Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้วิชาพลศึกษา กรีฑา ครูจงรัก

ใบความรู้วิชาพลศึกษา กรีฑา ครูจงรัก

Published by cho.akira26, 2022-05-17 08:26:23

Description: ใบความรู้วิชาพลศึกษา กรีฑา ครูจงรัก

Search

Read the Text Version

ใบความรู้กีฬากรีฑา 1 ประวัติความเป็นมาของกรฑี า เชอื่ กันวา่ ชาวกรีกสมัยโบราณ เปน็ ผู้ริเรมิ่ การแข่งขนั กฬี าและกรฑี า เกดิ ขน้ึ เม่ือประมาณ ปกี อ่ นครสิ ตกาล โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื เตรยี ม พลเมืองของกรกี ใหม้ ีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทงั้ รา่ งกายและจติ ใจ พรอ้ มท่จี ะรบั ใชป้ ระเทศชาตไิ ดอ้ ยา่ งเต็มท่ี และเช่อื วา่ มีเทพเจ้าสถติ อยบู่ นเขาโอลมิ ปสั ชาวกรีกจะตอ้ งมีการเลน่ กีฬาถวาย ณ ลานเชงิ เขาโอลมิ ปัส เพือ่ เป็นการเฉลิมฉลองพระเกยี รตขิ องเทพเจ้า การเลน่ กีฬาที่บันทึก เป็นประวตั ศิ าสตร์ สบื ตอ่ กนั มา คือ การเล่นกฬี า ประเภท ไดแ้ ก่ การวิง่ แข่ง การกระโดด มวยปล้า พงุ่ แหลน และขวา้ งจักร ต้องเล่นท้งั ใน พ.ศ. 936 (ค.ศ. 393) จักรพรรดธิ ีโอดซีอสุ แหง่ โรมนั มีคา้ สง่ั ให้ยกเลิกการเล่นกีฬาเปน็ ระยะเวลานานกวา่ 15 ศตวรรษ ตอ่ มาใน พ.ศ.2439 (ค.ศ. 1896) กีฬาโอลมิ ปกิ กลับมาเรม่ิ อีกครงั้ ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีกโดย บารอน ปแี อร์ เดอ คแู บร์แตง ชาวฝรงั่ เศส ซึ่งเขาได้ชกั ชวนชาตติ า่ ง ๆ เข้ามาร่วมประชุม เพื่อแข่งขนั กฬี ารว่ มกัน โดยใหจ้ ัดการแขง่ ขนั 4 ปี ต่อ 1 คร้งั พร้อมระบขุ ้อตกลงในการเล่นกฬี ากรฑี าเป็นหลกั ของการแขง่ ขนั เพื่อเป็นเกยี รตแิ กช่ าวกรกี ในสมัยโบราณผรู้ เิ ร่มิ กฬี าโอลมิ ปกิ ประวตั คิ วามเปน็ มาของกรีฑาในประเทศไทย ผู้ริเรม่ิ ใหม้ ีการแขง่ ขนั กรีฑาในประเทศไทยนน้ั ก็ คือ กระทรวงธรรมการ (ปัจจุบันคอื กระทรวงศกึ ษาธิการ) ทไี่ ดจ้ ัดใหม้ กี ารแขง่ ขนั กรีฑาระดบั นักเรยี น ครง้ั แรก เม่อื วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2440 ณ ทอ้ งสนามหลวง รัฐบาลไดจ้ ดั ต้งั กรมพลศึกษาขน้ึ โดยจดั ให้มกี ารแขง่ ขนั กรฑี าระหวา่ งโรงเรียนและอื่น ๆ ประเทศไทยได้สง่ นักกฬี าเข้ารว่ ม การแขง่ ขันกฬี าโอลิมปกิ เกมสเ์ ปน็ ครั้งแรก

ใบความรกู้ ฬี ากรีฑา 2 ขนาดสนามกรฑี ามาตรฐาน 200 ม. เส้น Start 1,500 ม. เส้น Start 3,000 ม. 5,000 ม. 400 ม. เส้น Start 110 ม. Start 100 ม. Start เส้นชยั Finish Line สนามกรฑี า 400 เมตร กวา้ ง 5 ซม. ประกอบด้วย ทางวง่ิ ที่เปน็ ทางตรงและทางโค้ง ถา้ วงิ่ ชดิ ขอบในสดุ โดยหา่ งขอบใน เซนติเมตร (ขอบในทา้ ดว้ ยคอนกรีตหรือโลหะ) หรือ เซนติเมตร (ขอบในทา้ ดว้ ยปูนขาว หรอื ทาดว้ ยส)ี ครบหนึ่งรอบ จะไดร้ ะยะทาง 400 เมตร มที งั้ หมด 8 ช่องว่ิง ลู่ว่งิ คอื ทางวิง่ ท้งั หมด เป็นระยะทาง 400 ม. ช่องวิง่ คอื เขตท่ีแบง่ ย่อยจากลู่วิง่ เป็นช่องว่งิ ท่ี 1 ชอ่ งวิ่งท่ี 2 จนถึงช่องที่ 8 มคี วามกวา้ ง ช่องวิ่งละ 1.22 เมตร การวัดความกว้าง วดั จาก ขอบนอกถงึ ขอบใน เสน้ ของช่องวง่ิ กว้าง 5 ซม. รัศมที างว่ิง จดุ ศนู ยก์ ลาง รัศมขี อบใน r2 คือ รศั มีที่วัดจากจุดศนู ยก์ ลางไปถงึ ทาง r1 วิ่งของชอ่ งวิง่ นน้ั ๆ R1 R2 คอื รัศมที ่ีวัดจากจุดศนู ย์กลางไปถงึ ขอบในชอ่ ง วง่ิ น้ันๆ ของจุดศนู ยก์ ลาง

ใบความร้กู ีฬากรฑี า 3 องค์กรทเ่ี กย่ี วกับกีฬากรีฑา 1. สมาคมกีฬากรีฑาแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ (Athletic Association of Thailand; AAT) กอ่ ตัง้ ข้นึ ในปี ในชื่อ \"สมาคมกรฑี าสมัครเล่นแห่งประเทศไทย“ และ สมคั รเข้าเป็นสมาชิกสหพนั ธ์สมาคมกรฑี านานาชาตใิ นปเี ดียวกัน โดยมี มหาเสวก โท พระยาจนิ ดารักษ์ อธิบดีกรมพลศกึ ษา (พ.ศ. 2488-2490) เป็นนายก สมาคมฯ คนแรก ต่อมาไดเ้ ปลย่ี นชื่อสมาคม ฯ ในปี นายกสมาคมฯ คนปจั จุบนั คอื พลต้ารวจเอกสนั ต์ ศรุตานนท์ 2.กรีฑาโลก (World Athletics) หรอื ในช่ือก่อนหน้า สหพนั ธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ International Association of Athletics Federations (IAAF) ก่อตั้งในปี สา้ นักงานตง้ั อยู่ที่ประเทศโมนาโก ในเดือนมถิ นุ ายน สหพนั ธ์ได้มีมติให้เปลย่ี นช่ือเป็น กรีฑาโลก (World Athletics) ประเภทของการแข่งขนั กรีฑา 1. กรีฑาประเภทลู่ (Track Events) 2. กรีฑาประเภทลาน (Field Events) 3. กรฑี าประเภทถนน (Road Races) 4. กรีฑาประเภทเดนิ (Walking Events) 5. กรฑี าประเภทวิ่งข้ามทงุ่ (Cross Country Races) 6. กรฑี าประเภทรวม (Combined Competitions)

ใบความรกู้ ฬี ากรีฑา 4 1. กรีฑาประเภทลู่ (Track Events) คือ กรฑี าประเภทท่ีต้องแขง่ ขนั กนั บนทางวง่ิ หรอื ถนน หรอื บนทางว่งิ ทเ่ี รยี กวา่ “ล”ู่ ใชก้ ารวิง่ ในการตัดสนิ กนั ด้วยความเรว็ และเวลา แบง่ ออกดงั นี้ 1.1 การวิ่งระยะสนั้ (The Sprints) นักกรฑี าตอ้ งว่ิงในชอ่ งวง่ิ เฉพาะตัวตลอด ระยะทาง มรี ะยะทางไม่เกิน 400 เมตร ไดแ้ ก่ ชาย หญงิ 1. ว่งิ 100 เมตร 1. วิ่ง 100 เมตร 2. วิ่ง 200 เมตร 2. ว่ิง 200 เมตร 3. วิง่ 400 เมตร 3. ว่งิ 400 เมตร 1.2 การวิ่งระยะกลาง (Middle Distance) มรี ะยะทางแขง่ ขนั เกิน 400 เมตร แต่ไม่เกิน 1,500 เมตร ไดแ้ ก่ ชาย หญงิ 1. วิ่ง 800 เมตร 1. วง่ิ 800 เมตร 2. ว่งิ 1,500 เมตร 2. ว่งิ 1,500 เมตร 1.3 การว่ิงระยะไกล (Long Distance) มรี ะยะทางแข่งขนั เกิน 1,500 เมตร ขน้ึ ไป ได้แก่ ชาย หญิง 1. วิง่ 5,000 เมตร 1. ว่ิง 3,000 เมตร 2. วิง่ 10,000 เมตร หญิง 1.4 วิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง ชาย 1. ว่งิ ข้ามรว้ั 110 ม. 1. วง่ิ ขา้ มร้ัว 100 ม. 2. ว่งิ ขา้ มรว้ั 400 ม. 2.ว่งิ ขา้ มรัว้ 400 ม. 3. วิง่ ข้ามเครอื่ งกดี ขวาง 3,000 ม. (Steeple Chase) 1.5 ว่ิงผลดั (Relay) ชาย หญงิ 1. วิง่ ผลัด 4 x 100 ม. 1. วงิ่ ผลัด 4 x 100 ม. 2.ว่ิงผลดั 4 x 400 ม. 2.ว่ิงผลดั 4 x 400 ม.

ใบความรู้กีฬากรีฑา 5 2. กรีฑาประเภทลาน (Field Events) คอื กรีฑาประเภททตี่ ้องประลองกนั บนลานกวา้ ง ๆ หรือพน้ื สนามทว่ี ่าง จะตัดสินผลการแขง่ ขนั กนั ดว้ ยความไกลหรอื ความสงู แบง่ ออกดังน้ี 1. ประเภทกระโดดเพื่อความไกล 1.1 กระโดดไกล (Long Jump) ชายและหญิง 1.2 เขยง่ กา้ วกระโดด (Triple Jump) ชายและหญงิ Long Jump Long Jump Triple Jump Triple Jump พืน้ ที่กระโดดสงู 2. ประเภทกระโดดเพือ่ ความสงู ไม้คา้ 2.1 กระโดดสงู (High Jump) ชายและหญิง 2.2 กระโดดคา้ (Pole Vault) ชายและหญิง High Jump High Jump Pole Vault Pole Vault ค้อน ลกู ท่มุ น้าหนัก 3. ประเภทท่มุ ขว้าง พงุ่ (Throwing) จกั ร แหลน 1. ทมุ่ น้าหนัก (Shot Put) ชายและหญิง 2. ขว้างจกั ร (Discus Throw) ชายและหญิง 3. พุง่ แหลน (Javelin Throw) ชายและหญิง 4. ขว้างค้อน (Hammer) ชายและหญิง Shot Put Discus Throw Javelin Throw Hammer

ใบความรกู้ ฬี ากรีฑา 6 3. กรฑี าประเภทถนน (Road Races) นักกรีฑาตอ้ งวิ่งบนถนนซงึ่ ทา้ เคร่ืองหมายไวช้ ัดเจนแล้ว และพน้ื ถนนตอ้ งไม่ใช่พื้นทอี่ อ่ นนมุ่ เสน้ เร่ิมและเส้นชยั จะใหอ้ ยใู่ นบริเวณสนามกรีฑากไ็ ด้ ระยะทางในการแขง่ ขัน ไดแ้ ก่ 1. วิง่ 15 กิโลเมตร Marathon ชาย Marathon หญิง 2. วิง่ 20 กิโลเมตร 3. วิ่ง 25 กิโลเมตร 4. วงิ่ 30 กิโลเมตร 5. วงิ่ มาราธอน (Marathon) 42 .195 กิโลเมตร ชายและหญิง Walking Events 4. กรฑี าประเภทเดนิ (Walking Events) การแข่งขนั เดิน เป็นการกา้ วเท้าไปข้างหน้า การกา้ วเท้าน้นั ต้องไม่ท้าใหก้ ารสมั ผสั พน้ื ของเทา้ ขาดชว่ งตอ่ เนอ่ื งกันไป ในลักษณะเทา้ หนา้ สัมผสั พืน้ กอ่ นที่เทา้ หลังจะพ้นพ้ืนและเทา้ หน้าท่ีสมั ผัสพนื้ ตอ้ งเหยยี ดตรงในชว่ั ขณะท่ีล้าตัวตงั้ ฉาก กบั พืน้ การแข่งขันเดนิ มีระยะทางดงั น้ี 1. เดนิ 20 กโิ ลเมตร 2. เดนิ 50 กโิ ลเมตร ชายและหญงิ 5. กรฑี าประเภทวงิ่ ข้ามทุ่ง (Cross Country Races) คือ การแขง่ ขนั ทว่ี ง่ิ ไปตามภูมปิ ระเทศท่กี า้ หนด อาจเป็นเนินเขา ทางลาดเอียง ทงุ่ หญ้าเป็นต้น โดยมีระยะทางดังนี้ ส้าหรับนักกีฬาชาย ระยะทาง 4 - 6 กโิ ลเมตร ส้าหรับนกั กีฬาหญงิ ระยะทาง 8 - 12 กิโลเมตร Cross Country Races นักกีฬาชายและหญิง

ใบความรูก้ ฬี ากรฑี า 7 6. กรีฑาประเภทรวม (Combined Competitions) กรีฑาประเภทรวม แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. ประเภทชาย ได้แก่ ทศกรีฑา ประกอบด้วยการแข่งขนั รายการ จัดแข่งขัน 2 วนั ตดิ ต่อกนั ดังนี้ 1. ว่ิง 100 เมตร วนั แรก แขง่ ขนั 5 รายการ 2. กระโดดไกล 3. ท่มุ นา้ หนัก 4. กระโดดสงู 5. วงิ่ 400 เมตร วันท่ีสอง แขง่ ขนั 5 รายการ 6. วง่ิ ขา้ มรั้ว 110 เมตร 7. ขว้างจกั ร 8. กระโดดค้า 9. พ่งุ แหลน 10. ว่ิง 1,500 เมตร 2. ประเภทหญิง ได้แก่ สตั ตกรีฑา ประกอบดว้ ยการแขง่ ขนั รายการ จดั แขง่ ขัน 2 วนั ติดต่อกนั ดงั น้ี 1. วง่ิ ข้ามร้วั 100 เมตร วนั ทแ่ี รกแขง่ ขัน 4 รายการ 2. กระโดดสงู 3. ทมุ่ น้าหนกั 4. วง่ิ 200 เมตร วนั ทส่ี อง แขง่ ขนั 3 รายการ 5. กระโดดไกล 6. พ่งุ แหลน 7. ว่งิ 800 เมตร

ใบความร้กู ฬี ากรีฑา 8 กตกิ าการแขง่ ขนั กรฑี า Starting Blocks 1. กรฑี าประเภทลู่ (Track Events) 1.1 ที่ยนั เท้าออกว่ิง (Starting Blocks) โดยจะน้ามาใช้ส้าหรบั การแขง่ ขนั ประเภททม่ี ี ระยะทาง ไมเ่ กิน 400 เมตร เช่น การวงิ่ ระยะส้ัน การวงิ่ ผลัด 1.2 การปล่อยตวั (The Start) การปล่อยตวั การแข่งขันทกุ ประเภทจะใช้ “เสียงปนื ” หรืออุปกรณป์ ล่อยตัว โดยการยิงปนื ขนึ้ ฟา้ ภายหลังจากผู้ปล่อยตวั แนใ่ จ นกั กรฑี านิง่ และอยู่ในตา้ แหน่งการออกตวั ทถ่ี ูกต้อง 1.3 การปล่อยตวั ในการวิ่งระยะสนั้ (The Start) การปลอ่ ยตวั ระยะสนั้ จะใช้คา้ ว่า “เข้าท่ี” หรือ “On Your Marks” ตามด้วยคา้ ว่า “ระวัง” หรือ “Set” แล้วจงึ ให้สญั ญาปล่อยตัว เม่อื นักกีฬาไดย้ นิ ค้าว่า “ระวัง” จะโยกสะโพกขนึ้ จากนัน้ ผปู้ ล่อยตวั ถึงจะยงิ ปนื ในการปล่อยตวั ถกู กิตกา 1.3 การปล่อยตวั ในการวิ่งระยะสนั้ (The Start) ต่อ มือ หรอื นิ้วทีจ่ รด จะตอ้ งไมส่ มั ผัสกบั เสน้ ปล่อยตัว และตอ้ งอยู่หลงั เสน้ ปล่อยตวั เทา่ นนั้ 1.4 การปล่อยตวั ในการว่ิงระยะกลาง/ไกล นกั กรีฑาจะต้องยนื ปลอ่ ยตัว โดยจะใชค้ ้าสัง่ วา่ “เขา้ ท่ี” หรือ “On Your Marks” แล้วจึงปล่อยตวั กรณีออกตวั ผิดกติกา ต้องยืนปล่อยตวั หากออกตวั ผิดกติกาในครง้ั แรกจะตอ้ งใหอ้ อก การวิ่งระยะกลาง/ไกล จากการแข่งขนั โดนให้ (ใบแดง/ด้า) โดยผูป้ ล่อยตวั เห็นวา่ มีนกั กรีฑาเรม่ิ ออกตวั กอ่ นจังหวะ ผ้ปู ลอ่ ยตวั จะเรยี ก ใบแดง/ดา นักกรฑี ากลับเขา้ ท่ี ด้วยการยินปืนขน้ึ ฟา้ เวน้ แตก่ ารแขง่ ขนั ประเภทรวม เช่น ทศกรฑี า สัตตกรฑี า หากออกตวั ผิดคร้ังแรกจะให้ (ใบเหลือง/ดา้ ) เพอ่ื เป็นการเตือน ใบเหลือง/ดา ถ้าผดิ ครง้ั ที่สองจะให้ (ใบแดง/ดา้ )

ใบความรกู้ ีฬากรฑี า 9 กตกิ าการแขง่ ขันกรฑี า 1. กรีฑาประเภทลู่ (Track Events) 1.1 การแข่งขนั ว่ิงระยะสนั้ ไม่ 400 ม. (The Race) การแข่งขนั ทุกประเภทท่ีวงิ่ ในช่องวงิ่ นกั กรีฑา แตล่ ะคนจะตอ้ งอยใู่ นชอ่ งวงิ่ ของตนเองตงั้ แตเ่ รมิ่ จนถึงเส้นชยั ถ้านักกรฑี าคนใดมีการชนหรอื กระแทกนกั กรฑี า คนอ่ืนในลกั ษณะขัดขวาง นกั กรีฑาคนนั้น หรือทีมน้นั จะตอ้ งตัดถกู สทิ ธ์ิออกจากการแข่งขนั 1.2 การแข่งขนั วิ่งระยะ 800 ม. ขึน้ ไป (The Race) นักกีฬาสามารถวิ่งในช่องวิ่งตนเองจนถงึ เสน้ ตัดลู่ เมื่อผา่ นเสน้ ตัดลู่ จึงจะสามารถวง่ิ ตัดเขา้ ลชู่ ่องวงิ่ ดา้ นในได้ 1.3 การแข่งขนั วิ่งข้ามรวั้ (Hurdle Races) การแขง่ ขันวงิ่ ขา้ มร้วั ในทกุ ประเภท จะต้องมรี ว้ั 10 รว้ั ให้วง่ิ ขา้ มในแต่ละช่องวงิ่ 1.4 การแข่งขนั ว่ิงวิบาก (Steeple Chase Races) การว่งิ วิบาก 3,000 เมตร จะตอ้ งกระโดดข้ามร้ัว 28 ร้ัว และกระโดดลงบ่อน้า 7 ครง้ั การวิ่งวบิ าก 2,000 เมตร จะต้องกระโดดขา้ มรัว้ 18 รัว้ และกระโดดลงบ่อนา้ 5 ครัง้ จะตอ้ งท้าการกระโดดทงั้ หมด 5 คร้ัง ในครงั้ ที่ 4 จะตอ้ งกระโดดลง บอ่ น้า 1.5 การแข่งขนั วิ่งผลดั (Relay Races) ไมค้ ฑา จดุ เริ่มต้นรบั ไม้ นักกีฬาจะต้องถอื ไม้คฑาตลอดการแขง่ ขัน กรณีไม้คฑาหลุดมือ อาจจะต้องว่งิ ไปเกบ็ แตต่ ้องไม่ยน่ ยาว 28 – 30 ซม. ระยะทางและไม่ขดั ชวางในช่องนักกรีฑาคนอืน่ เขตรบัเข–ตสร่งบั ไม–ค้สฑ่งไาม้คฑา จดุ สิ้นสดุ รบั ไม้ เขตรับไม้คฑาของการแข่งขนั 4x100 ม. และ4x200 ม. เขตรบั ไม้ที่ 2 และ 3 เขตรับส่งมคี วามยาว 30 เมตร เขตรบั ไม้คฑาของการแข่งขนั 4x400 ม. 4x400 ม. และ4x1,500 ม. เขตรับไม้ท่ี 2 และ 3 เขตรบั สง่ มีความยาว 20 เมตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook