล่า เห็นมีกระต่ายอยบู่ นดวงจันทร์ วา่ บนดวงจันทร์นนั้ จริงหรอื เปลา่ ชว่ ยบอกฉนั มีกระต่ายจรงิ ไหมเอย 10. ยง่ิ มองย่ิงงาม นด่ี ู ซดิ ู ซิดู เธอน้ันงามจริง (ซำ้�) งาม ๆ ๆ ยงิ่ มอง ยิ่งงาม (ซ้ำ�) ยงิ่ มอง ย่ิงงาม (ซ้�ำ ) ยงิ่ มอง ย่งิ งาม (ซำ้�) กร้ิง กร้งิ กร้งิ 11. นาฬกิ าปลกุ เราตืน่ เราตน่ื สวมรองเท้า (ซ้ำ�) แล้วกก็ ร้งิ กรงิ้ กร้งิ แล้วก็เดิน เดนิ เดนิ 106 คมู่ อื ผู้นำ�นนั ทนาการ
เชิญเรามาเล่นดนตรี 12. รื่นเรงิ ดนตรี พวกเรามาร่วมบรรเลง เสยี งไพเราะดีสนกุ ครื้นเครง (ซ้ำ�) เอ้ยโอละหน่าย เปน็ เสยี ง ……(ป่ี)……เอย โอละหนา่ ยหนอ่ ยเอย… มา มา มองดซู ิ 13. เพอื่ นฉนั เพอื่ นฉนั นน้ั มีมากมาย มีเพอ่ื นเราอยู่ไหน (ซำ้�) ฉันยังจำ�ช่ือได้ ชอื่ วา่ … 14. ดอกทานตะวัน ดอกทานตะวันช่างงามหรู งามเชิดชบู านแขง่ กับแสงตะวัน แดดจะรอ้ นลมจะแรงสกั เพียงไหน ยังสไู้ ด้ไม่เหีย่ วและเฉาพลัน เราเป็นเยาวชนไทย จงมารว่ มใจร้องเพลงกันดีกวา่ (ซำ้�) ลนั ๆ ๆ ๆ เราพบกนั แสนยนิ ดี 15. พบกันแสนยินดี ความสัตยซ์ อ่ื คอื เร่อื งใหญ่ …นม่ี ีไมตรีใฝค่ ุณธรรม รวมน้ำ�ใจ สามคั คมี ตี ่อกนั สขุ เอยสขุ ใจ 16. สุขใจ มาเถิดหนาคนด ี แจม่ ใสร่าเรงิ เต็มที่ (ลันลาลันลาลนั ล่า) ขอเชิญน้องพีม่ ารอ้ งเพลงกนั เราชวนกันบนิ (ซ้ำ�) 17. เราชวนกันบิน ตา่ งพากนั บิน (ซ้ำ�) บนิ ไปด้วยกนั เกาะลงตรงหนา้ นกตวั หน่ึง บนิ ไปดว้ ยกนั ตา่ งชวนกันออกไปรอ้ งเพลง คู่มอื ผนู้ �ำ นันทนาการ 107
…นหี่ นา 18. …ว่องไว มีใจเร่ิงรา่ สะอาดอดทน พาเราวอ่ งไวทกุ คน (ซำ�้ ) ไกท่ ่บี า้ นฉนั 19. ไก่ซง่ิ มันขันไดไ้ พเราะดี โกง่ คอแล้วขัน ดังเสียงลั่นธรณี ลา ๆ ๆ ๆ โอก อี๋โอ๊กโอก๊ …………โอ้ก โอ๊ก โอ๋ก โอก่ โอ้ก โอก เอก อ๋ีเอก๊ เอก๊ …………เอก๊ เอ๋ก เอก เอ๊ก เอก้ เอก ออก ออ๋ี อ๊ กออ๋ ก………ตา๊ ก ต๊าก ตาก ตาก ต้าก ต๊าก ยามเดนิ เยือ้ งย่างมา สองตาวาวมองหาคใู่ จ เดินโดดเดย่ี วไป สุดเหงาใจจรงิ นะไก่เอย ลา ๆ ๆ ๆ อกั ษรชอื่ ฉัน 20. อกั ษรร�ำ ลึก เพอ่ื แลกสัมพันธไ์ ว้เตอื นเพ่อื นใจ มอบไว้ให้เธอถ้าหากได้เจอคงจ�ำ กนั ได ้ แม้ไกลอย่าได้ลมื กัน (ซำ�้ ) 21. มารว่ มร้องเพลงกัน มาเถิดเรามา มารว่ มร้องเพลง พวกเราท้งั นัน้ ลุกขนึ้ พลันทนั ที แล้วเราก็หันหนา้ มาหากัน ยกั ค้ิวใหก้ ันแลว้ ตบมอื 3 ที เสร็จพลนั แล้วกห็ ันกลับมา สนุกหนักหนาแลว้ สา่ ยเอว 5 ที 22. ก.ไก่ (สรอ้ ย) ล้า ลา ลา้ ลา ล่า ลา ล้า ลา่ ลา ลา ลา่ ล้า ลา่ ลา ก.ไก่ เอาไว้ท่แี ก้ม ป.ปลา เอาไว้ที่ปาก ต.เต่า เอาไว้ทต่ี า เอา ม.ม้า ไว้ทีจ่ มูก (สร้อย) ล.ลิง เอาไว้ที่ไหล ่ ข.ไข่ เอาไว้ท่แี ขน เอา ฟ.แฟน ไวใ้ นดวงใจ (ซ้ำ�) (สรอ้ ย) 108 คมู่ ือผนู้ ำ�นนั ทนาการ
ยงิ่ ยักเรากย็ ิง่ มนั 23. ย่ิงยักย่ิงมัน ยง่ิ มันเรากย็ ่ิงยกั เรามายัก ยกั ยัก เรามายักให้มนั ฮาเฮ โปรดหมุนตัวเราไปใหม้ ันรอบ ๆ ก่อนแลว้ ค่อยยอ้ นคืนมา เรายกั เอวไปทางซ้าย แลว้ ยา้ ยเอวไปทางขวา เรามายกั ซา้ ยขวา เรามายกั ให้มันฮาเฮ ลา ๆ ๆ ๆ 24. แมงมุมลาย ฝนั เป็นแมงมมุ ลาย คอยชกั ใยจับเหย่ือ ดูไมเ่ บ่อื …คอยจบั เหย่อื แล้วกลบั ไปนอน แด…แด…้ แด่…(ซ้ำ�) 25. สามลอ้ เรงิ ใจ ไปซิ…มาซ…ิ มานั่งแทก็ ซสี่ ามลอ้ เมอื งไทย (ซ�ำ้ ) ดีดกระดง่ิ …กรุง๊ กรง้ิ เป็นเพลง…(ซ้ำ�) มารว่ มบรรเลง…เปน็ เพลงฮาวาย โป๊หน่อย ๆ ๆ ๆ ๆ ปดิ หน่อย ๆ ๆ ๆ ๆ เรยี งมาเรยี งล�ำ ดบั 26. เรยี งลำ�ดับ ลำ�ดับ ๆ ก่อนหลงั คนน่าชงั (ซ�ำ้ ) เรามาทีหลังไมเ่ รยี งลำ�ดบั มาก่อนตอ้ งอยู่ข้างหนา้ มาช้าตอ้ งอยู่ถดั ไป จ�ำ ไวน้ ะผู้เข้ารับการอบรมไทย (ซ�ำ้ ) ระเบยี บวนิ ยั เป็นส่ิงส�ำ คญั (ซำ�้ ) สตู รคณู เพลินเพลง 27. สูตรคูณเพลนิ เพลง 2-1-2 บรรเลงแลว้ ท่อง 2-2-4 ใครมัวย้ิมย่อง 2-3-6 ไม่ทอ่ งกล็ มื ลมื ลมื 2-4-8 มาซิมาฟงั เขาซี ทอ่ งไปเรว็ ๆ 2 - 5 - 10 … ค่มู ือผนู้ �ำ นนั ทนาการ 109
28. เพื่อนรัก เพอื่ นเอย๋ เพือ่ นรัก ฉันเคยรู้จักเพื่อนรักอยไู่ หน ลุกขึ้นยนื แล้วจ้องมองไป (ซ�ำ้ ) เอ๊ะ ? นน่ั ยงั ไง… (เรยี กช่อื ) …นั่นเอง เราเป็นคนไทย 29. เราเป็นคนไทย พูดจาภาษาไทย อาศัยบนแผ่นดนิ ไทย แต่งกายแบบไทย เราเป็นคนไทย ทั้งกายและทัง้ ใจ เรารักแผน่ ดนิ ไทย บ้านเกิดเมอื งนอนของเรา ลมบก ลมทะเล 30. ลมบก-ลมทะเล อากาศถา่ ยเท ผลดั กัน ๆ ลมะเลนนั้ พดั กลางวนั สว่ นลมบกน้ัน พดั ยามค�ำ่ คืน เกิดลมเพราะความรอ้ นเย็น… ผลดั เวรกัน ทุกวนั ทกุ คืน ลมพาน�ำ้ มาเป็นคลืน่ หวั ใจเต็มตน้ื อยากอยู่ทะเล ๆ 31. เพลง ร, ล เริงระบ�ำ รำ�เริงรมย์ เราระทมรอ้ งเพลงเพลินใจ เป็นเสียง ร และ ล เคล้ากนั ไป ออกเสยี งใหช้ ดั เจน ร, ล ลมล้อเลยี นเหลิงลอยลีลา ครวญครำ�่ มาคลุกคลรี ีรอ ใครรอ้ งเพลงเสยี งกรอกกริกกรอ ร และ ล เคลา้ ไปในเพลง ลา…ล้า ลา ล้า ลา ร, ล (ซ�้ำ ) ลา…ลา้ ลา ลา้ ลา ร, ล (ซ�้ำ ) 110 คมู่ ือผนู้ �ำ นนั ทนาการ
มารว่ มกันรอ้ งบรรเลง 32. มาร้องบรรเลง ร้องเปน็ เพลงสามช่า มาซมิ า มาซิมา มาร่วมกนั รอ้ งบรรเลง ฮยี า้ ยาหยา่ ฮีย้ายาหยา่ เอวเธอหายไป จา๊ สวัสดีจา้ 33. ผู้เข้ารบั การอบรมดี หนเู ปน็ ผ้เู ข้ารบั การอบรมดีไมม่ ปี ัญหา (ซ้ำ�) ตา หู จมกู ปาก ตา หู จมกู ปาก ตา หู จมกู ปาก ตา 34. เราตอ้ งรกั กันไว้ (สรอ้ ย) เราต้องรักกันไว้ ๆ ๆ ๆ อยู่แหง่ ไหน เหนอื กลาง ใต้ อีสาน หรอื ที่ใด เราพรอ้ มจะรว่ มใจ เพ่ือชาติไทยเราพฒั นา (สร้อย) มีควายตัวหน่งึ 35. ควาย ลงมาจากภูเขาใหญ่ เปน็ เวลานาน (ซ�้ำ สูง) โอโ้ อโอน๋ านนานมาแลว้ เดอะบก๊ิ คาราบาว คมั ดาวนฟ์ อรม์ เมาทเ์ ทน่ ลอง ไทม์ อะโก (ซำ้�สรอ้ ย) โอโอโอ๋ ลอง ไทม์ อะโก มาเล่นจะ๊ เอ๋ 36. จ๊ะเอ๋ เหล่า เร เร่ (ซ้ำ�) มาเลน่ จะ๊ เอ๋ มาเลน่ จะ๊ เอ๋กนั ดกี ว่า มาเลน่ จ๊ะเอ๋กันดีกวา่ แล แหล่ แล (ซำ�้ ) ฮปิ ฮิปโป 37. ฮิปโป มันเดินอุ้ยอ้าย โอ้โหตวั มันใหญ่ ฮิป ฮิปโป ลนั ล่นั ลา ลน้ั ลา ลนั ลา อทิ วอค สโลลี่ โอโ้ ห บ๊ิกบอดี้ ลนั ล่นั ลา ล้ัน ลา ลัน ลา คมู่ อื ผนู้ �ำ นันทนาการ 111
ลกู ช้างท�ำ ไมจึงตวั ใหญ ่ 38. ลูกช้าง ลูกไก่ ลกู ไกท่ ำ�ไมจึงตัวเลก็ (ซ้�ำ ) คิดจนปวดหัวคดิ จนปวดหวั คดิ กค็ ดิ ไมอ่ อก ลนั ลา ลัน ลา (สร้อย) อเี ลฟเฟน่ วายอาเดโซบิก๊ ชคิ เคนิ วายอาเดโซสมอล (ซ�ำ้ ) ติ้ง ดยู โู นวาย ดูยโู นวาย แคนยเู ทลมี ล้ันลา ลนั ลา…(ซำ�้ ) 39. สขุ อนามยั (สร้อย) ดวิ ดวิ ด้วิ … อาบน้ำ�แลว้ สบายตวั สบายหวั เพราะหมนั่ สระผม ตัดเล็บท่ีมันแหลมคม ปากหอมนา่ ดมเพราะวา่ หนูแปรงฟัน (สร้อย) 40. ตดเป็นพิษ หนู หนู โปรดฟังสกั นิด ตดเปน็ พิษโดเรมอนเปน็ ลม อกิ คิวซังควกั ขเ้ี ตา่ ออกมาดม (ซำ�้ ) โดเรมอนเปน็ ลมเพราะวา่ ตดเปน็ พิษ ฉนั และเธอเจอกัน 41. สวสั ดีเพอ่ื นเอย แทบทุกวนั เลยเชยี ว เม่ือเจอะกนั เราทกั กัน ผูกสมานไมตรี ย้ิมให้เธอทีไร สุขฤทัยเปรมปรีด์ิ ได้พูดจาพาท ี สวสั ดเี พอ่ื นเอย ฮอนดา้ ซซู กู ิ (ซ้�ำ ) 42. รวมรถมอเตอร์ไซด์ มติ ซมู ิชิ ข่ีมา โน้น ยามาฮ่า (ซ้�ำ ) เวสป้า คาวา ก็มี บเี อ็มดับบิว ฮาเล่ เกเ๋ หลือเกนิ โอ้โห (ซ�้ำ ) 112 คู่มือผนู้ ำ�นันทนาการ
ซูซกู ิ ฮอนดา้ ยามาฮ่า 43. มอเตอร์ไซคซ์ ง่ิ ยามาฮา่ ฮอนด้า ซูซูกิ ซง่ิ ไปซ่ิงมาหวั บ ิ ซูซูกิ ฮอนด้า ยามาฮ่า ฮา ฮา่ ฮ้า บา้ นของฉนั นั้นมนี าด ี 44. บา้ นของฉนั เอ อี ไอ โอ ยู แต่ในนานนั้ ฉนั มเี ป็ดมาก เอ อี ไอ โอ ยู โน้นกก็ ๊าบ ๆ น่กี ็ก๊าบ ๆ กา๊ บโน้น ก๊าบน่ี ทกุ ทีก่ ็กา๊ บ ๆ 45. รว่ มใจต้านยาเสพติด มาร่วมใจกัน เพอื่ สร้างพลัง สิ่งทม่ี ุง่ หวัง ตา้ นยาเสพตดิ เร่อื งยาเสพตดิ เป็นสง่ิ มอมเมา ใครติดโงเ่ ขลา พวกเบาปญั ญา มาพวกเรา อย่าหลงมัวงมงาย พลาดพล้ังไป พงั ทลายจรงิ จริง เพือ่ นเอ๋ย (รอ้ งตาม) 46. เพอ่ื นเตือนเพ่ือน อย่าเป็นเลยคนตดิ ยา แสนโทรม ยาทำ�ลายเราหนา ถ้าเพื่อนคนใด หลงไปติดยา จงเลิกเถอะหนา มาเลน่ กีฬาดกี วา่ เอย… ยาบา้ ทำ�อยา่ งไรไมค่ วรร ู้ 47. ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ เราควรสู้ก�ำ จัดให้หมดไป มันจะเยอะหรอื จะมากสักเพยี งไหน เราสู้ได้ดว้ ยพลังของเรา เราเปน็ เยาวชนไทย จงมารว่ มใจต่อตา้ นยาบ้า (สร้อย) ลนั ลา ลนั ลา ลัน ลา ลัน ลนั ลนั ลา ลัน ลา ลนั ลนั ลา รกั ในหลวงห่วงลกู หลาน 48. รักในหลวง ร่วมกันต้านเอย๋ ยาเสพตดิ คนเสพจะตอ้ งถงึ ตาย (ซำ�้ ) ส่วนคนขายต้องประหารชีวิต แลน แล่น แล และ แล่น แลน แล คมู่ อื ผนู้ �ำ นันทนาการ 113
ดสิ ซี้นซี ีนัง ดสิ ซาน้าซานัง 49. มสี ขุ ทุกเวลา เฮบานาบานา อาอีปูซานัง ดิสซีน้ ีซนี ัง ดิสซาน้าซานัง เฮบานาบานา อาอีปซู านัง ลัน่ ลา ลั้น ลา ลัน ล่นั ลนั่ ลนั้ …(สรอ้ ย) อยู่ท่บี า้ นมีสขุ มาอบรมก็มีสขุ อย่ทู ไ่ี หน ไหน ไหน มสี ขุ ทุกเวลา อยูท่ บี่ ้านมสี ุข มาอบรมก็มสี ุข อยทู่ ่ีไหน ไหน ไหน มีสุขทกุ เวลา ลั่น ลา ลัน้ ลา ลนั ลนั่ ล่นั ลั้น…(สรอ้ ย) 50. ตีไก่ ตีกอลฟ์ เศรษฐบี า้ นนอกตีไก่ เศรษฐบี ้านในตีกอลฟ์ (ซ้�ำ ) เราคนจนอยู่ในกระตอ๊ บ (ซ�้ำ ) ไมไ่ ดต้ ีกอลฟ์ ไมไ่ ด้ตีไก่ 51. บา้ นทรายทอง บา้ นทรายทองมพี จมาน มชี ายกลางหญิงเล็กหญิงใหญ่ มชี ายน้อยเดินไมค่ ่อยได้ ผหู้ ญิงใจร้ายกค็ ือหม่อมแม่ (ซ�้ำ ๆ ๆ) 52. อบรมสุขขี อบรมครง้ั น้ีสขุ ขเี สยี จริง พวกเรานนั้ ทำ�ทกุ สงิ่ ดีจริงสมัครสมาน การงานส่วนรวม…ทุกคนต่างชว่ ยกัน ชวากหนามใดใดไมห่ ว่นั เสร็จเรว็ พลนั เพราะเราร่วมใจ 53. แก้ง่วง ง่วงจริง ๆ ง่วงจริง ๆ ง่วงจริง ๆ ง่วงจรงิ ๆ อย่านัง่ นิง่ อยกู่ ับที่ ลุกข้นึ ยืนตบมือสามที น่งั ลงกบั ท่ี แล้วจะหายง่วงเอย 114 คมู่ อื ผนู้ �ำ นนั ทนาการ
54. วนั นีม้ คี วามสขุ วนั นีเ้ รามคี วามสขุ (ซ้ำ�) เราทุกคนนน้ั มีความสขุ (ซ�้ำ ) ลัน ลา ๆ ๆ ลา… อารัมซัมซัม 55. อารมั ซัมซมั อารมั ซมั ซัม กนิ รี กินรี กินรี กินรี อารัมซัมซมั อาลา้ เม อาล้า เม กินรี กินรี กินรี กนิ รี อารมั ซมั ซมั ดมู ือเธอด�ำ 56. ดูมอื เธอด�ำ ดมู อื เธอด�ำ ดซู ี ดูซี ดูซี ดซู ี ดูมอื เธอด�ำ ไปลา้ งซไิ ปลา้ งซิ ดูซิ ดซู ิ ดูซ ิ ดูมอื เธอดำ� 57. มากินสม้ ต�ำ มากนิ ส้มต�ำ มากินสม้ ต�ำ มาซี มาซี มาซี มาซี มากนิ ส้มตำ� ปลารา้ มี ปูดองมี มาซี มาซี มาซี มากินส้มตำ� 58. โอเ้ พอื่ นรัก โอเ้ พื่อนรัก เรามาพบกนั (ซ้ำ�) สวัสดี สวสั ดี (ซำ้�) สบายหรอื สบายดี เรายินดีทไ่ี ด้พบกัน (ซำ้�) คูม่ อื ผ้นู �ำ นนั ทนาการ 115
เอกสารอา้ งองิ พลศึกษา, กรม. (2553). คู่มือผู้นำ�นันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำ�กัด. 116 คมู่ อื ผนู้ �ำ นันทนาการ
บทที่ 5 กิ จกรรมเตรียมความพร้อม ความหมายของกจิ กรรมเตรยี มความพร้อม เป็นกิจกรรมง่ายๆ ท่ีทุกคนทำ�ได้ มุ่งเน้นในเร่ืองของสมาชิกและดึงดูดความสนใจให้ ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม ทำ�ให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เกิดความตื่นตัว กระตือรือร้น สนุกสนาน ครื้นเครง สร้างบรรยากาศแห่งมิตรภาพ เป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ และ อารมณข์ องสมาชกิ ท่ีจะเข้าร่วมกิจกรรมอ่นื ๆ อีกตอ่ ไป ความสำ�คญั ของกจิ กรรมเตรียมความพรอ้ ม ในช่วงต้นช่ัวโมงของการเรียนการสอน หรือการฝึกอบรม เราอาจจัดให้มีกิจกรรมท่ีใช้ ระยะเวลาสั้น ๆ สัก 3-5 นาที ท่ีจะรวมความสนใจของทุก ๆ คนให้มาอยู่ที่ผู้สอนหรือวิทยากร เน่อื งจากบางครั้งเมอื่ ผู้เรียนมานั่งในชั้นเรียนแล้วก็อาจจะยังคุยกันอยู่หรือท�ำ กจิ กรรมส่วนตัว เช่น คยุ โทรศัพท์ นงั่ หลบั เหมอ่ ลอย ดังน้นั กอ่ นการบรรยาย หรือเข้าสเู่ นื้อหาสาระ เราอาจใช้วธิ กี าร ต่าง ๆ ที่จะทำ�ให้แต่ละคนหยุดพฤติกรรมส่วนตัวเสียก่อนให้มาทำ�กิจกรรมกลุ่มตามที่ผู้สอน หรือวิทยากรเลือกนำ�มาใช้กับผู้เรียน เพื่อกระตุ้น ปลุกเร้าให้ต่ืนตัว สร้างความครึกครื้น คืนความคึกคักให้เกิดความสดช่ืนกระปร้ีกระเปร่า และพร้อมท่ีจะร่วมเรียนรู้ หรือปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ในทำ�นองตรงข้าม ถ้าเราละเลยที่จะรวมความสนใจก่อนก็อาจทำ�ให้เกิดปัญหาในการ สื่อสารท้ังผู้พูดและผู้ฟัง ซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ี อาจเรียกว่ากิจกรรมเตรียมความพร้อม หรือกิจกรรม สร้างบรรยากาศก่อนเรียน ที่ท่านจะต้องเลือกและนำ�ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับเพศ วัย สถานภาพ สถานที่ ช่วงเวลาของวัน เชน่ เชา้ สาย บา่ ย เยน็ และระยะเวลาทจ่ี ะอ�ำ นวยให้ รวมทงั้ ต้องเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับตัวผู้นำ�กิจกรรมเองด้วยกิจกรรมสร้างความสนใจนี้ ถ้าใช้กับเด็ก ปฐมวัยจะเรียกว่า การเก็บเด็ก ซ่ึงได้แก่ การตบมือ การส่งเสียงร้อง การกระโดด การร้องเพลง การมีปฏิกิรยิ าหรือเคล่อื นไหว และตอบสนองตอ่ ค�ำ พดู ของผู้น�ำ กิจกรรม เปน็ ตน้ กิจกรรมเหลา่ นี้ อาจใชเ้ ม่อื ผเู้ รยี นเริ่มขาดความสนใจ หรอื ช่วงเวลาง่วงเหงาหาวนอนอกี ก็ได้ คมู่ ือผนู้ ำ�นันทนาการ 117
ตัวอย่างกิจกรรมเตรียมความพรอ้ ม ได้แก่ 1. กิจกรรมการฟงั อยา่ งมสี ติ 2. กิจกรรมตบมอื รวมความสนใจ 3. กจิ กรรมตบมือเสียงรถไฟ 4. กิจกรรมตบมือตามสัญญาณมอื 5. กจิ กรรมตบมือรวมพลัง 6. กิจกรรมตบมอื แปรงฟัน 7. กิจกรรมตบมอื มหาสนุก 8. กิจกรรมตบมอื เห็นด้วย 9. กจิ กรรมตบมอื ลอยฟ้า 10. กจิ กรรมตบมือแพะกับแกะ 11. กิจกรรมตบมือ-กระทบื เทา้ 12. กจิ กรรมยกมอื สง่ เสยี ง 13. กจิ กรรมพร้อม-เฮ้ 14. กจิ กรรมฝนตก-ฟา้ รอ้ ง-ฟา้ ผา่ 15. กจิ กรรมอ-ี่ อ้า-อุ้ย-โอ้ย 16. กจิ กรรมไอโ้ ตง้ ไอ้แจ้ และแมไ่ ก่ 17. กจิ กรรมตบมือใหจ้ ังหวะ 118 คู่มือผนู้ �ำ นนั ทนาการ
กจิ กรรมท่ี 1 การฟังอยา่ งมสี ติ การมีสติจะทำ�ให้เรามีความรู้สึกตัวอยู่ในขณะปัจจุบัน มีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานหรือ ทำ�อะไร ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่พลั้งเผลอเพราะใจเหม่อลอย ซ่ึงอาจเกิดความผิดพลาด เสียหาย เสียโอกาส หรอื เกดิ ความสูญเสียได้ สติช่วยให้รับรอู้ ย่างเท่าทันตามความเป็นจริง และตอบสนอง อย่างถกู ตอ้ งทันเวลาและเกิดประโยชน์ทคี่ วรจะไดร้ บั วธิ ีการจัดกจิ กรรม เม่ือผู้นำ�ต้องการเริ่มกิจกรรม อาจใช้คำ�ถามทักทายสัก 2-3 คำ�ถามให้ผู้เรียนแสดง ปฏกิ ิริยาตอบสนองโดยการเคลื่อนไหว ยกตวั อยา่ ง เชน่ 1. “วันน้ใี ครมคี วามสุขยกมือขึ้น” (ผสู้ อนยกมอื ขึ้น ผเู้ รียนยกมอื ตาม) “ใครมีความทกุ ขล์ ดมอื ลง” (ผู้สอนเอามอื ลง ผู้เรียนส่วนหน่ึงลดมือตาม) ผู้น�ำ : คนท่ีลดมอื ลงสขุ หรือทกุ ขก์ นั แน่ หรือสุข ๆ ทุกข์ ๆ 2. “ใครยังมีชวี ิตอยยู่ กมือขึน้ ” “ใครเสยี ชวี ติ แลว้ ลดมอื ลง” ผนู้ ำ� : คนท่ีลดมอื ลงคิดว่าตวั เองเสียชวี ิตแลว้ หรอื ยงั ไม่แนใ่ จ 3. “ใครเปน็ ผูช้ ายยกมือขึ้น” “ใครเปน็ ผู้หญิงลดมือลง” ผูน้ ำ� : คนทีย่ กครง่ึ ๆ กลาง ๆ หรือคนท่ียกมือข้ึนแลว้ ลดมือลงอาจจะยงั คงสับสน อยคู่ งเปน็ กองกำ�ลังไม่ทราบฝา่ ยไมร่ ูจ้ ะอยู่ฝา่ ยไหนดี 4. “ใครดีใจท่ีเกดิ เปน็ คนยกมอื ขน้ึ ” “ใครเสียใจลดมอื ลง” 5. “ใครเปน็ คนดียกมือข้ึน” “ใครเป็นคนบ้าลดมอื ลง” 6. “ใครเปน็ ผหู้ ญงิ ใหย้ ืนข้นึ ” “ใครเปน็ ผู้ชายใหน้ ัง่ ลง” 7. “ใครเป็นผชู้ ายให้ยืนขนึ้ ” “ใครเป็นผู้หญิงใหน้ ่ังลง” 8. “ใครยังไม่หลบั ยกมือขนึ้ ” “ใครหลับแลว้ ลดมือลง” 9. “ใครใส่กางเกงในตัวเดียวยกมือขึ้น” “ใครไมใ่ ส่ลดมอื ลง” 10. “ใครหน้าตาดียกมือขน้ึ ” “ใครขเ้ี หร่ลดมอื ลง” ค่มู ือผูน้ ำ�นนั ทนาการ 119
11. “ใครทานขา้ วเท่ยี งแลว้ ยกมอื ขนึ้ “ “ใครยังไมท่ านลดมอื ลง” 12. “ใครมีแฟนแลว้ ยกมอื ขึ้น” “ใครไม่มีแฟนลดมอื ลง” 13. “ใครมแี ขนขวาข้างเดียวยกมอื ขึน้ ” “ใครมีแขนขวาสองขา้ งลดมอื ลง” ผู้นำ�กิจกรรมคอยสังเกตปฏิกิริยาการตอบสนอง และชวนคุยเพ่ือให้เกิดความ สนุกสนาน เม่ือรวมความสนใจได้แล้ว ก็อาจกล่าวถงึ ประโยชน์ของการมสี ติ หมายเหตุ กิจกรรมน้ีสามารถหาคำ�พูดหรือคำ�ถามมายั่วยุให้ตอบสนองในรูปแบบ ต่าง ๆ ได้ เช่น ให้หัวเราะดัง ๆ, ให้ก้มหน้า-เงยหน้า, ให้หลับตา-ลืมตา เป็นต้น เลือกนำ�มาใช้ เพียง 2-3 คำ�ถาม ก็น่าจะเพียงพอในการรวมความสนใจมาไว้ที่ผู้นำ�กิจกรรมทำ�ให้ผู้เรียน ทุกคนพร้อมทีจ่ ะรับฟงั และเรียนรไู้ ปพร้อม ๆ กนั 120 คมู่ ือผนู้ ำ�นันทนาการ
กิจกรรมท่ี 2 ตบมอื รวมความสนใจ การตบมือเป็นอีกกรรมหนึ่งท่ีผู้เรียนสามารถตอบสนองได้โดยง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน ไม่ต้องใช้อุปกรณ์อื่นมาช่วย เป็นกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดเสียงสร้างความสนใจ กระตุ้น ปลุกเร้าให้ ทราบวา่ กจิ กรรมในช้นั เรยี นไดเ้ รมิ่ ตน้ ขน้ึ แลว้ วิธีการจัดกจิ กรรม 1. ผู้นำ�บอกว่า “ทุกคนตบมือ 1 คร้ัง” แล้วพูดซำ้� ๆ สัก 2-3 รอบ ผู้เล่นที่ได้ยิน จะเรม่ิ ท�ำ ตามและทำ�ตาม ๆ กนั ผู้นำ�สงั เกตวา่ ผู้เลน่ ส่วนใหญ่หรอื ทกุ คนเร่ิมปฏิบตั ิตามแล้วให้พูด ว่า “ผู้ชายตบมือ 1 ครั้ง” “ผู้หญิงตบมือ 1 คร่ัง” หรือใช้คำ�พูดอื่น เช่น “คนรูปหล่อตบมือ 1 ครั้ง” “คนสวยตบมือ 1 ครั้ง” “กระเทยตบมือ 1 ครั้ง” ผู้นำ�คอยสังเกตและคอยบอก คนที่ตบมือผดิ ประเภทว่าให้ตั้งใจฟังให้ดีอย่าเผลอลมื ตัว 2. ผู้น�ำ เพิ่มกิจกรรมอ่นื ๆ เชน่ “ทุกคนตบมอื 1 คร้ัง ตบมือ 2 ครั้ง แล้วเอามือปอ้ งตา หันมาดูผู้นำ�” ทุกคนตบมือ 2 ครั้ง แล้วเอามือห้องหู หันมาฟังผู้นำ� “ทุกคนกระโดด 1 คร้ัง กระโดด 2 ครั้ง กระโดดตบ 1 ครงั้ ” เป็นตน้ ค่มู ือผ้นู ำ�นันทนาการ 121
กิจกรรมท่ี 3 ตบมอื เสียงรถไฟ ผู้นำ�ช้ีแจงว่า ต่อจากนี้เราจะพากันไปเท่ียวโดยน่ังขบวนรถไฟซึ่งขณะน้ีมาจอดเทียบ ชานชลาของสถานีแล้ว และขณะนี้ขบวนรถไฟพร้อมจะออกแล้ว เราจะมาช่วยกันทำ�เสียง รถไฟกัน วิธกี ารจัดกจิ กรรม 1. ผู้นำ�แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 กลุ่ม ท้ังด้านซ้ายและด้านขวาของผู้นำ� พร้อมกับชี้แจง วา่ ถา้ ให้สัญญาณไปทางกลุ่มใดให้กลุม่ น้นั ช่วยตบมือใหห้ นกั แนน่ และพรอ้ มเพรยี งกัน 1 คร้ัง 2. ผู้นำ�ให้สัญญาณมือไปทางกลุ่มด้านขวาและกลุ่มด้านซ้าย สังเกตว่าการตบมือ มีความพร้อมเพรียง หนักแน่น เสียงดังหรือไม่ กลุ่มไหนทำ�ได้ดีกว่า กลุ่มไหนควรปรับปรุงแล้ว ทดสอบอีกครง้ั 3. ผู้นำ�ให้ทุกคนช่วยกันร้องเสียงสัญญาณหวูดรถไฟฟ้าที่กำ�ลังจะออกจากสถานี ทำ�เสียง “ปนู๊ -ป๊นู ” หลังจากไดย้ ินเสยี งระฆัง 3 คร้ังจากผนู้ ำ� 4. ผู้นำ�ทำ�เสียงระฆังและผู้เล่นร้องเสียงหวูดรถไฟ จากนั้นผู้นำ�จะเริ่มให้สัญญาณ ไปที่กลุ่มแรกแล้วเว้นจังหวะเล็กน้อย จึงให้สัญญาณไปยังกลุ่มที่สองแล้วค่อยๆ เพ่ิมความเร็ว ของการให้จังหวะขึ้นเรื่อย ๆ คล้ายกับเสียงของรถไฟท่ีเพิ่งเร่ิมเคลื่อนขบวนแล้วออกวิ่งอย่างช้าๆ และเพิ่มความเร็วขน้ึ เร่อื ย ๆ 5. ผู้นำ�บอกว่าใกล้ถึงสถานีข้างหน้าแล้ว ผู้นำ�ให้สัญญาณที่ช้าลง ๆ เร่ือย ๆ และ ทำ�เสยี งเพ่อื แสดงว่ารถไฟหยุดแล้ว 6. ผู้นำ�ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดว่าถ้าเป็นคนขายของจะขายอะไรและห้ามขายซำ้�กัน กลุ่มใดขายซำ้� ถือว่าแพ้จะให้ทำ�กิจกรรมพิเศษการร้องขายของให้ร้องซ้ำ� 2 คร้ัง พร้อมลุกขึ้นยืน ท่าประกอบ เชน่ “ถั่วตม้ จา้ ถ่ัวตม้ ถัว่ ตม้ จา้ ถัว่ ตม้ ” “ไกย่ า่ งจา้ ไก่ย่าง ไกย่ ่างจา้ ไกย่ า่ ง” “ผัดไทจา้ ผดั ไท ผดั ไทจ้าผัดไท” “โอเล้ยี งจ้าโอเลย้ี ง โอเลี้ยงจ้าโอเลย้ี ง” “ลูกอม ยาดม ยาหมอ่ ง ลูกอม ยาดม ยาหมอ่ ง” “มะมว่ ง มะยม มะกอก มะมว่ ง มะยม มะกอก” “น้ำ�มะพร้าว น้�ำ ล�ำ ไย น�ำ้ มะพร้าว น�ำ้ ล�ำ ไย” 122 ค่มู ือผ้นู �ำ นันทนาการ
7. ผู้นำ�ให้สัญญาณการลุกขึ้นขายของทีละกลุ่ม กรณีมีผู้เล่นจำ�นวนมากอาจแบ่ง เป็นกลุ่มย่อยเพ่ิมข้ึนเป็น 4 กลุ่ม 6 กลุ่ม หรือ 8 กลุ่มก็ได้ เน้นความพร้อมเพรียง เข้มแข็ง เสียงดังและความรวดเรว็ ในการปฏบิ ัติ 8. ในการแบ่งกลุ่มให้ขายของนั้นผู้นำ�อาจกำ�หนดให้ขายกลุ่มละประเภทหรือกลุ่ม 1 ขายเครื่องด่ืม กลุ่ม 2 ขายผลไม้ กลุ่ม 3 ขายอาหารคาว กลุ่ม 4 ขายขนม กลุ่ม 5 ขายของ เบ็ดเตลด็ ก็ได้ เพิ่มให้เกดิ ความคดิ เชงิ ลกึ เป็นเรือ่ งๆ ไปไมส่ ับสนว่นุ วาย 9. หากมีเวลามากพออาจจัดกิจกรรมต่อเนื่องให้มีการเคลื่อนไหวได้โดยการร้องเพลง “ขายของรถไฟ” ดังน้ี ปู๊ดกระฉกึ ปู๊ดกระฉึก ป๊ดู กระฉกึ (1) ปู๊ดกระฉึก เป็นเสียงรถไฟ (2) ไม่วา่ จะไปทางไหน มแี ตค่ นขายของ (3) โอเล้ยี งครบั ไอตมิ คะ่ (ซ้�ำ ) (4) นไ่ี ง ขนมปงั ปอนด์ (ซ�้ำ ) (5) มเี งาะ กระท้อน มะกอก มะดนั (ซ้�ำ ) (6) ท่าทาง (1)-(3) จดั แถวตอนหรอื วงกลมจบั เอวคนข้างหน้าเดินไปตามจงั หวะ (4) ท�ำ ทา่ แบกของขายทางซ้ายและขวา (5) จับเอวคนข้างหนา้ พร้อมย่�ำ เท้าอยู่กับท่ี (6) ยกั สะโพกตามจงั หวะ หรอื จะท�ำ ทา่ ทางอน่ื ๆ เชน่ กระโดดอยกู่ บั ทก่ี ระโดดไปขา้ งหนา้ กระโดดเตะเท้าสลบั ซา้ ย-ขวา เป็นต้น คมู่ อื ผูน้ ำ�นนั ทนาการ 123
กิจกรรมที่ 4 ตบมือตามสัญญาณมือ การตบมือตามการให้ดูจากสัญญาณการลดมือลงของผู้นำ�กิจกรรมเป็นกิจกรรมง่ายๆ เพื่อรวมความสนใจของผู้ร่วมกิจกรรมทุกคนให้สนใจมองอยู่ท่ีมือของผู้นำ�อย่างตั้งใจและพร้อม ที่จะตบมอื ใหส้ อดคล้องกบั สญั ญาณของผนู้ �ำ วธิ ีการจดั กจิ กรรม 1. จัดผู้เล่นให้น่ังและนำ�ผู้ยืนอยู่ในตำ�แหน่งท่ีผู้เล่นทุกคนมองเห็นด้านหน้าของผู้นำ� ถ้าจัดแถวนั่งแบบช้ันเรียนผู้นำ�อยู่หน้าช้ันเรียน ถ้าจัดแถวเป็นรูปตัว U ผู้นำ�จะยืนอยู่ด้านหน้า ไม่ยนื ลกึ เขา้ ไปตรงกลาง เพราะจะท�ำ ให้ผเู้ ล่นบางคนมองไมเ่ ห็นสัญญาณมือ 2. ผู้นำ�กล่าวเชิญชวนให้ผู้เล่นลองช่วยกันตบมือให้เสียงดัง หนักแน่น และ พรอ้ มเพรยี งกนั เพอ่ื แสดงความเปน็ น�ำ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั โดยอาจใชค้ �ำ ถามน�ำ วา่ เราจะชว่ ยกนั ได้ม้ัย? ใครเห็นด้วยชว่ ยยกมือข้ึน? ใครไมเ่ ห็นด้วยบ้าง? ถ้าทุกคนเหน็ ดว้ ยเราเร่ิมกันเลยนะ 3. ผู้นำ�บอกและสังเกตการปฏิบัติของผู้เล่นตามลำ�ดับดังนี้ “ทุกคนตบมือ 1 คร้ัง” “2 คร้ัง” “3 คร้ัง” ให้กระชับและรวดเร็ว พร้อมทั้งสังเกตความร่วมมือท่ัวไปของผู้เล่น ความพรอ้ มเพรียง ความหนักแน่น และความดงั หรือเบาของเสียง 4. ผู้นำ�กล่าวชมเชยให้แรงเสริมทางบวก เช่น พร้อมเพรียงกันดีมาก เสียงก็ดังหนัก แนน่ หรือถา้ เสยี งเบาไป กอ็ าจบอกวา่ จะดมี ากขนึ้ ถ้าช่วยกนั ตบมอื ใหห้ นกั แน่นเสยี งดังมากกว่านี้ 5. ผู้นำ�บอกต่อไปน้ีให้ทุกคนดูที่สัญญาณมือของผู้นำ� ถ้าลดมือลงให้ทุกคนตบมือ ถา้ ยงั ไมล่ ดไมต่ อ้ งตบมือ ใครเข้าใจแลว้ ยกมือข้ึน ใครไม่เขา้ ใจยกมือขึ้น ถ้าไม่มี ลองดเู ปน็ ตัวอย่าง พร้อมแล้วนะครับ ผู้นำ�ยกมือขวาขึ้นระดับศีรษะ แล้วบอกว่า “ระวัง เริ่ม” แต่ไม่ต้องลดมือลง ซึ่งอาจจะมีผู้เล่นบางคนเผลอตบมือ ผู้นำ�ต้องชี้แจงเพ่ิมเติมอีกครั้งหน่ึงว่า ให้ดูท่ีสัญญาณมือ ถ้าลดลงจึงจะตบมือ ถ้าใครเผลอหรือไม่ทำ�เราจะเชิญท่านมาแสดงความสามารถให้เพื่อน ๆ ได้รบั ชม 6. ผู้นำ�เริ่มกิจกรรมโดยการถามว่า “ทุกคนพร้อมแล้วนะครับ ถ้าพร้อมแล้วเริ่มกัน เลย” ผู้น�ำ ใช้สัญญาณมอื โดยการลดมอื ลงสกั 3-4 ครงั้ แลว้ ทำ�ท่าว่าจะลดมือแตไ่ มล่ ด ผนู้ ำ�สังเกต ถ้ามีผู้ท่ีไม่ตบมือตามสัญญาณและผู้ที่ตบมือก่อนที่จะให้สัญญาณ ผู้นำ�อาจถามว่า มีใครเผลอไป บ้างยกมือข้ึน มีใครท่ีไม่ช่วยเพื่อนตบมือเพราะกลัวตบมือผิดบ้าง ยกมือขึ้น มีใครพบเห็นบุคคล ท้ัง 2 ประเภทนบี้ า้ งยกมอื ขน้ึ มใี ครทำ�ถกู ทกุ ครง้ั บา้ งยกมือขึน้ 7. ผนู้ ำ�กลา่ วชมผทู้ ย่ี กมอื ข้ึนว่ามคี วามซอ่ื สัตย์ กลา้ หาญ กล้ารับผิดชอบในส่งิ ทีก่ ระทำ� และชมเชยผู้ที่ทำ�ถูกทุกคร้ัง เพราะมีสติอยู่กับตัวไม่มีเผลอ มีความตั้งใจดีที่จะมองสัญญาณมือ 124 คมู่ ือผนู้ �ำ นันทนาการ
และตบมอื ตามสัญญาณ ให้ความร่วมมอื ดี บคุ คลเหลา่ น้จี ะท�ำ งานได้ดี คนทเ่ี ผลอน้อยกท็ ำ�ถูกมาก คนท่เี ผลอมากก็ทำ�ถูกนอ้ ย แต่กน็ บั ว่ามีสติและความตัง้ ใจอยูไ่ มม่ ากกน็ ้อย ส่วนคนทตี่ บมอื ก็ถอื ว่า เป็นผู้ทย่ี งั ไม่ชว่ ยทำ�งานให้เกดิ ประโยชน์แก่ส่วนรวมจงึ ควรหันมาใหค้ วามร่วมมอื กนั ใหม่ 8. ผู้นำ�แบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีมให้มีจำ�นวนเท่ากันหรือใกล้เคียงกันโดยประมาณ อาจ แบ่งเป็นทีมด้านซ้ายและทีมด้านขวาแล้วบอกว่าเราจะเริ่มเล่นใหม่ หากมีผู้หนึ่งผู้ใดของทีม พล้ังเผลอหรือไม่ปฏิบัติจะต้องรับผิดชอบทำ�กิจกรรมพิเศษท้ังทีม มีใครไม่เห็นด้วยหรือไม่ ใครเห็นด้วยปรบมอื ดงั ๆ 9. ผู้นำ�เริ่มกิจกรรมโดยถามความพร้อม “ทีมด้านซ้ายพร้อม” “ทีมด้านขวาพร้อม” เมอื่ พร้อมแล้วเริม่ 10. ผู้นำ�ให้สัญญาณในการลดมือลงอาจใช้เทคนิคคุยเรื่องอ่ืน ๆ ไปด้วยเพื่อให้ผู้เล่น มีความตั้งใจเพิ่มข้ึน หรืออาจใช้เทคนิคช้า-เร็วในการให้สัญญาณมือ ก็จะเพิ่มความสนุกสนาน แก่ผเู้ ลน่ โดยใชเ้ วลาใหก้ ระชบั ไม่ควรเกนิ 1 นาที 11. ถ้ามีทีมใดทำ�ผิดกติกาให้ทำ�กิจกรรมพิเศษ เช่น แสดงท่าทางประกอบเพลงส้ัน ๆ โดยเลือกให้เหมาะสมกับวัยของผู้เล่น เหมาะสมกับการจัดสถานที่นั่งของผู้เล่นและควรใช้ เวลาให้กระชับที่สุดประมาณ 15-30 วินาที และเชิญชวนทีมอื่น ๆ ปรบมือเป็นกำ�ลังใจหลังจาก ที่กิจกรรมพิเศษเสร็จและไม่ควรให้รู้สึกว่าเป็นการลงโทษ แต่เป็นการแสดงความรับผิดชอบ ตามข้อตกลงและเพิ่มความสนกุ สนานให้ทุก ๆ คน 12. กิจกรรมพิเศษสำ�หรับเด็ก ๆ เช่น เดินเป็ด เต้นโป๊งแช่ม เต้นผลไม้ โจรสลัด- ปลาสลิด-เต้นกิ้งก่า ขับรถตุ๊ก ๆ กบมาเลเซีย ไก่ย่าง เป็นต้น สำ�หรับผู้ใหญ่ หรือกรณีท่ีมี ความไมส่ ะดวกในการเคลอื่ นไหวท่ีต้องเคล่ือนท่อี าจใหเ้ ต้นประกอบเพลง อ่อนซ้อม ทะเล ปลาทู อยู่ในทะเล อีหลัดถัดถ่า มองนาน ๆ บ้านก็ไม่ต้องเช่า กะทิ เป็นต้น ซึ่งเพลงประกอบท่าทาง เหล่านมี้ อี ย่ใู นหนังสอื เพลงเพ่อื การสอนและการจดั กจิ กรรมนนั ทนาการของผู้เขียน 13. ผู้นำ�อาจแบ่งผู้เล่นเป็นทีมย่อย ๆ เช่น 4 ทีม หรือ 8 ทีม โดยถ้ายังไม่มีการจัดทีม ไว้ก่อนก็แบ่งอย่างคร่าว ๆ จาก 2 ทีม แบ่งเป็น 4 ทีม และ 4 ทีมแบ่งเป็น 8 ทีม และ ดำ�เนินกิจกรรมต่อไปโดยต้องคอยควบคุมเวลาให้ดีอย่าให้นานเกินไป สังเกตว่าสนุกสนาน มากแลว้ หยดุ กจิ กรรมอย่าเลน่ นานเพราะผเู้ ล่นจะเบ่อื 14. เราอาจประยุกต์กิจกรรมเตรียมความพร้อมนี้มาเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ได้โดย ถ้าเป็นการอบรมให้วัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ และถ้ามีเวลาเหลือก็อาจให้ช่วยกันสรุปข้อคิดของกิจกรรม โดยอาจสุ่มถามหรือขออาสาสมัครช่วยตอบคำ�ถาม เช่น กิจกรรมนี้ให้ข้อคิดในการทำ�งานอย่างไร ความไม่ตั้งใจ และความไม่กล้าตัดสินใจส่งผลต่อการทำ�งานอย่างไร การเล่นฟุตบอลถ้ากองหน้า ไม่กล้าตัดสินใจยิงประตู เพราะกลัวยิงไม่เข้า กองหลังและผู้รักษาประตูเผอเรอ เหม่อลอย ขาดสติไม่มีสมาธอิ ยู่ในเกมจะเปน็ อยา่ งไร เป็นตน้ คมู่ อื ผนู้ ำ�นันทนาการ 125
กิจกรรมที่ 5 ตบมือรวมพลงั การตบมอื เปน็ ชดุ และออกเสยี งพรอ้ ม ๆ กนั เปน็ อกี กจิ กรรมหนง่ึ ทใ่ี ชใ้ นการรวมความสนใจ อย่างมีพลัง มีความฮึกเหิม คึกคัก กระตุ้นให้เกิดความตื่นตัวได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ียังจัด ให้มกี ารแข่งขนั เปน็ กล่มุ ได้อกี ด้วย วธิ ีการจดั กจิ กรรม 1. ผู้นำ�เลือกรูปแบบการตบมือให้เหมาะสมกับวัยของผู้เล่นตามความยากง่าย ถ้าเป็น เดก็ เลก็ ควรเลอื กแบบทงี่ ่าย ๆ สอนให้นับก่อนแลว้ จึงใหต้ บมือ ตวั อยา่ งเชน่ แบบท่ี 1 ตบมือ 2-5/2-5 ให้นับ 1-2/3-4-5/1-2/3-4-5 แบบท่ี 2 ตบมอื 2-5/1-2 ใหน้ บั 1-2/3-4-5/1-2/1-2/1 แบบที่ 3 ตบมอื 1-3/1-2 ใหน้ ับ 1-2-3/1-2-3/1-2/1-2/1 แบบท่ี 4 ตบมือ 1-3/1-7 ใหน้ บั 1-2-3/1-2-3/1-2-3-4-5-6-7 แบบท่ี 5 ตบมอื 1-5/1-5 ให้นบั 1-2-3-4-5/1-2-3-4-5/1-2-3-4-5 2. ผู้นำ�ทำ�ความตกลงกับผู้เล่นว่าถ้าผู้นำ�พูด “ปฐมวัยรวมพลัง” (กรณีผู้เข้ารับการ อบรมเป็นครูปฐมวัย) ให้ผู้เล่นตบมือ 1 ชุด ด้วยความพร้อมเพรียงและเสียงดังโดยทำ�ท่าทาง ประกอบ เช่น กำ�มือขวาท่ีบริเวณหัวใจ แล้วยกมือชูขึ้นพร้อมกับลุกข้ึนยืนและพูดว่า “ปฐมวัย เย่ยี ม” หรือค�ำ อนื่ ๆ ปฏบิ ตั เิ ชน่ น้ถี ึงเป็น 1 ชดุ 3. แบ่งกลุ่มแข่งขันเริ่มจาก 2 กลุ่มใหญ่แข่งโดยสังเกตจาก ความพร้อมเพรียงและ ระดับความร่วมมือร่วมใจในการเปล่งเสยี ง เรมิ่ จากแบง่ กลมุ่ ละ 1 ชดุ แลว้ เพ่ิมเป็น 2-3 ชุด 4. แบ่งเป็น 4 กลุ่ม หรือ 8 กลุ่มย่อย ให้แข่งขันโดยปฏิบัติกลุ่มละ 3 ชุด ตามการ ให้สัญญาณเร่ิมจากผู้นำ� ผู้นำ�จะให้สัญญาณเรียงไปทีละกลุ่มซึ่งจะเร่ิมต้นและส้ินสุดไม่พร้อมกัน แต่ละกลุ่มจะต้องรักษาจังหวะต้ังแต่การเร่ิมต้นจนสิ้นสุด ในกลุ่มของตนมิให้เผลอไปทำ�ตาม กลมุ่ อน่ื กลุ่มใดทำ�ไมพ่ ร้อมเพรียงหรือผดิ จังหวะใหร้ บั รางวลั พเิ ศษท้ังกลุ่มเพอ่ื แสดงความสามารถ ให้กลมุ่ อ่นื ๆ ชม 5. ผู้นำ�สรปุ เรือ่ งความมสี ติ ความตั้งใจ ความสามคั คี เป็นหน่งึ เดยี ว ความพรอ้ มเพรียง การไม่สับสนไขว้เขวไปกับส่ิงแวดล้อมท่ีมารบกวนการร่วมมือช่วยกันอย่างเต็มที่ เต็มพลังความ สามารถ เป็นตน้ 126 คมู่ อื ผนู้ �ำ นันทนาการ
การประยุกต์ใชก้ จิ กรรม การนับตัวเลขหรือการปรับมือตามจังหวะในแบบต่าง ๆ นั้นอาจปรับเปลี่ยนเป็นการ ออกเสยี ง เช่น แบบท่ี 4 ตบมือ 1-3/1-7 ใหน้ บั ตวั เลขหรือตบมอื 1-2-3/1-2-3/1-2-3/4-5-6-7 เปลี่ยนเป็นการออกเสยี ง โฮ-่ โฮ-่ โฮ่/ฮา่ -ฮา่ -ฮา่ /โฮ-่ ฮ่า-โฮ-่ ฮา่ -โฮ-่ ฮ่า-ฮ่า- เสียง “โฮ่ โฮ่ โฮ”่ เอามอื ป้องปากหนหนา้ ไปทางขวา เสยี ง “ฮา่ ฮ่า ฮ่า” เอามือป้องปากหนั หนา้ ไปทางซ้าย เสียง “โฮ่ ฮ่า โฮ่ ฮ่า โฮ่ ฮ่า ฮ่า เหยียดแขนทั้งสองข้างออกไปเมื่อร้อง “โฮ่” ดึงแขน เข้ามา เม่ือร้อง “ฮ่า” หรือเลียนเสียงของสัตว์ เช่น เสียงลิง เสียงเป็ด เสียงไก่ เสียงกบ ฯลฯ ในการเปล่งเสียงร้องอาจใช้เสียงสัตว์ชนิดเดียว และมี 2 เสียง ตัวอย่างเช่น เสียงลิง เจ๊ียก-คอก เสียงเป็ด ก๊าบ-ก๋ิว เสียงไก่ โอ๊ก-เอ๊ก เสียงกบ อบ-แอบ หรือสัตว์ 2 ชนิด เช่น แมวกับสุนัข (เหมียว-โฮ่ง) นอกจากนี้ยังให้ผู้เล่นคิดและเลียนเสียงของเครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ เช่น เสียงฉิ่ง เสยี งฆ้อง เสยี งกลองได้อีกด้วย คู่มือผนู้ ำ�นันทนาการ 127
กิจกรรมที่ 6 ตบมอื แปรงฟนั กิจกรรมนี้เหมาะสำ�หรับเด็กเล็ก ๆ ครูอาจกล่าวถึงประโยชน์ของการแปรงฟันและ ขน้ั ตอนของการแปรงฟันกอ่ นกไ็ ด้ วิธีการจัดกจิ กรรม 1. ผู้นำ�อธิบายพร้อมสาธิตข้ันตอนการเล่นและให้ผู้เล่นฝึกปฏิบัติตามทีละข้ันตอน ตง้ั แตข่ ัน้ ตอนที่ 1.1-1.7 ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 ให้ผู้เล่นตบมือ 2 ครั้ง เอาน้ิวชี้มือขวาช้ีผ่านปากไปทางซ้ายหันหน้ามอง ตามมอื พร้อมกบั ส่งเสยี ง “ฉ่”ู 1.2 ผู้เล่นตบมือ 2 คร้ัง เอาน้ิวช้ีมือขวาช้ีผ่านไปทางขวา (ย้อนกลับ) หันหน้ามอง ตามมือ พร้อมกับส่งเสยี ง “ฉี่” 1.3 ผเู้ ล่นตบมือ 2 ครั้ง ชไี้ ปขา้ งหนา้ ตามองตามมอื สง่ เสียง “ฉู่” 1.4 ผูเ้ ล่นตบมอื 2 ครั้ง ช้ไี ปข้างหนา้ ตามองตามมอื ส่งเสียง “ฉ่ี” 1.5 ผเู้ ลน่ ตบมือ 2 ครั้ง ชี้ไปข้างบน ตามองตามมอื ส่งเสียง “ฉู”่ 1.6 ผเู้ ล่นตบมือ 2 ครงั้ ช้ไี ปขา้ งล่าง ตามองตามมอื ส่งเสยี ง “ฉ่ี” 1.7 ผู้เล่นตบมือ 2 คร้ัง แล้วช้ีน้ิว พร้อมกับส่งเสียง “ฉู่” “ฉ่ี” และหันหน้ามอง ตามมอื ตามล�ำ ดับ ซา้ ย ขวา หนา้ หลัง บน ลา่ ง 2. ผูน้ �ำ สงั เกตว่ายังมผี ู้เล่นปฏบิ ัตไิ ม่ถกู ตอ้ งหรือไม่ และใหเ้ วลาในการฝกึ ปฏบิ ัตสิ กั ครู่ 3. แบ่งกลุ่มย่อยให้ฝึกซ้อมปฏิบัติตามขั้นตอนให้พร้อมเพรียงกันและดำ�เนินการ ทดสอบ เช่น มี 2 กลุ่ม ให้กลุ่ม 1 ปฏิบัติ กลุ่ม 2 เป็นผู้สังเกตแล้วเปลี่ยนเป็นกลุ่ม 2 ปฏิบัติ กล่มุ 1 เปน็ ผู้สังเกตกล่มุ ใดพรอ้ มเพรียงเป็นกล่มุ ชนะ เกมปรบมอื แปรงฟันอาจประยกุ ต์ใชใ้ นการท�ำ ท่าอ่นื ๆ เช่น ปรบมอื ชกลม ดังน้ี 1. ผู้เล่นตบมอื 2 ครั้ง ชกหมัดตรง ซา้ ย ไปขา้ งหน้าร้อง “เฮ”้ 2. ผู้เล่นตบมอื 2 ครั้ง ชกหมดั ตรง ขวา ไปขา้ งหนา้ รอ้ ง “ฮา่ ” 3. ผู้เล่นตบมือ 2 ครั้ง ชกหมัดตรง ซา้ ย ไปขา้ งบนร้อง “เฮ”้ 4. ผู้เล่นตบมอื 2 คร้งั ชกหมดั ตรง ขวา ไปขา้ งบนร้อง “ฮ่า” 5. ผเู้ ล่นตบมือ 2 ครั้ง ชกหมดั ตรง ซา้ ย ไปขา้ งลา่ งรอ้ ง “เฮ้” 128 ค่มู อื ผนู้ ำ�นันทนาการ
6. ผู้เล่นตบมือ 2 ครงั้ ชกหมดั ตรง ขวา ไปขา้ งลา่ งร้อง “ฮ่า” 7. ผู้เล่นตบมือ 2 ครั้ง แล้วทำ�ท่าพร้อมกับร้อง เฮ้และฮ่า ตามจังหวะการชกลม ตัง้ แต่ 1-6 กิจกรรมตบมือความพร้อมของผู้เล่นโดยใช้การตบมือชกลมนี้ ผู้นำ�อาจใช้เป็นกิจกรรม กระตุ้นให้รวมพลังก่อนเร่ิมกิจกรรมอ่ืน ๆ โดยผู้นำ�ชี้แจงเพ่ิมเติมว่า หลังจากตบมือครบทั้ง 7 ขั้นตอน แล้วให้ร้องดัง ๆ ตามกลุ่มของผู้เล่น เช่น เป็นเด็กปฐมวัยก็ร้องว่า “ปฐมวัยเยี่ยม” ถ้าเป็นเยาวชนก็ร้องว่า “เยาวชนเยี่ยม” เป็นต้น โดยผู้นำ�จะต้องทำ�ความตกลงกับผู้เล่นก่อนว่า หากผนู้ ำ�พูดวา่ “ปฐมวัยรวมใจ” ใหผ้ ู้เลน่ ทกุ คนตบมอื ชกลม 1 ชดุ เพอื่ ใหเ้ กิดการรวมจุดสนใจมา ทผ่ี ู้นำ�ก่อนทีจ่ ะดำ�เนินกิจกรรมเร่อื งอืน่ ๆ ตอ่ ไป คู่มือผูน้ ำ�นนั ทนาการ 129
กิจกรรมท่ี 7 ตบมอื มหาสนกุ กจิ กรรมตบมอื มหาสนกุ เปน็ การตบมือเป็นชุดทตี่ ้องใช้สติ สมาธิ และทกั ษะในการปฏบิ ัติ ผู้นำ�ต้องเร่ิมจากช้าไปหาเร็ว เร่ิมจากรูปธรรมไปหานามธรรม เร่ิมจากง่ายไปหายาก และปริมาณ นอ้ ย ๆ ไปหาการท�ำ กจิ กรรมท่ีมีปริมาณมากข้นึ วิธีการจดั กจิ กรรม 1. ผ้นู �ำ สมมตใิ ห้มีกลองขนาดเลก็ และกลองใหญ่อยดู่ า้ นหน้าล�ำ ตวั 2. เสียงท่ตี กึ ลองเล็ก จะดัง “แตก๊ ” เสียงท่ตี กึ กลองใหญจ่ ะดงั “ต๊มึ ” 3. ผู้นำ�ให้ผู้เล่นใช้มือทำ�ท่าตีกลองสลับกันและออกเสียงว่า “แต๊ก ตึ๊ม/แต๊ก ตึ๊ม” เปน็ จังหวะท่ี 1 4. จังหวะที่ 2 ใหท้ ำ�ทา่ ตกี ลองและออกเสยี งว่า “แต๊ก แต๊ก ต๊มึ /ตม๊ึ แต๊ก แต๊ก ตมึ๊ ” 5. เปลี่ยนจากการทำ�ท่าตีกลองโดยจังหวะที่ออกเสียง “แต๊ก” ให้ใช้มือทั้ง 2 ตบ หน้าขา จังหวะท่ีออกเสียง “ต๊ึม” ให้ปรบมือและเปล่ียนการออกเสียงเป็น “ตัก” และ “มือ” แทน รวมทัง้ 2 จังหวะเป็น 1 ชดุ ชุดที่ 1 “ตัก มือ ตัก มอื /ตัก ตัก มือ/มอื ตัก ตกั มือ” 6. ชุดท่ี 2 “ตัก ตัก มือ/มือ หมุน หมุน มือ/” คำ�ว่า หมุนให้กำ�มือท้ังสองข้างหมุน รอบกนั 7. ชุดท่ี 3 “ตัก ตัก มือ/มือ ศอก ศอก มือ/” คำ�ว่า ศอกให้ยกมือขวาตั้งฉากกับ พ้ืนแล้วใช้มอื ซ้ายตบบรเิ วณศอกของมือขวา 8. ชุดท่ี 4 “ตัก ตัก มือ/มือ เพ่ือน เพื่อน มือ/” คำ�ว่าเพื่อนให้ใช้มือซ้ายตบมือ กบั เพ่ือนทนี่ ่งั อยูด่ า้ นซา้ ย และใช้มือขวาตบมือกับเพ่ือนทีน่ ั่งอยดู่ า้ นขวา 130 คมู่ อื ผ้นู ำ�นันทนาการ
กิจกรรมที่ 8 ตบมอื เห็นด้วย กิจกรรมตบมือเห็นด้วยเป็นการให้ผู้เรียนตั้งใจฟังและตอบสนองโดยการตบมือตาม ขอ้ ตกลงทก่ี �ำ หนดข้นึ วธิ ีการจดั กิจกรรม 1. ผู้นำ�ทำ�ความตกลงกับผู้เล่นว่าต่อไปน้ีผู้นำ�จะบอกช่ือท่ีเป็นสัตว์ ถ้าผู้เล่นเห็นด้วย ให้ปรบมือ 2 ครั้ง ถ้าผู้นำ�พูดช่ืออย่างอ่ืนท่ีไม่ใช่สัตว์ไม่ต้องตบมือ ถ้าใครเผลอตบมือ แสดงว่า คิดช้า คดิ ไม่ทัน หรือคิดไมถ่ ูก จะให้แสดงความสามารถพิเศษ ตวั อย่างเชน่ ผ้นู ำ�พดู ว่า “ช้าง” ผู้เลน่ ตบมอื 2 ครงั้ ผู้น�ำ พูดว่า “ลิง” ผ้เู ลน่ ตบมอื 2 ครั้ง ผู้น�ำ พดู ว่า “สม้ ” ผู้เลน่ ไม่ตอ้ งตบมือ ผนู้ �ำ พูดวา่ “กล้วย” ผู้เล่นไมต่ อ้ งตบมือ ผนู้ ำ�พดู วา่ “แมว” ผู้เลน่ ตบมอื 2 ครงั้ 2. ผู้นำ�ทำ�ความตกลงกับผู้เล่นว่าต่อไปนี้ผู้นำ�จะบอกเลขท่ีเป็นเลขคี่ คือ 1-3-5-7-9 ให้ตบมือ 2 คร้ัง ถ้าผู้นำ�พูดเลขคู่ คือ 2-4-6-8-10 ไม่ต้องตบมือ ใครที่เผลอใจลอยไม่ค่อยฟัง ใหด้ ี อาจตบมือผิดจังหวะทค่ี วรตบ ใหท้ ำ�กจิ กรรมแสดงความสามารถพิเศษ คู่มือผ้นู �ำ นันทนาการ 131
กิจกรรมท่ี 9 ตบมือลอยฟา้ ผู้น�ำ เตรียมวสั ดุทจ่ี ะใช้โยน เชน่ กระดาษม้วนเป็นก้อนกลมเทา่ กำ�มอื ลกู โปง่ หรอื ลกู บอล จำ�นวน 2-3 ลูก ทม่ี ขี นาดใหญ่พอจะให้ทุกคนเห็นได้ ว ิธกี ารจัดกจิ กรรม 1. ผู้นำ�บอกว่าถ้าผู้นำ�โยนสิ่งของน้ีขึ้นไปในอากาศให้ทุกคนช่วยกันตบมือจนกว่า ส่ิงของจะตกถึงพ้ืนให้หยุดตบมือทันทีและในขณะท่ีปรบมือให้ร้อง “ว๊ีด……” เม่ือหยุดตบมือให้ ร้อง “บ๊มึ ” แล้วชีไ้ ปทพี่ ้นื 2. ผู้นำ�นำ�ส่ิงของที่เตรียมมาโยนข้ึนไปในอากาศสังเกตว่าผู้เล่นทำ�ได้หรือไม่ อาจจะ โยนสงู บา้ งต�ำ่ บา้ งหรอื ให้ผเู้ ลน่ ชว่ ยโยนก็ได้ 3. ผู้นำ�บอกส่ิงของต่อไปเป็นลูกแก้ววิเศษไม่มีใครมองเห็นนอกจากผู้นำ� แล้วทำ�ท่า โยนขึ้นไป แหงนหน้ามองและค่อย ๆ ลดระดับการมองลง จนสายตามองท่ีพ้ืน ผู้นำ�อาจใช้ นิ้วช้ีประกอบการตกลงสู่พื้นของลูกแก้ววิเศษด้วยก็ได้ ผู้เล่นจะช่วยกันตบมือร้องวี๊ด และ รอ้ งบึม๊ พร้อมกบั ช้ีไปทพี่ ้ืนตามการแสดงทา่ ของผ้นู ำ�ตง้ั แต่แหงนหนา้ ข้นึ จนก้มหน้าลง 132 คูม่ ือผู้น�ำ นันทนาการ
กจิ กรรมท่ี 10 ตบมือแพะกบั แกะ เป็นการกระตุ้นผู้ร่วมกิจกรรมให้ฟังอย่างตั้งใจ สามารถทำ�งานประสานกันระหว่าง ประสาทการรบั รจู้ ากการไดย้ ินและการควบคมุ กล้ามเน้ือใหท้ �ำ งานฝึกไหวพรบิ และความจ�ำ วธิ ีการจดั กิจกรรม 1. ผู้เล่นน่ังตามสถานการณ์ เช่น นั่งเป็นแถวในช้ันเรียน หรือในห้องประชุม น่ังเป็น กล่มุ ตามโต๊ะ หรอื น่ังเปน็ รปู วงกลม รปู ครึ่งวงกลมกไ็ ด้ 2. เร่มิ เกมโดยบอกว่า ถา้ ผู้น�ำ เกมพดู วา่ “แพะ” ผู้เล่นจะตอ้ งตบมอื 1 คร้งั ถ้าผนู้ �ำ เกม พดู ว่า “แกะ” ผูเ้ ล่นจะตอ้ งตบมือสวนกัน 1 คร้ัง โดยมอื ไมส่ ัมผัสกัน 3. ผู้นำ�เกมอาจจะพดู และทำ�ทา่ ทางไม่ตรงกนั กบั ผเู้ ล่นก็ไดเ้ พือ่ ใหผ้ เู้ ล่นคอยระมดั ระวัง 4. ถา้ ผ้เู ลน่ คนใดทำ�ผดิ กติกาใหอ้ อกมาแสดงความสามารถพเิ ศษ 5. อาจเพ่ิมการตบมือจาก 1 คร้ัง เป็น 3 ครั้งก็ได้ หรืออาจเพ่ิมคำ�พูดอื่น เช่น เสอื ต้องตบมอื 3 คร้งั โดยคร้ังทสี่ องมือไมส่ ัมผสั กัน 6. อาจเพมิ่ คำ�พูดเป็น 2-3 ค�ำ เช่น “แพะ-แกะ” “แพะ-แกะ-แพะ” “แกะ-แพะ-แกะ” เป็นตน้ คูม่ อื ผูน้ �ำ นนั ทนาการ 133
กิจกรรมท่ี 11 ตบมือ-กระทบื เทา้ เป็นกิจกรรมง่าย ๆ ท่ีทุกคนทำ�ได้ มุ่งเห็นในเร่ืองของการมีสติและปฏิบัติกิจกรรม ได้อย่างมีสมาธิ สามารถทำ�ได้อย่างต่อเน่ือง ถูกต้องตามลำ�ดับ เพ่ือดึงดูดความสนใจให้ทุกคน เขา้ รว่ มกิจกรรม วธิ ีการจดั กิจกรรม 1. ให้ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมนั่งตามสถานการณ์ผู้น�ำ อธิบายและสาธติ ให้ท�ำ ตามลำ�ดับ 1.1 ตบมือพรอ้ มกนั 3 ครง้ั 1.2 ตบอกพร้อมกนั 3 ครั้ง 1.3 ตบขาพรอ้ มกัน 3 ครง้ั 1.4 กระทบื เท้าพร้อมกนั 3 คร้งั 2. ทำ�ย้อนกลบั 2.1 กระทบื เทา้ พร้อมกนั 3 ครง้ั 2.2 ตบขาพร้อมกนั 3 ครงั้ 2.3 ตบอกพร้อมกนั 3 ครง้ั 2.4 ตบมือพรอ้ มกนั 3 ครั้ง 3. ให้ทำ�พร้อมกันต้ังแต่ต้นจนจบ ใครทำ�ไม่ทันหรือทำ�ผิดจังหวะให้ออกมาแสดง ความสามารถพิเศษ 4. ถา้ เป็นเด็กโตอาจเพ่มิ ความเร็วในการทำ�กิจกรรม จากการทีต่ บมอื 3 ครัง้ ตบอก 3 ครง้ั ตบขา 3 ครงั้ กระทบื เท้า 3 ครงั้ เป็นตบมอื 5 ครัง้ ตบขา 5 คร้ัง กระทืบเทา้ 5 ครั้ง แลว้ ท�ำ ยอ้ นกลบั 5. อาจเพิ่มเทคนิคต่าง ๆ เช่น เทคนิคการใช้มือขวากำ�มือที่บริเวณหัวใจแล้วส่งเสียง พรอ้ มกนั ยกมือขวาขนึ้ เพ่ือแสดงพลังของกล่มุ เชน่ “ปฐมวัยเย่ียม” “สพล.เย่ยี ม” หรือเทคนิค การฝึกประสาทสัมผัส เช่น ให้เอามือขวาจับจมูก มือซ้ายจับหู แล้วเปล่ียนเอามือขวามาจับหู มอื ซา้ ยจับจมูกเปล่ียนไปเปล่ียนมา พร้อมกบั พดู วา่ จับจมูกจบั หู จบั หูจับจมกู 6. ให้แข่งขันกันเพื่อดูความพร้อมเพรียงของกลุ่มย่อยท่ีแบ่งไว้โดยให้สัญญาณการ เรมิ่ ต้นทลี ะกลุ่มไมพ่ ร้อมกัน 134 คมู่ อื ผูน้ �ำ นนั ทนาการ
กิจกรรมท่ี 12 ยกมือสง่ เสียง กิจกรรมยกมือส่งเสียง เป็นอีกกิจกรรมหน่ึงที่เล่นง่ายใช้รวมความสนใจได้เป็นอย่างดี ผู้เล่นทุกคนสามารถปฏิบัติตามพร้อมกันในช่วงแรก ๆ ได้ดีแต่อาจสับสนเมื่อช่วงท้าย แต่ก็ทำ�ให้ เกิดความสนุกสนานได้ วธิ กี ารจัดกิจกรรม 1. ผู้เล่นน่ังตามสบายผู้นำ�เกมช้ีแจงว่า ถ้าผู้นำ�นับ 1 ให้ผู้เล่นกำ�มือขวาแล้วชูขึ้น เหนอื ศรี ษะ พร้อมกับสง่ เสยี ง “เฮ้” ใหผ้ ู้เล่นฝึกปฏบิ ัติ 2-3 ครง้ั 2. ถ้าผู้นำ�นับ 2 ให้ผู้เล่นกำ�มือซ้ายแล้วชูขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับส่งเสียง “เฮ้” ให้ผเู้ ล่นลองฝึกปฏิบตั สิ ัก 2-3 ครัง้ 3. ผู้นำ�ลองนับ “1” “2” ให้ผู้เล่นฝึกปฏิบัติจนดูว่ามีความพร้อมเพรียงกันดีแล้ว จงึ ช้ีแจงว่าถา้ ผูน้ ำ�นับ 3 ใหใ้ ชม้ อื ทั้งสองข้างไขวร้ ะดบั อกพรอ้ มกบั สง่ เสียง “เฮ”้ 4. ถ้าผูน้ �ำ นบั 4 ใหน้ �ำ การปฏบิ ัติของการนบั 1 และการนับ 2 มาปฏิบัติตอ่ เน่อื งกัน 5. ถา้ ผูน้ ำ�นบั 5 ใหน้ ำ�การปฏิบตั ขิ องการนับ 1 นับ 2 และนับ 3 มาปฏบิ ัติตอ่ เน่ืองกัน 6. ผู้ใดหรือกลุม่ ใดท�ำ ผดิ ใหร้ ับรางวลั การแสดงความสามารถพิเศษ ค่มู อื ผู้น�ำ นนั ทนาการ 135
กจิ กรรมท่ี 13 พร้อม-เฮ้ กิจกรรมนี้อาจจัดต่อเน่ืองจากกิจกรรมที่ได้รวมความสนใจมาไว้ท่ีน่ีในช่วงแรกแล้ว เช่น อาจใช้คำ�ถามน�ำ วา่ ผู้เรยี นพร้อมแลว้ หรือยัง ซึง่ กอ็ าจจะมคี นตอบว่าพร้อมบ้างหรอื ยงั ไมต่ อบ ผู้นำ�อาจเกร่ินว่า เรามาลองทดสอบความพร้อมของผู้เรียนกันก่อนดีมั๊ย ว่าพร้อมกันจริง ๆ แล้ว ทุกคน ขน้ั ตอนการด�ำ เนนิ กจิ กรรม 1. ขัน้ เตรียม ผนู้ ำ�บอกว่าถ้าผ้นู ำ�พูดค�ำ วา่ “พรอ้ ม” ใหผ้ ู้เล่นพูดคำ�วา่ “เฮ้” แลว้ ลองปฏิบตั ดิ ู 2-3 ครั้ง แล้วบอกต่อไปว่า ถ้าผู้นำ�พูดคำ�ว่า “เฮ้” ให้ผู้เล่นพูดว่า “พร้อม” จากนั้นจึงค่อย ๆ เพ่ิม จ�ำ นวนครั้งให้มากข้ึน เช่น 2 คร้ัง คือ “พร้อม พรอ้ ม” 3 ครง้ั คือ “พรอ้ ม พรอ้ ม พร้อม” ผูเ้ ลน่ ก็ จะพดู ตอบว่า “เฮ้ เฮ้” หรอื “เฮ้ เฮ้ เฮ”้ 2. ขัน้ การทำ�ท่าประกอบ ถ้าผู้นำ�พูดคำ�ว่า “พร้อม” ให้ผู้เล่นยกมือขวาข้ึนเหนือศีรษะพร้อมกับส่งเสียง “เฮ้” ถ้าผูน้ ำ�พูดคำ�ว่า “เฮ”้ ให้ผูเ้ ลน่ พูดค�ำ ว่า “พรอ้ ม” โดยยกมือทงั้ สองขา้ งขนึ้ ระดบั อกฝ่ามือต้ังฉาก กบั พื้น แล้วทดลองปฏบิ ตั ดิ ู 3. ขัน้ การใชส้ ญั ญาณมอื แทนค�ำ พูดใหท้ �ำ ตาม ถ้าผู้นำ�ยกมือขวาขึ้นเหนือศีรษะให้ผู้เล่นพูดคำ�ว่า “เฮ้” และทำ�ท่าตามผู้นำ�เช่นเดียวกัน ถา้ ผู้น�ำ ทำ�ท่ายกมือทั้งสองข้างระดบั อกใหผ้ ู้เลน่ พดู คำ�ว่า “พร้อม” และทำ�ทา่ ตามผ้นู �ำ 4. ผู้นำ�ใชส้ ญั ญาณมือแทนคำ�พูดให้ท�ำ ต่างกบั ผู้น�ำ ปฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกันแบบท่ี 3 แตท่ ำ�ตรงข้ามกนั 136 คมู่ อื ผ้นู ำ�นันทนาการ
กิจกรรมที่ 14 ฝนตก-ฟา้ รอ้ ง-ฟา้ ผา่ กิจกรรมนี้จัดเม่ือผู้เล่นนั่งบนเก้าอี้ที่สามารถลุกขึ้นยืนได้สะดวกจะเป็นการจัดให้น่ัง แบบแถวตอน แถวหน้ากระดาน หรอื คร่ึงวงกลมก็ได้ วิธกี ารจดั กิจกรรม 1. ผู้นำ�ชี้แจงว่าถ้าผู้นำ�พูดว่า “ฝนตก” ให้ผู้เล่นช่วยกันตบมือไปเรื่อย ๆ ผู้นำ�กระตุ้น ให้ตบมอื แรงขน้ึ โดยพูดวา่ “ฝนตกหนกั ” “ฝนตกหนกั มาก ๆ” แล้วบอก “ฝนหยุดตก” 2. ช้ีแจงต่อว่า ถ้าผู้นำ�พูดว่า “ฟ้าร้อง” ให้ผู้เล่นกระทืบเท้า ผู้นำ�บอกว่า “ฟ้าร้อง ดังขึ้น” “ฟ้าร้องดังมาก” แล้วสังเกตการณ์ปฏิบัติของผู้เล่นว่าปฏิบัติตามข้อตกลงหรือไม่ แล้วบอกว่าฟา้ หยดุ ร้อง 3. ถ้าผู้นำ�พูดว่า “ฟ้าผ่า” ให้ผู้เล่นทุกคนยืนข้ึนแล้วชูมือขวาพร้อมกับช้ีน้ิวขึ้นฟ้าแล้ว ร้องค�ำ ว่า “เปรีย้ ง” แลว้ รบี นั่งลงอยา่ งรวดเร็ว 4. ผู้นำ�น่ังบนเก้าอี้แล้วพาผู้เล่นให้ทำ�ท่าฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า และอาจพูดสลับกัน ไปมา เล่น “ฝนตก-ฟ้าร้อง-ฟ้าผา่ ” หรือพูดว่า “ฟ้าร้อง” แตล่ ุกข้ึนยนื ผเู้ ล่นบางคนกล็ ุกขนึ้ ยืนตาม เพราะมีสิ่งทำ�ให้ไขว้เขว ผู้นำ�อาจบอกว่า “ฟ้าผ่า 2 คร้ัง” “ฟ้าผ่า 3 คร้ัง” เพื่อเพ่ิมความ สนกุ สนาน คมู่ ือผู้น�ำ นันทนาการ 137
กิจกรรมท่ี 15 อ-่ี อา้ -อุ๊ย-โอ้ย กิจกรรมนี้เป็นการให้ผู้เล่นได้มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนท่ีนั่งอยู่ข้าง ๆ ท้ังข้างซ้ายและขวา ควรจัดแถวเป็นรูปวงกลมหรือครึ่งวงกลม หากไม่สะดวกจะนั่งเป็นแถวหน้ากระดานก็ได้โดย กิจกรรมนเ้ี ป็นการฝกึ การทำ�งานประสานกนั ระหวา่ งประสาทกบั กลา้ มเนือ้ อกี ดว้ ย วิธกี ารจดั กิจกรรม 1. ผู้นำ�ถามผู้เล่นว่าขณะที่แมลงต่าง ๆ บินมันจะส่งเสียงว่าอย่างไรผู้เล่นอาจตอบว่า “หว่ี” หรือ “อี่” อธิบายต่อว่าถ้าผู้นำ�นับ 1 ให้แมลงบินมาโดยสมมติให้น้ิวชี้มือขวาของทุกคน เป็นแมลงลองปฏิบัติดู ผู้นำ�เร่ิมนับ 1 ผู้เล่นส่งเสียง “อ่ี……” พร้อมกับใช้นิ้วชี้มือขวาทำ�ท่า แมลงบนิ ไปมา 2. ให้ผู้เล่นใช้มือซ้ายแทนดอกไม้ถ้าผู้นำ�นับ 2 ให้ยกมือซ้ายขึ้น พร้อมกับแบบมือ อยู่ข้างล�ำ ตัว พรอ้ มกบั สง่ เสียงวา่ “อา้ ” 3. ถ้าผู้นำ�นับ 3 ให้แมลงบินไปเกาะดอกไม้คือที่มือซ้ายของเพื่อนท่ีน่ังอยู่ข้างกันแล้ว ทกุ คนสง่ เสียงวา่ “อุ๊ย” โดยใชน้ ้วิ ชีม้ อื ขวา แตะท่กี ลางฝา่ มอื ซ้ายของเพอื่ น 4. ถ้าผ้นู ำ�นับ 4 ใหแ้ มลงไต่ไปบนดอกไม้ โดยใช้นว้ิ ชมี้ ือขวาวนไปรอบ ๆ บนฝา่ มอื ของ เพอื่ นแลว้ ชว่ ยกนั รอ้ งวา่ “โอย๊ ………” 5. ถ้าผู้นำ�นับ 5 ให้ดอกไม้รีบหุบ (กำ�มือซ้าย) และแมลงก็ต้องรีบบินหนี (ยกนิ้วชี้ มือขวาขนึ้ ) ผนู้ �ำ อาจหลอกล่อโดยนบั เลขอื่น ๆ ก็ได้ 6. ใครถกู จบั ไดใ้ ห้รอรบั รางวัลแสดงความสามารถพเิ ศษ 138 คู่มอื ผนู้ ำ�นันทนาการ
กิจกรรมที่ 16 ไอโ้ ต้ง ไอแ้ จ้ และแม่ไก่ กิจกรรมน้ีผู้นำ�เกมอาจเกร่ินนำ�ถึงเรื่องราวของไก่ว่ามีก่ีชนิดอะไรบ้าง มันขันอย่างไร มันทำ�ทา่ ทางอยา่ งไร จากนนั้ จึงค่อยเร่ิมกจิ กรรม วิธีการจดั กจิ กรรม 1. ผู้นำ�บอกว่าถ้าได้ยินคำ�ว่า “ไอ้โต้ง” ให้ผู้เล่นใช้แขนทำ�ท่ากระพือปีกเหมือนไก่โต้ง แลว้ รอ้ ง “โอ้ก อ้ี โอก” ถา้ ได้ยนิ ค�ำ วา่ “ไอแ้ จ”้ ให้ผเู้ ล่นเอามือป้องปากแล้วรอ้ ง “เอก๊ อี๊ เอ๊ก” เหมือนเสียงไก่แจ้ ถ้าได้ยินคำ�ว่า “แม่ไก่” ให้ผู้เล่นกอดอกลุกข้ึนยืนแล้วย่อเข่าลง 2 ครั้ง พร้อม กับจังหวะที่รอ้ ง “กระตา๊ ก กระต๊าก” 2. ผู้นำ�พูดคำ�ต่าง ๆ และให้ลองปฏิบัติทีละท่าจนดูว่าส่วนใหญ่เข้าใจและสามารถ ปฏิบัตไิ ดแ้ ล้ว 3. ผู้นำ�เพ่ิมคำ�พูดเป็นคร้ังละ 2 คำ� เช่น “ไอ้โต้ง-แม่ไก่”/“แม่ไก่-ไอ้แจ้”/“ไอ้แจ้-ไอ้ โตง้ ”/ “ไอ้โต้ง-ไอ้แจ”้ 4. ผู้น�ำ เพิ่มคำ�พูดเป็นครงั้ ละ 3 คำ� เชน่ “ไอ้โตง้ -แก่ไก-่ ไอแ้ จ้”/“แมไ่ ก่-ไอ้แจ-้ ไอโ้ ตง้ ”/ “ไอ้แจ้-แม่ไก่-ไอ้แจ”้ /“ไอ้โต้ง-ไอแ้ จ-้ แม่ไก่” 5. ผูน้ ำ�ให้แข่งขันเป็นรายกลมุ่ ย่อย ๆ กลุ่มใดท�ำ ผิดใหร้ บั รางวัลพิเศษ 6. กิจกรรมน้ีอาจเป็นขั้นนำ�ไปสู่การร้องเพลงที่เกี่ยวกับไก่ เช่น เพลงระบำ� ก.ไก่ เพลงไก่ซ่งิ เพลงไก่เพ่ือนฉนั เพลงไกอ่ อกไข่ เป็นต้น คมู่ ือผ้นู ำ�นนั ทนาการ 139
กจิ กรรมที่ 17 ตบมือใหจ้ งั หวะ การตบมือคนเดยี ว 1. ผนู้ ำ�เลือกเพลงสัน้ ๆ ง่าย ๆ เหมาะกบั วยั และสถานการณ์มา 1 เพลง เชน่ เพลงช้าง เพลงสวสั ดี เพลงลอยกระทง เพลงร�ำ ระบำ�ชาวเกาะ เป็นตน้ แล้วน�ำ ผูเ้ ล่นรอ้ งซึง่ คาดว่าสว่ นใหญ่ รอ้ งได้และตบมอื ให้จงั หวะไปดว้ ย 2. ผนู้ �ำ ชวนผู้เลน่ ตบมอื แบบตบมอื และตบตกั ตัวเอง โดยการฝึกใหน้ ับ คือ ตบมือนับ 1 ตบตักนับ 2 ให้ผู้เล่นทดลองทำ�ดูแล้วผู้นำ�พูดตามจังหวะ คือ “เตรียม-ตัว-ร้อง-เพลง” และ เริ่มร้องนำ�เพลงที่เตรียมไว้ สังเกตดูว่าผู้เล่นปฏิบัติได้เป็นส่วนใหญ่หรือไม่ ใครท่ียังปฏิบัติไม่ได้ หรือไม่ลงจังหวะ 3. ผู้นำ�ชวนผู้เล่นตบมือในแบบที่ยากขึ้นอีก คือ ตบมือ ตบตัก ตบมือ และไขว้แขน ตบไหล่เปน็ จงั หวะ 1-2-3-4 ด�ำ เนินการเหมือนข้อ 2 4. ผู้นำ�ชวนตบมือเหมือนแบบท่ี 3 แต่ให้ใช้ปลายเท้าทั้งสองข้างเคาะจังหวะทั้ง 4 จงั หวะ ไปด้วย (กรณีนัง่ เกา้ อี้) 5. ผู้น�ำ ชวนให้คิดและทำ�โดยกำ�หนดว่า จงั หวะที่ 1 ใหต้ บมือสว่ นจงั หวะท่ี 2-3 และ 4 จะทำ�ท่าอะไรก็ได้ เช่น จังหวะท่ี 1 ตบมือ จังหวะท่ี 2-3-4 ตบหน้าขาและร้องจนจบเพลง หรอื จะทำ�ท่าอ่ืน ๆ กไ็ ด้ เช่น ไขวแ้ ขนตบไหล่ พยกั หน้า ยกั ไหล่ ยกแขน ยกขา เปน็ ตน้ 6. ผู้นำ�กำ�หนดให้จังหวะท่ี 1 เป็นการตบมือ จังหวะที่ 2-3-4 ให้เคลื่อนไหว หรือทำ�ท่าท่ีไม่ซำ้�กันเลย ซ่ึงจะทำ�ให้ผู้เล่นต้องคิดการขยับอวัยวะต่าง ๆ ตามจังหวะ เช่น การพยักหน้า การยักไหล่ เคลื่อนไหวมือ การยักค้ิว การยกแขน การยกขาไปจนจบเพลง ซึง่ จะทำ�ใหเ้ คลือ่ นไหวไปในส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย 7. ผู้นำ�กำ�หนดให้จังหวะท่ี 1 และ 3 เป็นการตบมือ ส่วนจังหวะท่ี 2 ให้ใช้มือขวา จบั จมกู มอื ซ้ายจับหู จังหวะที่ 4 ให้ใช้มือซา้ ยจบั จมกู มอื ขวาจับหู การตบมือกับเพ่อื น 1. การน่ังเป็นแถวหน้ากระดานหรือคร่ึงวงกลม เราสามารถให้ผู้เล่นตบมือกับเพื่อน ทีน่ ัง่ อยทู่ างด้านซา้ ยและขวาไดห้ ลายรูปแบบ เช่น 1.1 ตบมือ 2 จังหวะ จังหวะท่ี 1 ตบมือตัวเอง จังหวะท่ี 2 แบมือซ้ายและ ควำ่�มอื ขวาลงไปตบกับมอื ซ้ายของเพอ่ื นที่แบอยู่ 140 ค่มู ือผนู้ �ำ นนั ทนาการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192