Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ม. 2 หน่วยที่ 11

สุขศึกษา ม. 2 หน่วยที่ 11

Published by cho.akira26, 2020-07-15 02:27:46

Description: สุขศึกษา ม. 2 หน่วยที่ 11

Search

Read the Text Version

ในการดาเนิ นชีวิตของมนุษย์ จะพบว่ามีพฤติกรรมเส่ียงและสถานการณ์เสี่ยงเกิดขึ้นเสมอ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดโรค การบาดเจ็บ ความพิการ และการเสียชีวิต การเรี ยนรู้ถึงลักษณะ สาเหตุ วิ ธี การป้ องกัน หรือหลีกเล่ี ยงพฤติ กรรมเส่ี ยง และสถานการณ์เสี่ยง รวมถึงการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถกู ต้อง จะทาให้เราเกิดทกั ษะ ในการป้องกนั และหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง ทาให้เกิดความปลอดภยั ในชีวิตและมีคณุ ภาพชีวิตที่ดี

พฤติกรรมเส่ียง พฤติกรรมเส่ียง หมายถึง พฤติกรรมท่ีนามาหรอื เป็นสาเหตใุ ห้เกิด ความเสี่ยงต่อการดาเนินชีวิต ทาให้รา่ งกายเป็นอนั ตราย สญู เสีย หน้าที่ ขาดโอกาสพฒั นาตามปกติมีผลเสียต่อสขุ ภาพเยาวชน ผอู้ ื่น และสงั คม สิ่งแวดล้อม หรือเสียชีวิต เช่น พฤติกรรมสูบบหุ ร่ี ดม่ื สรุ า ติดเกม มีเพศสมั พนั ธ์ท่ีไมป่ ลอดภยั การยตุ ิการตงั้ ครรภท์ ี่ ไม่ปลอดภยั การแข่งรถมอเตอรไ์ ซค์ เป็นต้น

ประเภทของพฤติกรรมเสี่ยง พฤตกิ รรมทไ่ี ม่ย้งั คดิ ประเภทนมี้ กั เกดิ จากความหุนหนั พลนั แล่น ไม่คดิ ถงึ อนั ตรายท่ีจะตามมา เช่น การเล่นกฬี าทโ่ี ลดโผนอนั ตราย การกนิ อาหารทีม่ ากเกนิ ไปหรือน้อยเกนิ ไป การไม่ปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ต่างๆ การดือ้ ไม่เรียนหนงั สือ พดู จาหยาบคายส่งเสียงดงั แต่งกายไม่เรียบร้อย ไว้ผมยาว ขบั ขรี่ ถเสียงดงั หวาดเสียว พฤติกรรมละเมดิ กฎเกณฑ์ และสิทธผิ ู้อื่น ได้แก่ ก้าวร้าว เกเรลกั ขโมยทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน ทาลายทรัพย์สินสาธารณะ ลวนลามเพศตรงข้าม และอาชญากรรม

ประเภทของพฤตกิ รรมเส่ียง พฤติกรรมทางเพศ ไดแ้ ก่ การสนใจเร่ืองเพศมากจนเกินปกติ การหมกมุ่นกบั การสาเร็จความใคร่ดว้ ย ตนเอง การแสดงออกทางเพศไม่เหมาะสมกบั กาลเทศะ การยวั่ ยวน การมี เพศสมั พนั ธโ์ ดยไมป่ ้องกนั การทาแทง้ พฤตกิ รรมการใช้ยาหรือสารเสพตดิ เป็นพฤติกรรมที่วยั รุ่นใชห้ าความสุข หรือแกไ้ ขความทกุ ขใ์ หห้ มดไปในระยะเวลาอนั ส้นั เริ่มตน้ จากการใชส้ ารเสพติดแบบออ่ น เช่น บหุ รี่ หรือเหลา้ ไปจนถึงสารเสพติดชนิดท่ี รุนแรง เช่น ยาบา้ กญั ชา สารระเหย เฮโรอีน เป็นตน้

ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จากการมพี ฤตกิ รรมเสี่ยง ปฏิกิริยาทางลบจากบุคคลอ่ืน อบุ ตั ิเหตุ การเกิดโรค การสูญเสียโอกาสในอนาคต ปัญหาสังคม

ปัจจัยเสี่ยงทท่ี าให้วยั รุ่นมีพฤตกิ รรมเส่ียง พืน้ ฐานอารมณ์ การเลยี้ งดู เพื่อน ปัญหาครอบครัว

ปัจจัยเส่ียงทท่ี าให้วยั รุ่นมพี ฤติกรรมเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ การด่ืมเคร่ืองท่ีมีแอลกอฮอล์ การใชส้ ารเสพติดต่างๆ พฤติกรรมการขบั ขี่รถจกั รยานยนต์ รถยนตท์ ี่ไมป่ ลอดภยั ควรดมื่ น้าสะอาดเพือ่ สขุ ภาพ

ปัจจัยเสี่ยงทีท่ าให้วยั รุ่นมีพฤตกิ รรมเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสขุ ภาพ พฤตกิ รรมเส่ียงทางเพศ การสูบบุหร่ี การไม่ได้ออกกาลงั กายสม่าเสมออย่างน้อย ๓ คร้ังต่อสัปดาห์ การออกกาลงั กายจะทาให้มสี ขุ ภาพท่ีแขง็ แรง

ปัจจัยเสี่ยงทที่ าให้วยั รุ่นมพี ฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ การด่ืมนมตา่ กว่าเกณฑ์ การได้รับสารอาหารในกลุ่มผกั ผลไม้ตา่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน (๔๐๐ กรัมต่อวนั ) เดก็ ไทยควรด่มื นมวนั ละ ๒-๓ แก้ว

ปัจจยั เสี่ยงทที่ าให้วยั รุ่นมพี ฤติกรรมเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงต่ออบุ ตั ิเหตุ ๑. การไม่ปฏิบตั ิตามกฎจราจร ๒. พฤติกรรมเบี่ยงเบน ๓. ขาดความชานาญเส้นทางและขาดความมั่นใจในการขับรถ ๔. การขบั รถด้วยความเร็วสูง ๕. การกนิ ยาท่ีมผี ลต่อร่างกาย ทาให้ความสามารถในการขับข่ลี ดลง ๖. การด่ืมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ๗. พฤติกรรมการใช้ชีวติ ประจาวนั ขณะขบั รถ

ปัจจยั เส่ียงทท่ี าให้วยั รุ่นมีพฤตกิ รรมเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงต่ออบุ ตั ิเหตุ การข้ามถนนทางมา้ ลายช่วยลดอบุ ตั ิเหตุ

ปัจจัยเส่ียงทท่ี าให้วยั รุ่นมีพฤตกิ รรมเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้ยา ๑. ปรับขนาดยาเอง ด้วยความเชื่อที่ว่ากนิ ยามากไม่ดี ๒. นายาของคนอ่ืนมาใช้ ๓. ไม่พร้อมฟังคาอธบิ ายจากเภสัชกร ๔. เกบ็ ยาไม่ถูกต้อง ๕. ไม่ดวู นั หมดอายุเวลาซื้อยา ๖. ใช้ยาไม่ถูกต้อง ๗. ลืมกนิ ยา ๘. เช่ือว่าการใช้ยาดกี ว่าการป้องกนั โรค ยามีไวเ้ พ่ือรกั ษาโรคแต่ควรใช้อย่างระมดั ระวงั

ปัจจัยเสี่ยงทท่ี าให้วยั รุ่นมพี ฤตกิ รรมเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อความรนุ แรง ๑. การอยู่ในกล่มุ เพ่ือนท่ชี อบใช้ความรุนแรง เพ่ือนท่ีมพี ฤตกิ รรมทีไ่ ม่เหมาะสม ๒. การด่ืมสุราหรือสารเสพตดิ ๓. การได้รับชมภาพความรุนแรงจากสื่อ ๔. การเล่นเกมประเภทเนื้อหาทีเ่ กย่ี วข้องกับความรุนแรง ทาให้มีนิสัยก้าวร้าว ๕. การพกพาอาวธุ เม่ือเกดิ ปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งมักจะนาอาวุธที่ติดตัวมาน้ันก่อเหตุ รุนแรงได้

สถานการณ์เส่ียง สถานการณ์เสี่ยง หมายถึง สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ทาให้ เกิดความเส่ียงต่ อการ ดาเนินชีวติ ทาให้เกดิ อุบัติเหตุ ได้รับบาดเจ็บ และเสียชีวิต หรือมีผลกระทบต่อสุขภาพของบุคคล ชุมชนและสังคม การเอาใจใส่การเรยี นช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยงในวยั ร่นุ

สถานการณ์เส่ียง สถานการณ์ทเ่ี สี่ยงต่อการมีเพศสัมพนั ธ์ ๑.๑ การสมั ผสั ร่างกาย การ โอบกอด และการจบู ๑.๒ การอยใู่ นท่ีลบั ตาคนสองตอ่ สอง ๑.๓ การถูกชกั ชวนใหด้ ูสื่อลามก หรือหนงั สือที่ยวั่ ยอุ ารมณ์ทางเพศ ๑.๔ การด่ืมเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ หรือสารเสพติดทาใหข้ าดสติหรือหมดสติ ๑.๕ การไปเท่ียวงานกลางคืน หรือตามสถานเริงรมย์

สถานการณ์เส่ียง สถานการณ์เสี่ยงต่อการเสพสารเสพตดิ ๒.๑ ปัญหาส่วนตัว ได้แก่ คนที่ขาดความอบอ่นุ มีปัญหาครอบครัว ๒.๒ การใกล้ชิดกบั ผู้ตดิ สารเสพตดิ ๒.๓ การขาดความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ๒.๔ สภาพสิ่งแวดล้อมทเ่ี อือ้ ต่อการใช้สารเสพตดิ ๒.๕ ความจาเป็ นของร่างกาย

วธิ ีการหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเส่ียงและสถานการณ์เสี่ยง ๑. แสวงหาความรู้ ขอ้ มูลข่าวสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั พฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง ๒. คบเพ่ือนท่ีดีเอ้ือตอ่ การกระทาท่ีพฒั นาตนเอง ๓. มีสติสมั ปชญั ญะ ๔. ใชก้ ระบวนการปัญหาในการตดั สินใจและแกป้ ัญหา เม่ือตอ้ งเผชิญกบั สถานการณ์เสี่ยง ๕. ใหร้ างวลั กบั ตนเองเป็นการแสดงความรู้สึกที่ดีตอ่ ตนเอง

วธิ ีการหลกี เลยี่ งพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เส่ียง การคบเพือ่ นท่ีดีจะช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยง

สรุป พฤติกรรมเส่ียงเป็ นพฤติกรรมทเ่ี กย่ี วข้องกับแนวโน้มในการปรับตัว บกพร่อง อาจเป็ นอนั ตรายท้ังกบั ตนเองและผู้อ่ืน และเป็ นอุปสรรคต่อ การพฒั นาตน ไม่ว่าจะเป็ นพฤติกรรมทีไ่ ม่ย้งั คดิ การไม่ปฏิบตั ติ าม กฎเกณฑ์ การละเมิดกฎเกณฑ์และสิทธิของผู้อ่ืน พฤตกิ รรมทางเพศ การใช้ยาหรือสารเสพตดิ เราจึงควรจดั การตนเองให้ไม่อยู่ในสถานการณ์ เส่ียง ท้ังในเร่ืองการมีเพศสัมพนั ธ์และการเสพสารเสพติด การจัดการ กบั พฤตกิ รรมเสี่ยงและสถานการณ์เพื่อหลกี เลย่ี งไม่ให้เกิดปัญหาตามมา ในอนาคต หน่วยก่อน สารบญั หน่วยต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook