การวเิ คราะหเ์ ทคนิคการขวา้ งจกั ร ชว่ ง / ระยะ จุดของการสังเกตเทคนคิ ทีส่ ำ�คญั ชว่ งเริ่มต้น - วางเท้าทัง้ สองหา่ งกนั เทา่ กบั ช่วงไหล่ สมั ผัสพนื้ ดว้ ยเทา้ คู่ - แขนขวาเหวยี่ งจกั รไปดา้ นหลงั และเฉยี งขึน้ ด้านบน - สะโพกและหัวไหล่ บิดหมุนอยู่ในแกนของรา่ งกาย - แขนท่ใี ช้ขว้างเหยยี ดออกและสงู ในระดบั หวั ไหล่ - วางเท้าขวาเตม็ ฝา่ เทา้ เพอ่ื รองรบั น้ำ� หนัก - วางเท้าซา้ ยด้วยบรเิ วณฝา่ เทา้ ดา้ นหนา้ หมุนไป ในทศิ ทางการเหวย่ี ง - เขา่ ทงั้ สองงอ อยู่แนวเดยี วกับปลายเทา้ - เท้าซ้ายวางด้วยฝ่าเท้าด้านหน้าหมุนไปในทิศทาง ของการขว้าง - เข่าซา้ ยบิดนำ� ศอกซ้ายและไหล่ซ้ายออกไป - จักรอย่ดู ้านหลังของลำ� ตัวสูงระดบั หัวไหล่ - บดิ แขน หวั ไหล่ และสะโพกอยู่ในแกนของรา่ งกาย - น้ำ� หนกั ตวั อยบู่ นเทา้ ซา้ ย - เทา้ ขวายงั คงสัมผัสอยู่บนพื้นดว้ ยบรเิ วณฝา่ เท้า ด้านหน้า สัมผสั พืน้ ดว้ ยเท้าขา้ งเดยี ว - สายตามองไปในทิศทางของการขว้าง ชว่ งเรมิ่ เคลือ่ นที่ - จักรอยู่ด้านหลังของล�ำตัวสูงกว่าสะโพกเล็กน้อย แขนซา้ ยชว่ ยประคองในการทรงตวั - แขนซ้ายชี้ไปในทิศทางของการขว้าง ปลายแขนต�่ำลง เลก็ น้อย - เอนล�ำตวั ไปในทศิ ทางของการขว้างเล็กนอ้ ย - เขา่ ซา้ ยหันไปในทิศทางของการขวา้ ง หวั เขา่ ชีต้ �่ำลง - ขาขวาเตะเหวี่ยงออกนอกวงกลม เคลื่อนที่ตามไป ในระดบั ต�่ำ - นำ้� หนกั อย่บู นเท้าซา้ ย ข้อเทา้ อยู่ในสภาพที่มัน่ คง คู่มือผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate 141
ชว่ ง / ระยะ จดุ ของการสังเกตเทคนิคท่สี ำ�คญั สัมผัสพนื้ ดว้ ยเทา้ เด่ียวชว่ งเร่มิ เคล่อื นที่ - สายตามองไปยงั ทิศทางของการขว้าง - กระตุกเข่าขวากา้ วไปในทศิ ทางของการขวา้ งอยา่ ง รวดเร็ว - เท้าซ้ายถีบสง่ ออกไปในระดับต่�ำ “การกา้ วเทา้ เหมือน กับการว่ิงระยะส้นั ” - จกั รอยดู่ ้านหลงั ของลำ� ตวั สูงกวา่ สะโพกเลก็ น้อย เท้าทง้ั สองไมส่ มั ผัสพน้ื - จักรอยดู่ า้ นหลงั สูงกว่าสะโพกเล็กน้อย - เทา้ ขวาหมุนวนเข้าดา้ นใน - เท้าท้งั สองขา้ งลอยพ้นพื้นในระดับตำ่� ในช่วงสัน้ ๆ ปลอ่ ยจักร - ตะปบเทา้ ลงพ้ืนอย่างรวดเรว็ ดว้ ยฝ่าเทา้ ดา้ นหน้า สมั ผสั พื้นด้วยเทา้ ข้างเดียว (หมนุ ไปอย่างตอ่ เนือ่ ง) - ขาข้างทเ่ี ทา้ สมั ผสั พ้ืนเข่างอเล็กนอ้ ย 142 - ชกั เทา้ ซา้ ยมาดา้ นหลงั และให้ใกลก้ ับเท้าขวา - แขนซ้ายเหวยี่ งอยู่ขา้ งหนา้ ของล�ำตวั - สายตามองลดต�่ำลงไปทศิ ทางตรงขา้ มกบั การขวา้ ง - จักรอยดู่ ้านหลังของล�ำตวั สูงระดบั เดยี วกับหัวไหล่ - ลำ� ตัวเอนไปขา้ งหนา้ เล็กน้อย - เหวยี่ งขาซา้ ยในระดบั ต�่ำไปยังทศิ ทางของการขว้าง - เท้าขวาวางอยู่บนพื้นด้วยฝ่าเท้าด้านหน้า (หมุนไป อยา่ งต่อเนอ่ื ง) - เข่าขวางอลงพอสมควรเพือ่ สนับสนนุ ในการหมนุ - การหมุนส่วนใหญ่อยู่บนแกนทงั้ 3 ทก่ี ล่าวมา - ลำ� ตัวเอนไปทางดา้ นหน้า - จักรอยูท่ างดา้ นหลังสงู ระดับเดียวกับหัวไหล่ - แขนซ้ายอยดู่ า้ นหน้าของล�ำตัว คู่มอื ผ้ฝู ึกสอนกรีฑา T-Certificate
ช่วง / ระยะ จุดของการสงั เกตเทคนิคท่สี ำ�คญั ท่ายนื ก่อนขวา้ ง - วางเท้าซ้ายลงบนพื้นอย่างทันทีทันใด สัมผัสพ้ืนด้วย การสมั ผสั พ้ืนดว้ ยเทา้ คู่ บรเิ วณ ด้านข้างของฝา่ เทา้ ด้านหนา้ ในจังหวะปล่อยจกั ร - แขนซ้ายเปดิ ขึน้ ดา้ นบน - เทา้ ขวาหมุนอย่างต่อเนอ่ื งไปในทศิ ทางของการขว้าง คู่มอื ผ้ฝู กึ สอนกรฑี า T-Certificate - หัวไหล่อยเู่ หนือเข่าขวา - พลกิ เขา่ ขวาหนั ไปในทศิ ทางของการขวา้ ง (เหยยี ดออก) - แนวของสะโพกเกือบจะต้ังฉากกบั ทิศทางในการขว้าง - ขาซ้ายเหยยี ดออกเกือบตรง (ยนั ขวางไว้) - เทา้ ซ้ายชี้ไปในทิศทางของการขวา้ ง - จักรเคลอ่ื นทไี่ ปในทิศทางของการขว้างอย่างต่อเนอ่ื ง โดยเรม่ิ เหว่ียงจากระดบั สะโพกข้นึ ไป - สายตามองไปยงั ทศิ ทางของการขวา้ ง - เทา้ ขวาหมนุ ด้วยปลายเทา้ - ขาซ้ายเหยยี ดออกเตม็ พลัง (ยกลำ� ตัวขนึ้ ) - แนวของหวั ไหล่และสะโพกตั้งฉากกบั ทิศทาง ในการขวา้ ง - แกนของหวั ไหลแ่ ละสะโพกยังคงไม่ขนานกัน - ดึงแขนที่ใช้ในการขว้างเหว่ียงไปในทิศทางและมุม ของการปล่อยจกั ร - บล็อคแขนและล�ำตัวด้านซ้ายไว้คงที่ (หมุนอยู่ในแกน ของร่างกาย) - ขาซา้ ยเหยยี ดออก - สะโพกหัวไหล่อยู่ในแนวขนานกันและหันไปในทิศทาง ของการขวา้ ง - หัวไหลอ่ ยู่ในแนวระนาบขอบฟา้ - จกั รอยสู่ งู กว่าระดบั หวั ไหลแ่ ละแขนท่ีใช้ขวา้ ง - แขนและล�ำตวั ดา้ นซ้ายหยดุ นงิ่ คา้ งไว้ 143
ชว่ ง / ระยะ จดุ ของการสังเกตเทคนิคทสี่ ำ�คญั การทรงตัว - กา้ วเทา้ ขวาสลับไปด้านหน้าพร้อมกับย่อลง - ลดจุดศนู ย์ถว่ งของร่างกายใหต้ ำ่� ลง - ยกขาขวาไว้ทางดา้ นหลังและประคองไว้ในระดับต่�ำ ภาพแสดงการวิเคราะหเ์ ทคนิคการขว้างจักร (IAAF, 2000. c : 100-101) 144 คู่มอื ผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate
ล�ำดบั ข้นั ตอนในการสอนทกั ษะการขวา้ งจกั ร ขั้นตอนที่ 1 การสรา้ งความคุ้นเคยกับจักร วิธีปฏิบตั ิ 1. สอนเรอื่ งความปลอดภัย การจบั 2. ฝกึ กลงิ้ จักรไปใหค้ ู่ โดยปล่อยออกจากนวิ้ ชี้ 3. เปลีย่ นจากการกล้ิงเป็นการขว้างไปในอากาศ วตั ถปุ ระสงค ์ เพื่อให้คุ้นเคยกบั การจับจักรและการออกจกั รท่ถี ูกตอ้ ง ภาพแสดงการสร้างความคนุ้ เคยกบั จกั ร (ทม่ี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 169) ขั้นตอนที่ 2 ฝกึ การยืนขวา้ ง วิธีปฏบิ ัติ 1. ยนื ขวา้ งเท้าแยก (1) ยืนขว้างเท้าคขู่ นาน (2) เนน้ การ ใช้แรงทีถ่ ูกตอ้ ง 2. อุปกรณใ์ นการฝึกใชต้ ่างกัน เชน่ หว่ งยาง เมดิซนิ บอล วัตถุประสงค์ ฝกึ ทกั ษะการปล่อยจักรการควบคมุ จักรและการส่งแรง ภาพแสดงการฝกึ การยนื ขว้าง 145 (ที่มา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 169) คู่มอื ผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate
ขั้นตอนที่ 3 ยนื ขว้างโดยการหนั ขา้ ง วิธีปฏบิ ัต ิ 1. ยืนหันไหล่ซ้ายไปทิศทางที่จะขว้าง (คนถนัดมือขวา) เท้าแยกประมาณ 1 ½ ความกวา้ งชว่ งไหล่ 2. เหว่ยี งจักรไปดา้ นหลังจดุ หมุนท่อี ยูท่ ี่ปลายเทา้ ขวา 3. หมนุ สน้ เท้าออก ขณะทด่ี ันสะโพกขวาไปด้านหน้า วัตถุประสงค์ ฝกึ การใชข้ าขวา สะโพก และการบล็อค (Block) ลำ�ตวั ภาพแสดงการยนื ขว้างโดยการหันข้าง (ท่มี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 169) ข้นั ตอนที่ 4 ยืนขวา้ งทา่ Power Position วธิ ปี ฏิบัต ิ 1. จัดท่า Power Position 2. ฝกึ ขวา้ งโดยการบดิ ขาและสะโพกด้วยความเรว็ วัตถปุ ระสงค ์ ฝึกการเคล่ือนไหวและการหมนุ ของขา สะโพก ลำ�ตวั ภาพแสดงการยืนขว้างทา่ Power Position (ที่มา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 170) 146 คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate
ขน้ั ตอนท่ี 5 ฝกึ หมุน 1 รอบแลว้ ขว้าง วธิ ปี ฏิบตั ิ 1. ยืนนอกวงกลม หันหน้าไปทิศทางที่จะขว้าง โดยมีจักร เหวีย่ งไปด้านหลังลำ�ตัว 2. ก้าวเทา้ ซ้ายเข้าวงกลม และใช้ปลายเท้าซา้ ยเป็นจดุ หมุน 3. ก้าวเท้าขวาเหวี่ยงตามไปวางด้านหน้าเท้าซ้าย และ ใช้ปลายเท้าเป็นจดุ หมนุ 4. หมุนลำ�ตัวไปทางซ้ายโดยการยกเท้าซ้ายเหว่ียงเป็น วงกลมไปยันด้านหน้าในตำ�แหน่งที่ถูกต้องในท่า Power Position และออกจักรด้วยความเร็วและแรง วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ฝกึ ทกั ษะการหมุน ภาพแสดงการฝึกหมุน 1 รอบแลว้ ขว้าง (ท่ีมา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 170) ขน้ั ตอนท่ี 6 ฝกึ ทกั ษะเตม็ รปู แบบ วิธปี ฏบิ ตั ิ 1. ยนื หันหลงั ใหท้ ิศทางทจ่ี ะขว้าง 2. เน้นทกั ษะทถ่ี กู ตอ้ งจากชา้ ไปเรว็ วตั ถุประสงค์ เพือ่ ฝกึ เชอ่ื มโยงขน้ั ตอนต่างๆ เข้าดว้ ยกนั ให้เกดิ ความชำ�นาญ ภาพแสดงการฝึกทักษะเต็มรปู แบบ 147 (ทมี่ า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 170) ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกรีฑา T-Certificate
เทคนิคการพ่งุ แหลน เทคนคิ การพงุ่ แหลน แบง่ ออกเป็น 5 ขนั้ ตอนดงั นี้ 1. การจบั แหลน (Grip) 2. การว่งิ กอ่ นพุ่งแหลน (Approach) 3. การวง่ิ 5 ก้าวก่อนพุง่ แหลน (5 Stride Rhythm) 4. การปลอ่ ยแหลน (Deilivery) 5. การทรงตวั (Recovery) 1. การจับแหลน (Grip) วิธีการจบั แหลนแบบตา่ งๆ ท่ีใชก้ ัน ปัจจุบันมีทงั้ หมด 3 แบบดงั น้ี 1.1 แบบฟนิ นชิ (Finnish Grip) ลกั ษณะการจบั จะใชป้ ลายนว้ิ หวั แมม่ อื และนว้ิ กลาง จับบริเวณขอบเชือก โดยมีนิ้วชี้ช่วยในการประคองแหลน ส่วนน้ิวนางและนิ้วก้อยจะจับบริเวณ เชือกทีพ่ นั แหลนอยู่ ภาพแสดงการจบั แหลนแบบฟนิ นชิ (Finnish Grip) (ท่ีมา : วัฒนา สรุ ิยจันทร์. 2546 : 243) 1.2 แบบอเมริกัน (Amarican Grip) ลกั ษณะการจบั ใชป้ ลายน้ิวช้แี ละน้ิวหัวแมม่ ือ จับบริเวณขอบเชือก โดยมีน้ิวกลาง นิ้วนาง น้ิวก้อย ช่วยในการจับแหลน ซ่ึงการจับแหลนวิธีน้ี เป็นทน่ี ยิ มกนั มากในปจั จุบนั ภาพแสดงการจับแหลนแบบอเมรกิ นั (Amarican Grip) (ทมี่ า : วฒั นา สุริยจนั ทร.์ 2546 : 243) 148 คูม่ อื ผูฝ้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate
1.3 แบบฮังกาเรียน (Hungarian Grip) ลักษณะการจับจะใช้ช่องว่างระหว่างน้ิวชี้ และน้ิวกลางล็อกขอบเชือก สว่ นน้วิ หัวแมม่ อื น้วิ กลางและนิว้ ก้อย จะชว่ ยในการจับแหลน ภาพแสดงการจบั แหลนแบบฮงั กาเรยี น (Hungarian Grip) (ท่ีมา : วฒั นา สรุ ยิ จนั ทร์. 2546 : 244 ) 2. การวงิ่ ก่อนพงุ่ แหลน (Approach) การวง่ิ ก่อนพุ่งใช้ระยะทางประมาณ 8 - 12 กา้ ว ขณะวงิ่ แหลนอยบู่ ริเวณเหนือไหล ่ หัวแหลนสูงชี้ไปด้านหน้า ไม่มีการเกร็งกล้ามเน้ือ แหลนจะถูกจับ โดยการบังคับของข้อมือ ไมส่ า่ ยไปมา ในการวง่ิ 5 กา้ วสดุ ทา้ ยจะมกี ารเพมิ่ ความเรว็ และสรา้ งจงั หวะเพอ่ื เขา้ หาทห่ี มายสดุ ทา้ ย ในการพุ่ง ว่งิ จงั หวะการว่ิง 5 กา้ ว พงุ่ ทรงตัว APPROACH 5-STRIDE RHYTHM DEIVERY RECOVERY วิ่ง APPROACH ภาพแสดงการวง่ิ กอ่ นพุ่งแหลน (Approach) 149 (ที่มา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 125) คู่มือผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate
3. การวงิ่ 5 กา้ ว (5 Stride Rhythm) เรมิ่ ต้นออกจากท่ีหมายที่ 1 (Check Mark 1) ด้วยการกา้ วเทา้ ซา้ ย (คนถนดั มือขวา) วิ่งปกติไปยังที่หมายที่ 2 (Check Mark 2) จ�ำนวน 5 ก้าว เข้าท่ีหมายที่ 2 ด้วยความเร็ว 3/4 และเป็นจังหวะลงดว้ ยเทา้ ซา้ ยพอดี จากท่ีหมายที่ 2 ไปยังท่หี มายท่ี 3 (Check Mark 3) ซงึ่ เป็น ที่หมายในการพุ่งแหลนออกไป เท้าขวาจะเร่ิมก้าวไขว้โดยหันข้างเท้าด้านในไปด้านหน้า ล�ำตัว จะบิดไปด้านขวาไหล่ซ้ายหันไปทิศทางท่ีจะพุ่ง ในขณะท่ีเร่ิมไขว้เท้าและบิดตัว แหลนจะถูกดึงลง มาด้านหลัง แขนเหยียดตึงอยู่แนวเดียวกับไหล่ ส่วนหัวแหลนอยู่ใกล้บริเวณค้ิวสายตามองผ่าน หัวแหลนไป วิ่ง จังหวะการว่งิ 5 กา้ ว พุ่ง ทรงตวั APPROACH 5-STRIDE RHYTHM DEIVERY RECOVERY จงั หวะการวง่ิ 5 กา้ ว 5 - STRIDE RHYTHM ภาพแสดงการว่งิ 5 กา้ ว (5 Stride Rhythm) (ทม่ี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 127) 150 คมู่ ือผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate
4. การพุ่งแหลน (Delivery) หลังสิ้นสุดการไขว้เท้าเข้าสู่จังหวะสุดท้ายก่อนพุ่งแหลน เท้าซ้ายจะถูกก้าวไป ด้านหน้า โดยตัวแหลนอยู่ระนาบเดียวกับแขนและไหล่ การพุ่งแหลนเป็นจังหวะเดียวกับเท้าซ้าย เรม่ิ สมั ผสั พน้ื ดว้ ยการลงสน้ เทา้ ตามดว้ ยเตม็ ฝา่ เทา้ อยา่ งรวดเรว็ ในลกั ษณะของทา่ Power Position เข่าขวาและสะโพกจะเร่ิมบิดและดันไปด้านหน้า ตามด้วยการบิดของล�ำตัวจากด้านข้างไปสู่ ด้านหน้าอย่างต่อเน่ือง มือที่จับแหลนเร่ิมดึงแหลนโดยการงอข้อศอกขวาผ่านไปด้านหน้าและ ดึงสู่ด้านบนตามแนวศีรษะ ล�ำตัวจะถูกดันไปด้านหน้าตามแรงส่ง ข้อศอกของมือท่ีจับแหลน จะยืดไปด้านหนา้ เตม็ ท่ี ร่างกายดา้ นซา้ ยจะถกู บล็อค (Block) ด้วยไหลซ่ ้ายและเทา้ ซา้ ย ศอกซา้ ย งอชดิ ลำ� ตัว เทา้ ขวาสมั ผสั พน้ื ตลอด ขณะดงึ แหลนมาจากด้านหลังให้เปดิ สน้ เท้าขวา ปลายเทา้ ขวา บิดและตามไปด้วยแรงส่ง (1) ล�ำตัวเอียงไปทิศทางด้านซ้ายเล็กน้อย ไหล่ขวาจะอยู่เหนือ เท้าซ้ายพอดี (2) (3) แขนขวาที่พุ่งแหลนออกไปต้องใกล้เคียงกับแนวด่ิงเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ในขณะปลอ่ ยแหลน ระยะทางในการพ่งุ แหลนควรห่างเสน้ เขตพงุ่ ประมาณ 1.5 - 2 เมตร ว่งิ จงั หวะการว่งิ 5 ก้าว พ่งุ ทรงตวั APPROACH 5-STRIDE RHYTHM DEIVERY RECOVERY พุ่ง DEIIVERY ภาพแสดงการพุง่ แหลน (Delivery) 151 (ท่มี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 131) คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate
5. การทรงตวั (Recovery) หลังจากพุ่งแหลนออกไปแล้ว เท้าขวาก้าวออกมาด้านหน้าเพื่อหยุดแรงส่งจาก การพุ่งและย่อเขา่ ขวาใหต้ �่ำลงเพอื่ ชว่ ยในการทรงตัว วง่ิ จงั หวะการวงิ่ 5 กา้ ว พงุ่ ทรงตวั APPROACH 5-STRIDE RHYTHM DEIVERY RECOVERY ทรงตวั RECOVERY ภาพแสดงการทรงตวั (Recovery) (ท่ีมา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 133) 152 ค่มู อื ผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate
การวเิ คราะหเ์ ทคนคิ การพุ่งแหลน ชว่ ง / ระยะ จดุ ของการสงั เกตเทคนคิ ทส่ี ำ�คญั การวิง่ ก่อนพุ่งแหลน - จับแหลนอยา่ งกระชับและมั่นคง - ถือแหลนอย่เู หนอื หวั ไหล่ด้านขวา - แหลนเกือบทอดขนานกับพื้น - ขณะถอื แหลน แขนต้องไม่เกรง็ - จังหวะในการวงิ่ ชัดเจนและคอ่ ยๆ เพ่มิ ความเร็วข้ึน - วิง่ ตรงไปทางด้านหนา้ ในทิศทางของการพงุ่ การว่ิง 5 ก้าวก่อนพุง่ แหลน - ถอนแหลนเหยียดตรงไปทางด้านหลังแขนข้างที่ถือ ก้าว 1, 2, 3 แหลนไมเ่ กรง็ - มือข้างทถี่ อื แหลนดึงลดต�่ำลงมาทางด้านหลัง - ส่วนปลายแหลนแนบชิดอย่บู ริเวณขอบค้ิวดา้ นขวา - หันศีรษะสายตามองตรงไปทางด้านหน้าในทิศทาง ที่จะพ่งุ - สะโพกหัน 45 องศา ไปในทศิ ทางทจ่ี ะพ่งุ - ไหลแ่ ละแขนซา้ ยชไ้ี ปในทิศทางท่ีจะพงุ่ - ลักษณะการว่งิ ยังคงกา้ วตรงไปข้างหน้าเน้นจงั หวะ และเพ่ิมความเร็วมากขึน้ ก้าวไขวข้ าสรา้ งจงั หวะ - ถบี เท้าซ้ายออกไปดา้ นหน้าอยา่ งชัดเจน - เท้าขวาหนั เปดิ ออกด้านนอก 45 องศา คมู่ ือผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate - กระตุกเขา่ ขวาเคลื่อนนำ� ออกไป - บิดสะโพกและไหลอ่ ยู่ในแกนกลางของรา่ งกาย - ไหลแ่ ละแขนดา้ นซ้ายหนั ไปในทิศทางของการพุ่ง - เอียงล�ำตวั ไปทางด้านหลงั - ลกั ษณะการกา้ วเทา้ เลยี ดต�่ำไปกบั พ้ืน - ยนั เท้าลงเฉยี ง 45 องศา กับทศิ ทางในการพ่งุ - ขาซ้ายกา้ วผ่านเลยขาขวาไปดา้ นหนา้ 153
ชว่ ง / ระยะ จุดของการสงั เกตเทคนิคที่สำ�คัญ การปล่อยแหลน - ขาขวางอตรงบรเิ วณ ข้อเทา้ เขา่ และสะโพก ยืนในทา่ ทรงพลงั - เท้าขวายันลงบนพ้นื ด้วยฝา่ เทา้ ด้านหนา้ - ขาซา้ ยเหยยี ดออกเกอื บตึง เตรยี มพร้อมก่อนปลอ่ ยแหลน - ยันเท้าซา้ ยลงบนพน้ื ด้วยส้นเทา้ - ไหล่ แหลนและสะโพกขนานกัน หนั ไปในทิศทาง ปลอ่ ยแหลนออกไป ทจี่ ะพุ่ง - แขนขา้ งทจี่ ับแหลนเหยยี ดออกจนสดุ แขน - ส่วนบนของรา่ งกายเอนไปทางด้านหลงั สายตามอง ไปยังทศิ ทางของการพุ่ง - ขาซ้ายเหยียดออกเกือบเต็มท่ีและยันลงกับพ้ืนด้วย ส้นเทา้ ไปในทิศทางที่จะพุ่ง - ขาขวางอเล็กน้อยและเหยียดออกไป - ส้นเทา้ ขวาเปิดข้ึนสง่ แรงดันสะโพกขวาไปด้านหน้า - ยดื ลำ� ตวั ให้แอ่นโค้งคลา้ ยรูปคันธนู - แขนขา้ งทจ่ี ับแหลนเริม่ บดิ เขา้ ด้านใน - บล็อคแขนและลำ� ตัวด้านซา้ ยหยุดน่ิงขวางไว้ - สายตามองขึ้นไปในทศิ ทางและมุมท่ีจะพงุ่ - เหยยี ดขาออกไปอยา่ งมพี ลัง (ยกล�ำตัวข้ึน) - เทา้ ขวาเคลอ่ื นไปขา้ งหนา้ โดยเทา้ สมั ผสั อยกู่ บั พนื้ ตลอด - แอ่นสะโพกขวาไปขา้ งหน้าอย่างรวดเรว็ - บล็อคล�ำตวั และแขนดา้ นซา้ ยหยุดนิ่งค้างไว้ - แอ่นหน้าอกและเอนลำ� ตัวไปทางดา้ นหน้า - แขนขา้ งท่จี ับแหลนเหยยี ดออกอย่างรวดเรว็ - ไหล่ขวาอยู่เหนือเทา้ ซา้ ย (มาจากดา้ นหลัง) - มอื ขา้ งที่ใช้พุง่ แหลนกระชากไปทางด้านหนา้ - แขนขา้ งทปี่ ล่อยแหลนอยูเ่ หนือเท้าซา้ ย (มาจาก ดา้ นข้าง) 154 คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate
ชว่ ง / ระยะ จุดของการสังเกตเทคนคิ ที่สำ�คญั การทรงตัว - ชะลอความเร็วและหยุดดว้ ยการกา้ วเทา้ ขวาสลบั มา ด้านหนา้ และหัวเขา่ ยอ่ ลง - ลดจดุ ศนู ยก์ ลางของรา่ งกายใหอ้ ยใู่ นระดับตำ่� ภาพแสดงการวเิ คราะห์เทคนิคการพงุ่ แหลน (IAAF, 2000. c : 66-67) คู่มือผูฝ้ ึกสอนกรีฑา T-Certificate 155
ล�ำดบั ขั้นตอนในการสอนทักษะการพุ่งแหลน ข้นั ตอนท่ี 1 ฝึกพ้นื ฐานการยนื พงุ่ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. เรียนรู้เรอื่ งความปลอดภยั การจบั ทถ่ี กู ต้อง 2. ฝึกยืนพุ่งในระยะทางใกล้โดยการจับแหลนเหนือศีรษะ ระยะทาง 3 - 4 เมตร 3. เพิ่มระยะทางในการพุ่งไกลขึ้นโดยมีการเอนตัวไป ดา้ นหลัง วัตถปุ ระสงค์ เน้นทักษะและการสง่ แรงในการออกแหลน ภาพแสดงการฝกึ พื้นฐานการยืนพุ่ง (ท่ีมา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 134) ขนั้ ตอนที่ 2 การกา้ วเทา้ พ่งุ วิธปี ฏิบัติ 1. ยืนเท้าห่างกัน 60-70 เซนติเมตร เท้าช้ีไปยังทิศทาง ทจ่ี ะพ่งุ 2. การพงุ่ ใหย้ กเทา้ ซา้ ยขน้ึ เลก็ นอ้ ย เอนตวั มาหลงั ใหน้ ำ้� หนกั ลงบนเทา้ ขวาที่งอ วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพุ่งออกจากตำ�แหน่งทถ่ี ูกตอ้ ง ภาพแสดงการกา้ วเท้าพงุ่ (ทม่ี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 134) 156 คู่มือผูฝ้ ึกสอนกรีฑา T-Certificate
ขน้ั ตอนท่ี 3 ฝกึ วิง่ 3 กา้ ว พงุ่ วธิ ีปฏิบตั ิ 1. เริ่มก้าวเท้าซ้ายไขว้เท้าขวา พร้อมกับดึงแหลนลงมา ดา้ นหลงั 2. กา้ วเท้าซ้ายตามลงด้วยสน้ เทา้ ลำ�ตวั เอนมาด้านหลัง 3. เมอ่ื เทา้ ซา้ ยสมั ผสั พนื้ ใหด้ งึ แหลนพงุ่ ออกไปอยา่ งรวดเรว็ วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือฝึกการก้าวขาให้ต่อเน่ืองกับตำ�แหน่งของท่า Power Position ภาพแสดงการฝึกวิ่ง 3 กา้ ว พงุ่ (ที่มา : Muller and Ritzdorf. 2000 : 134) ขนั้ ตอนท่ี 4 ฝึกวิง่ 5 ก้าว พงุ่ วธิ ีปฏิบัต ิ 1. เร่ิมโดยการดึงแหลนลงมาด้านหลัง ว่ิงออกก้าวแรก ดว้ ยเท้าซา้ ยนับ 1 2. นับ 5 กา้ วโดยในจังหวะที่ 4 เริม่ ไขว้เทา้ และจังหวะท่ี 5 ยันดว้ ยเท้าซ้ายพรอ้ มพุง่ แหลน วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื พัฒนาการเคลื่อนไหวจังหวะ 5 ก้าว ภาพแสดงการฝกึ วง่ิ 5 กา้ ว พุ่ง 157 (ทม่ี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 135) คมู่ ือผ้ฝู กึ สอนกรฑี า T-Certificate
ขน้ั ตอนที่ 5 ฝกึ การวง่ิ และดงึ แหลนมาดา้ นหลัง วิธปี ฏิบตั ิ 1. ฝกึ การดงึ แหลนมาดา้ นหลงั จากการเดนิ และเพม่ิ ความเรว็ เปน็ การว่งิ 2. สงั เกตการดงึ แหลนลงมาดา้ นหลงั อยใู่ นตำ�แหนง่ ทถี่ กู ตอ้ ง หรอื ไม่ วตั ถปุ ระสงค์ ฝกึ การดงึ แหลนมาดา้ นหลงั ดูตำ�แหน่งท่ีถกู ตอ้ ง ในขณะ เดินหรอื วิง่ ภาพแสดงฝึกการวิง่ และดึงแหลนมาด้านหลงั (ทม่ี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 135) ขนั้ ตอนท่ี 6 ฝกึ การพ่งุ แหลนเตม็ รูปแบบ วิธีปฏบิ ัติ 1. ฝกึ พงุ่ แหลนโดยการวง่ิ เตม็ รูปแบบดว้ ยแหลนเบา 2. แกไ้ ขท่าทางและจงั หวะที่ผิด วตั ถุประสงค ์ ฝึกรปู แบบของขบวนการพุ่งทุกขั้นตอน ภาพแสดงฝกึ การพ่งุ แหลนเต็มรปู แบบ (ท่มี า : Muller and Ritzdorf. 2000 : 135) 158 คมู่ อื ผูฝ้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate
บทที่ 7 ก ารวางแผนการฝึกซ้อมกรีฑา ภาระงานหลักท่ีส�ำคัญอย่างหน่ึงของผู้ฝึกสอนกรีฑา คือ การวางแผนการฝึกซ้อม ซ่ึงจะ ต้องด�ำเนินการให้เป็นกระบวนการ มีช่วงระยะเวลานาน จากการเริ่มฝึกฝนจนถึงภาวะที่นักกีฬา ประสบผลส�ำเร็จ เป็นนักกีฬาระดับสูงอาจจะต้องใช้เวลาเกินกว่า 10 ปีข้ึนไป และโดยเฉลี่ย นักกฬี าท่มี คี วามสามารถสูงสุดจะอย่ทู อ่ี ายุประมาณ 24 ปี หรือมากกว่า การฝึกซ้อมจะต้องมีการวางแผนเป็นระยะยาว เพ่ือการพัฒนาที่ต่อเนื่อง และสัมพันธ์ กับอายุท้ังในด้านอายุการฝึกซ้อมและอายุพัฒนาการ รวมไปถึงจุดมุ่งหมายที่สอดคล้อง และเหมาะสมกบั วยั ของนักกีฬา กระบวนการวางแผนการฝึกซอ้ มกรฑี า ชมุ พล ปานเกตุ (2540 : 186-187) กลา่ ววา่ การวางแผนการฝกึ ซอ้ มกรฑี าควรกระทำ� เปน็ กระบวนการ ประกอบดว้ ย 6 ขนั้ ตอน ดังตอ่ ไปนี้ คือ 1. ตั้งจุดมงุ่ หมาย (Objective) เพ่ือใหท้ ราบแนวทางวา่ จะฝกึ ซอ้ มกรฑี าเพ่ืออะไร 2. วางแผนการฝกึ ซอ้ ม (Planning) ว่าจะทำ� การฝึกซอ้ มอะไรและอย่างไร 3. ควรมีการปรับปรุงและการเปล่ียนแปลงแผนการฝึกอยู่เสมอ (Modification) แผนการฝกึ ซอ้ มควรจะยดื หยนุ่ เพราะในขณะฝกึ อาจมเี หตกุ ารณต์ า่ งๆ ท่จี �ำเป็นต้องเปลย่ี นแปลง แผนการฝึก เช่น การบาดเจ็บ การเจ็บป่วย การเปลี่ยนแปลงของสภาพดินฟ้าอากาศ ฯลฯ ซ่ึงท�ำให้ไม่สามารถท�ำการฝึกตามแผนท่ีต้ังไว้ ดังน้ัน ผู้ฝึกสอนต้องเปลี่ยนแผนการฝึกซ้อม ให้เหมาะกบั สภาพการต่างๆ ด้วย 4. การฝึกซ้อมจริง (Implementation) ผู้ฝึกสอนจะน�ำสิ่งท่ีได้วางแผนไว้ไปท�ำ การฝกึ ซอ้ มเพ่ือดูว่าปรากฏผลอยา่ งไร 5. ท�ำการบันทึกผลการฝึกซ้อม (Recording) เพ่ือที่จะเป็นข้อมูลในการวินิจฉัย ในการฝกึ ซ้อมครง้ั ต่อไป 6. ท�ำการประเมินผล (Evaluation) ระหว่างการฝึกสอนในแต่ละตอนผู้ฝึกสอน ต้องหม่ันประเมินผลอยู่เสมอว่าอะไรดี อะไรไม่ดี และควรเพิ่มเติมอะไรในการสอนตอนต่อไป และตอ้ งมกี ารทำ� บนั ทกึ การสอนแตล่ ะตอนไวด้ ว้ ย ไมม่ อี ะไรทจ่ี ะเปลยี่ นไมไ่ ดใ้ นสงิ่ ทว่ี างแผนไวแ้ ลว้ คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate 159
ถ้าท�ำอย่างน้ีโดยสม�่ำเสมอจะท�ำให้ผู้ฝึกสอนรู้ถึงความสามารถของนักกีฬาแต่ละคน และ สามารถเขียนโปรแกรมการฝกึ ซอ้ มในครั้งตอ่ ๆ อย่างมปี ระสิทธิภาพ จดุ ม่งุ หมาย ประเมินผล วางแผน บนั ทกึ ผลการใช้ การปรบั ปรุงแกไ้ ข การฝกึ ซ้อม ภาพที่ 11.1 แผนภูมแิ สดงความสัมพันธส์ ำ� หรับการวางแผนการฝึกซ้อม (Thompson, 1991 : 5.36) ในการฝึกซ้อมกรีฑา การฝึกจะแบ่งเป็นระยะๆ และก�ำหนดเวลาไว้ด้วยและแต่ละ ระยะต้องก�ำหนดจุดประสงค์ไว้ด้วย จุดประสงค์ที่ส�ำคัญในการท�ำแผนการฝึกแต่ละครั้งก็คือ พยายามให้นักกีฬาเข้าแข่งขันในแต่ละฤดูกาลแข่งขันให้ได้ โดยการเตรียมทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจและพยายามให้บรรลุผลส�ำเร็จในระดับที่เขาไม่เคยได้รับมาก่อน ซ่ึงเราเรียกจุดส�ำเร็จ อันนวี้ า่ จดุ สูงสดุ ของการฝกึ (Peaking) การวางแผนการฝึกซ้อมจะต้องอาศัยรูปแบบของกระบวนการจัดการฝึกซ้อมเพื่อให้ เกิดความต่อเน่ืองจากกรอบที่ใหญ่สุด ไปจนถึงภาระงานของหน่วยที่เล็กสุด ดังน้ัน รูปแบบของ การวางแผนการฝกึ ซอ้ ม คอื การแบง่ กระบวนการฝึกซอ้ มของนกั กฬี าออกเป็นช่วงๆ โดยในแต่ละ ช่วงจะมีจุดมุ่งหมายของการฝึกซ้อมท่ีเฉพาะเจาะจงขึ้นอยู่กับการให้ความส�ำคัญและระยะเวลา ของการฝึกซ้อม ท้ังนี้เพ่ือเตรียมร่างกายของนักกีฬาให้พร้อมส�ำหรับการฝึกซ้อมให้หนักขึ้น ในช่วงต่อไป จนกระท่งั นักกฬี ากา้ วขน้ึ ไปสคู่ วามสามารถสงู สุดในชว่ งการแข่งขันที่สำ� คญั การวางแผนการฝึกควรท�ำตารางฝึกแบบย้อนหลัง (Backward) ผู้ฝึกสอนและนักกีฬา จะต้องวางแผนร่วมกันว่าการแข่งขันครั้งส�ำคัญในแต่ละปีจะมีการแข่งขันอะไรบ้าง แข่งที่ไหน และแข่งเม่ือใด และงานต่อจากน้ีก็คือต้องกลับไปหาจุดเริ่มฝึกต้ังแต่เร่ิมแรกจนกระทั่งถึงช่วง 160 คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate
การแข่งขันที่ส�ำคัญ แผนการฝึกแต่ละช่วงควรง่ายต่อการเข้าใจและอยู่ในวิสัยท่ีท�ำได้ ยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ตามความจ�ำเป็นและความก้าวหน้าของนักกีฬาเท่าที่ความรู้และ ประสบการณข์ องผฝู้ กึ สอนจะมใี หไ้ ด ้ สำ� หรบั การแบง่ ชว่ งการฝกึ ซอ้ มจากรอบการฝกึ ซอ้ มใหญท่ ส่ี ดุ ลงไปถึงรอบการฝึกซอ้ มเล็กที่สดุ ได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การวางแผนการฝกึ ซอ้ มระยะยาว (Long Term Planing) 2. การวางแผนการฝึกซ้อมรายปี (Macrocycle Planing) 3. การวางแผนการฝึกซ้อมรายเดือน (Mesocycle Planing) 4. การวางแผนการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycle Planing) 5. การฝึกซอ้ มในแต่ละคร้ัง (Training Session) การวางแผนการฝกึ ซ้อมระยะยาว (Long Term Planing) การวางแผนการฝกึ ซอ้ มระยะยาว ผู้ฝึกสอนควรแบ่งชว่ งของการฝึกสอนออกเปน็ 4 ชว่ ง เพื่อให้การฝึกซอ้ มมคี วามสัมพนั ธก์ ับอตั ราการเจริญเติบโตและวุฒภิ าวะของนักกฬี า ดงั นี้ 1. ช่วงพัฒนาทั่วไป อายุระหว่าง 6-10 ปี เป็นการพัฒนาการฝึกโดยรวมทั่วๆ ไป ทุกด้านของเด็กเน้นความสนุกสนานและสุขภาพทางจิตใจ ทักษะพื้นฐานและการพัฒนาทางด้าน ความอ่อนตัว กิจกรรมส่วนใหญ่จะเน้นการแข่งขันเพื่อความสนุก และส�ำคัญที่สุดคือการจูงใจ ให้เด็กไดเ้ ข้ารว่ มเลน่ กฬี า 2. ช่วงพัฒนาพื้นฐานกรีฑา อายุระหว่าง 11-14 ปี เร่ิมมีการพัฒนาทางด้าน การฝึกซ้อมและเล่นกีฬาเฉพาะด้านความถนัด เป็นวัยท่ีจะต้องได้รับการส่งเสริมในการฝึก นักกีฬามีความต้องการท่ีหลากหลายและอยากแสดงออกทางความสามารถ มีการแข่งขัน ตามระดับกลุ่มอายุ ระดับเยาวชน ระดับจังหวัด ซึ่งจะเป็นฐานท่ีส�ำคัญของการพัฒนาการกีฬา ของชาติ 3. ช่วงพัฒนาการฝึกเฉพาะเจาะจง อายุระหว่าง 15-19 ปี นักกีฬาจะมีการฝึกซ้อม ทกั ษะ มีความเปน็ เฉพาะทางเพิม่ เทคนิค และพัฒนาความสามารถเฉพาะด้าน เพือ่ เข้าสมู่ าตรฐาน การกีฬาระดับชาติ ซึ่งเป็นช่วงรอยต่อระหว่างมัธยมศึกษาตอนปลายสู่การศึกษาอุดมศึกษา 4. ช่วงพัฒนาสู่ความสมบูรณท์ างกายสงู สดุ อายุระหว่าง 20 ปขี นึ้ ไป นักกฬี าจะไดร้ บั การพฒั นาเพอ่ื ความเปน็ เลศิ ในระดบั ประเทศ มคี วามสามารถเปน็ ตวั แทนทมี ชาต ิ เขา้ สกู่ ารแขง่ ขนั ในระดบั นานาชาต ิ การฝกึ ซอ้ มอยภู่ ายใต้ กฎเกณฑอ์ ยา่ งเขม้ งวดมเี ปา้ หมายการฝกึ ซอ้ มอยา่ งชดั เจน ซงึ่ นักกฬี าบางคนจะสามารถแสดงออกถึงความสามารถทางดา้ นกฬี าได้ในระดบั สงู สดุ แลว้ คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate 161
การฝกึ ซ้อมกรฑี าใหเ้ หมาะสมกบั ระดับอายุและความสามารถของนกั กฬี า (ระ ัดบช้ันของการฝึก) ช่วงพัฒนาสู่ความ สมบรู ณส์ งู สุด ช่วงพฒั นา ส่คู วามถนัดเฉพาะตวั ชว่ งพัฒนาพน้ื ฐาน ช่วงพฒั นา กจิ กรรมนนั ทนาการ ทางกายท่ัวไป พื้นฐานเฉพาะกรฑี า กิจกรรมกีฬาชนิดอนื่ ๆ (6-10 ปี) (11-14 ปี) (15-19 ปี) (20 ปีขึน้ ไป) ภาพที ่ 11.2 แสดงการฝกึ ซ้อมกรีฑาใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั อายุและความสามารถของนกั กีฬา การวางแผนการฝึกซ้อมรายปี (Macrocycle Planing) การวางแผนการฝึกซ้อมรายปีเป็นแนวทางการจัดการฝึกซ้อมของนักกีฬาตลอดทั้งปี ซึ่งมีพ้ืนฐานอยู่บนการแบ่งช่วงเวลาการฝึกซ้อม (Periodization) และหลักการฝึกซ้อม (Principles of Training) และหลกั ของการฝกึ ซ้อม (Principles of Training) การจัดโปรแกรม การฝึกซ้อมรายปีเป็นส่ิงที่มีความส�ำคัญในการที่จะท�ำให้นักกีฬาได้รับความสมบูรณ์ทางกายสูงสุด ในชว่ งเวลาที่สำ� คัญ (สนธยา สลี ะมาด, 2551 : 533) ในแต่ละช่วงการฝกึ ซ้อมควรมีวตั ถุประสงค์ ของการฝึกซ้อมท่ีเฉพาะเจาะจงสอดคล้องกับความต้องการพ้ืนฐานทางด้านสมรรถภาพทางกาย ทักษะเทคนิคของประเภทกีฬาและในแต่ละช่วงการฝึกซ้อม ควรก�ำหนดวัตถุประสงค์ การฝึกซ้อมไว้ตามล�ำดับความส�ำคัญของสมรรถภาพทางกาย ทักษะและเทคนิคของประเภทกีฬา เพอื่ ผฝู้ กึ สอนสามารถประเมนิ พฒั นาการของนกั กฬี าไดต้ ลอดวงจรการฝกึ ซอ้ มโดยเฉพาะตอนทา้ ย ของแต่ละช่วงการฝึกซ้อมควรมีการประเมินและเก็บบันทึก เพ่ือจะได้รู้ว่าการฝึกซ้อมเป็นไป ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ดังนั้น การแบ่งช่วงเวลารายปีในภาพรวมจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับ ผู้ฝึกสอนในการก�ำหนดกจิ กรรม ไดส้ อดคลอ้ งตลอดชว่ งเวลาของการฝกึ ซ้อม 162 ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกรฑี า T-Certificate
ช่วงของการฝกึ ซอ้ ม (Period of Training) การฝกึ ซอ้ มรายปจี ะประกอบด้วยช่วงการฝกึ ซ้อม 3 ชว่ ง คือ ช่วงเตรียม (Preparation Period ) ชว่ งการแขง่ ขัน (Competition Period) และชว่ งหลังการแขง่ ขัน (Transition Period) การฝึกซ้อมทั้ง 3 ช่วง ชุมพล ปานเกตุ (2540 : 189-191) ไดก้ ลา่ วรายละเอยี ดไว้ ดงั น้ี ช่วงเตรียม (Preparation Period) ช่วงเตรียมเป็นช่วงแรกที่มีระยะเวลานานที่สุด ในแผนการฝกึ การฝกึ จะเรมิ่ พฒั นาสมรรถภาพของรา่ งกายทว่ั ๆ ไปกอ่ นแลว้ จงึ ฝกึ ทกั ษะเฉพาะอยา่ ง จุดประสงค์ของการฝึกช่วงน้ี คือ การเตรียมตัวนักกีฬาให้พร้อมที่จะเข้าไปฝึกในช่วงแข่งขัน การฝึกทักษะท่ัวๆ ไปจะใช้เวลาฝึกประมาณหน่ึงในสามของเวลาช่วงเตรียม ช่วงแข่งขันและ ชว่ งเปลย่ี นกจิ กรรม (ชว่ งพกั ) รวมกนั การฝกึ เพอื่ ใหร้ า่ งกายเกดิ ความสมบรู ณท์ ว่ั ๆ ไปนนั้ จะฝกึ โดย ค่อยๆ เพ่ิมปริมาณของงานท่ีจะฝึก จะท�ำใหน้ ักกีฬาสามารถฝึกทกั ษะเฉพาะด้านได้ต่อไป การเรมิ่ ตน้ การฝกึ ในชว่ งน้ี เมอ่ื ไดฝ้ กึ เพอ่ื เพม่ิ พนู สมรรถภาพของรา่ งกายทวั่ ๆ ไปกอ่ นแลว้ ควรจะเริ่มฝึกเทคนิคหรือทักษะควบคู่กันไป การฝึกทักษะควรกระท�ำในขณะท่ีนักกีฬา ยังไม่เหน่ือย และควรสมรรถภาพทางกาย ก่อนการฝึกในวันน้ันๆ ในขั้นเตรียมหลังจาก การฝกึ สมรรถภาพทว่ั ๆ ไปแลว้ ควรจะฝกึ สมรรถภาพเฉพาะอยา่ งตอ่ ไป และตอ้ งเพมิ่ ทงั้ ปรมิ าณและ ความหนัก (Intensity) ของงานให้มากขึ้น โดยเฉพาะการเพิม่ ระดับความหนักของงาน (Load) จะ ต้องเพ่ิมขึ้นอยา่ งเปน็ ระบบ โดยเพม่ิ ปรมิ าณ (Volum) มากกวา่ คุณภาพ (Intensity) ชว่ งการแขง่ ขนั (Competition Period) ช่วงการแข่งขัน ในช่วงนป้ี รมิ าณของงาน ท่ีจะฝึกจะค่อยๆ ลดลงแต่จะค่อยๆ เพ่ิมความหนักข้ึน งานท่ีให้ฝึกควรให้หนักพอท่ีจะท�ำให้ นกั กฬี ามคี วามสมบรู ณต์ ลอดเวลา แตต่ อ้ งใหม้ คี วามเหมาะสมทจี่ ะทำ� ใหน้ กั กฬี ามคี วามกระตอื รอื รน้ และมคี วามสมบรู ณส์ งู เหมาะสมกบั การแขง่ ขนั กรฑี าประเภททตี่ นจะเขา้ แขง่ ขนั (Athleticshape) ซงึ่ ในช่วงสุดทา้ ยของการฝึกในระยะนค้ี วรจะรักษาสภาพความสมบูรณ์อันนีไ้ วต้ ลอดไป ช่วงหลังการแข่งขัน (Transition Period) ช่วงหลังการแข่งขันเป็นช่วงของ การฝกึ ซ้อมทีเ่ ก่ยี วข้องกับการฟืน้ สภาพจากชว่ งการแข่งขนั (Competition Period) ขณะเดยี วกัน ก็เป็นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการเริ่มต้นการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ต่อไปในฤดูกาลหน้า ถ้าในหนึ่งปีมีมากกว่าหน่ึงรอบการฝึกซ้อมรายปี การฝึกซ้อมช่วงหลังการแข่งขันกลางปีอาจจะใช้ ช่วงเวลาสั้นๆ หนึ่งถึงสองสปั ดาห์หรือนอ้ ยกวา่ และใช้เวลาอยา่ งน้อย 1 เดือน ส�ำหรบั การฝกึ ซอ้ ม ช่วงหลงั การแขง่ ขนั ในตอนท้ายของการฝึกซอ้ มประจำ� ปี คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate 163
ภาพที่ 11.3 แสดงการแบ่งชว่ งเวลาการวางแผนการฝกึ ซ้อมรายปี (สนธยา สลี ะมาด, 2551 : 539) การก�ำหนดความหนักและปริมาณ ให้เหมาะสมกับช่วงและระดับความสามารถ ของนักกีฬา การจัดการวางแผนการฝึกซ้อมรายปีเป็นการวางแผน เพ่ือให้นักกีฬาก้าวขึ้นไปถึง ความสมบรู ณ์ทางกายสงู สุดในชว่ งเวลาที่ส�ำคญั ตลอดวงจรการฝึกซอ้ มรายป ี ปริมาณ (Volume) และความหนัก (Intensity) ของการฝึกซ้อมควรมีการเพิ่มข้ึนให้สัมพันธ์กับระดับความสมบูรณ์ ทางกาย (Performance) ของนักกีฬาท่ีเพิ่มขึ้น ระยะเวลาของการฝึก (Phase) เพราะ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณและความหนักของการฝึกซ้อมจะเป็นตัวก�ำหนดระดับสมรรถภาพ ของนกั กีฬา ภาพท่ี 11.4 แสดงการกำ� หนดความหนักและปริมาณ ใหเ้ หมาะสมกับช่วง และระดับความสามารถของนกั กฬี า (Thompson, 1991 : 5.25) 164 ค่มู อื ผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate
สำ� หรบั การเพมิ่ ตวั แปรทางดา้ นความหนกั ของการฝกึ ซอ้ ม ผฝู้ กึ สอนสามารถกระทำ� ไดด้ งั น้ี คือ การเพิ่มอัตราความเร็ว (Velocity) จังหวะของการปฏิบัติ (Rhythmic) หรือแรงต้านทาน ของการฝึกซ้อม (Resistance) และการลดช่วงเวลาการพักระหว่างการปฏิบัติหรือระหว่าง ช่วงพัก (Rest) ขณะท่ีการเพ่ิมปริมาณการฝึกซ้อม ผู้ฝึกซ้อมสามารถกระท�ำได้โดยการเพ่ิม ระยะเวลาการฝกึ ซอ้ มในแตล่ ะครงั้ (Duration) เพมิ่ จำ� นวนครง้ั ของการฝกึ ซอ้ ม (Training Session) ในวงจรการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycles) เพิ่มจ�ำนวนครั้งของการปฏิบัติ (Repetition) และเพ่มิ ระยะทางการปฏิบัติให้มากขึน้ ระยะของการฝกึ ซอ้ ม (Phase of Training) การวางแผนการฝึกซ้อมภายในช่วงการฝึกซ้อม (Period of Training) จะสามารถ แบ่งออกได้ 6 ระยะของการฝึกซ้อม (Phase of Training) ซ่ึงการแบ่งช่วงระยะเวลา ของการฝึกซ้อมเป็นการเพ่ิมความละเอียดรอบคอบในการวางแผนและให้การฝึกซ้อมด�ำเนิน ไปตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ นักกีฬาสามารถรับผลการฝึกซ้อมได้เหมาะสม จากแต่ละ ระยะวงรอบของการฝึกซ้อมจะประกอบด้วยจุดมุ่งหมายของการฝึกซ้อมที่เฉพาะเจาะจง เพื่อที่ การฝึกซ้อมจะได้เป็นไปอย่างถูกต้องและลดโอกาสที่จะเกิดการฝึกซ้อมมากเกิน อันมีผลท�ำให้ สมรรถภาพลดต่�ำลงและเกิดการบาดเจ็บข้ึนได้หรืออีกกรณีหนึ่งการฝึกซ้อมอาจเบาเกินไป ท�ำให้ นักกฬี าเกดิ การพัฒนาในระดับต�ำ่ หรอื ไม่เกิดขนึ้ เลย ซ่ึงท้งั 6 ระยะการฝึกซ้อม สนธยา สีละมาด (2551 : 544-551) กลา่ วถงึ รายละเอยี ดของแต่ละระยะสรุปได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ระยะที่ 1 การฝึกซอ้ มท่ัวไป (General Preparation) เป็นระยะแรกของการฝึกซอ้ ม ช่วงก่อนการแข่งขัน (Preparation Period) การฝึกซ้อมในระยะน้ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุง สมรรถภาพทว่ั ไปและระดบั เทคนคิ พนื้ ฐานของนกั กฬี า ขณะเดยี วกนั ยงั คงเปน็ การเตรยี มความพรอ้ ม ของนักกีฬาส�ำหรับการฝึกซ้อมท่ีสูงข้ึนในระยะต่อไป อาจกล่าวได้ว่า เป็นระยะ “การฝึกซ้อม เพอ่ื เตรียมการฝึกซอ้ ม” (Training to Train) ระยะที่ 2 การฝึกซ้อมที่เฉพาะเจาะจง (Specific Preparation) การฝึกซ้อม ที่เฉพาะเจาะจงเป็นระยะที่สองของการฝึกซ้อมช่วงก่อนการแข่งขัน “เป็นระยะการฝึกซ้อม เพ่ือการแข่งขัน” (Training to Competition) นักกีฬาต้องได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ท่ีเฉพาะเจาะจงกับประเภทการแข่งขัน (Specific Event) และปรับปรุงเทคนิคขั้นสูงโดยเน้น ความถกู ต้องมากยิง่ ขึ้น คู่มือผฝู้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate 165
ระยะท่ี 3 การฝึกซ้อมเพ่ือเตรียมการแข่งขัน (Pre-Competition) การฝึกซ้อม เพ่ือเตรียมการแข่งขันเป็นระยะแรกของการฝึกซ้อมช่วงการแข่งขัน (Competition Period) เป็นระยะการฝึกซ้อมท่ีเหมือนกับการแข่งขันจริง เป็นการเข้าร่วมการแข่งขันเพื่อใช้ทดสอบ ความพร้อมของความสมบูรณ์ทางกาย การควบคุมสภาพจิตใจ และเทคนิค ทักษะของนักกีฬา และน�ำข้อผิดพลาดจากเกมการแข่งขันมาปรับปรุงให้ดีข้ึน ระยะท่ี 4 การแข่งขันทั่วไป (General Competition) การแข่งขันทั่วไปเป็นระยะ ที่สองของการฝึกซ้อมช่วงการแข่งขัน (Competition Period) เป็นการแข่งขันในรายการ ท่ีมีความส�ำคัญเพ่ือใช้ทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย เทคนิค ทักษะสูงสุดของนักกีฬา ก่อนที่จะ เขา้ รว่ มเกมการแข่งขนั ที่มคี วามสำ� คัญที่สดุ ของปี ระยะที่ 5 การแข่งขันท่ีส�ำคัญ (Special Competition) การแข่งขันท่ีส�ำคัญเป็น ระยะสุดท้ายของการฝึกซ้อมช่วงการแข่งขัน (Competition Period) เป็นช่วงเวลาท่ีมี ความส�ำคัญที่สุดของปีด้วยการแข่งขันท่ีส�ำคัญที่สุด ปริมาณการฝึกซ้อม (Training Volume) ในระยะนี้จะลดลงอย่างมาก เพ่ือยอมให้นักกีฬามีความพร้อมและรู้สึกสดชื่น และเพื่อที่ระดับ ความสมบรู ณ์ทางกายจะก้าวขน้ึ ไปถงึ จดุ สูงสุด ระยะที่ 6 การฝึกซ้อมหลังการแข่งขัน (Transition) ระยะของการฝึกซ้อมช่วงหลัง การแข่งขันหรืออาจจะเรียกว่า ระยะการฟื้นสภาพ (Recovery) หรือการสร้างขึ้นใหม่ โดยเกี่ยวข้องกับการฟื้นสภาพอย่างมีกิจกรรม (Active Recovery) ด้วยกิจกรรมทางกาย ระดับต่�ำทัว่ ไปและประกอบดว้ ยการฟื้นสภาพจากการบาดเจบ็ และการผ่อนคลาย การวางแผนการฝึกซ้อมรายเดือน (Mesocycles Planing) สนธยา สลี ะมาด (2551 : 576-579) กล่าวถงึ การวางแผนการฝกึ ซ้อมรายเดือน ซึ่งสรุป สาระส�ำคัญได้ดังนี้ การฝึกซ้อมรายเดือน (Mesocycles) คือ กระบวนการฝึกซ้อมภายใน แต่ละระยะการฝึกซ้อม (Phases) ซึ่งอาจมีระยะเวลาประมาณหน่ึงเดือนหรือยาวมากกว่าหรือ น้อยกว่าก็ได้ข้ึนอยู่กับช่วงของการฝึกซ้อม ส�ำหรับการฝึกซ้อมช่วงก่อนการแข่งขันการฝึกซ้อม รายเดือนจะมีระยะเวลาประมาณ 4-6 สัปดาห์ ขณะท่ีการฝึกซ้อมรายเดือนช่วงของการแข่งขัน ปกติจะส้ันกว่าประมาณ 2-4 สัปดาห์ การก�ำหนดโครงสร้างการฝึกซ้อมรายเดือนจะมีพ้ืนฐาน อยบู่ นความเฉพาะเจาะจงของวัตถปุ ระสงคข์ องระยะการฝกึ ซ้อมและระยะการแขง่ ขัน ดังนี้ 166 คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกรฑี า T-Certificate
1. การฝกึ ซอ้ มรายเดือนในช่วงกอ่ นการแขง่ ขัน (Mesocycles for the Preparation Period) การฝึกซ้อมช่วงก่อนการแข่งขันส่วนใหญ่จะมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Develop- mental) และการฝึกซ้อมที่มีความหนัก (Shock) ซึ่งจะมีการเพิ่มปริมาณการฝึกซ้อมขึ้น 3-4 สัปดาห์ และตามดว้ ย 1 สัปดาห์ สำ� หรบั สร้างกลบั คนื ขนึ้ ใหม่ ตัวอยา่ งการฝกึ ซอ้ มรายเดือนเพื่อการพฒั นา ภาพท่ี 11.5 แสดงตัวอย่างการฝกึ ซอ้ มรายเดือนเพือ่ การพัฒนา 2. การฝึกซ้อมรายเดือนในช่วงการแข่งขัน (Mesocycles for the Competition Period) การฝึกซ้อมรายเดือนของการฝึกซ้อมช่วงการแข่งขัน การก�ำหนดโครงสร้างของ การฝึกซ้อมจะมีความแตกต่างกันตามความเฉพาะเจาะจงของประเภทการแข่งขัน ระดับ ความหนักส่วนใหญ่ จะเกิดขึ้นภายในรอบการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycles) เช่น วันท่ี มีการแข่งขัน วันส�ำหรับการพัก วันส�ำหรับสร้างกลับคืนข้ึนใหม่ และวันที่มีการฝึกซ้อม ด้วยความหนักต�่ำและปานกลาง เป็นต้น 3. การฝึกซ้อมรอบเดือนเพ่ือให้นักกีฬาก้าวขึ้นไปสู่ขีดความสามารถสูงสุดส�ำหรับ การแข่งขัน (Mesocycles for Tapering for Competition) เป็นโปรแกรมการฝึกซ้อม ที่มีความส�ำคัญส�ำหรับการเตรียมความสมบูรณ์ทางกายให้พร้อมส�ำหรับการแข่งขันที่ส�ำคัญ โดยเน้นการจัดโปรแกรมการฝึกซ้อมเพ่ือก�ำจัดของเสียออกจากร่างกายและสนับสนุนให้ มีการปรับชดเชยมากกว่าปกติด้วยการลดระดับปริมาณและความหนักของการฝึกซ้อมลง (Unloading) ประมาณ 2 สัปดาหก์ ่อนทกี่ ารแขง่ ขนั จะเรมิ่ ขึ้น 4. การฝึกซ้อมรายเดือนส�ำหรับการฝึกซ้อมช่วงหลังการแข่งขัน (Mesocycle for the Transition) หลังการฝึกซ้อมที่ยาวนานและการแข่งขันท่ีมีความหนัก สภาพของนักกีฬา จะมีความเมื่อยล้า การพักจึงเป็นสิ่งที่มีความจ�ำเป็นที่จะท�ำให้นักกีฬารู้สึกสดช่ืนขึ้นก่อน ท่ีการฝึกซ้อมคร้ังใหม่จะเร่ิมข้ึนอีกคร้ัง อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่านักกีฬาจะต้องพัก คู่มือผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate 167
ตลอดเวลานักกีฬาควรหยุดพักเพียง 1 สัปดาห์หลังการแข่งขันจบลง ก่อนท่ีจะเร่ิมการฝึกซ้อม ทมี่ ีความหนกั ต่�ำ ในสปั ดาหท์ ี่ 2 และสัปดาห์ 3 และคงระดับความหนักของการฝึกซ้อมปานกลาง ไว้ในสัปดาห์ต่อๆ ไป การวางแผนการฝึกซอ้ มรายสัปดาห์ (Microcycle Planing) การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycle) เป็นการวางแผนการฝึกซ้อมภายในแต่ละ วงรอบการฝกึ ซ้อมรายเดือน (Mesocycles) ซึง่ การฝึกซอ้ มรายสปั ดาหจ์ ะมีระยะเวลาตั้งแต่ 7 ถงึ 9 วนั แตโ่ ดยทัว่ ไปการวางแผนจะใช้เวลา 7 วนั เปน็ สว่ นใหญ ่ เนื่องจากในวนั ท่ีเจด็ ของการฝึกซอ้ ม จะตรงกับวันหยุด (วันอาทิตย์) จึงเป็นการเหมาะท่ีจะหยุดการฝึกซ้อม และปล่อยให้นักกีฬา ได้มีการพักผ่อนหรือผ่อนคลายความตึงเครียดจากการฝึกซ้อมมาตลอดสัปดาห์ ในแต่ละการฝึกซ้อมรายสัปดาห์จะประกอบด้วยวันที่มีการฝึกซ้อมและวันที่ไม่มี การฝึกซ้อม ส�ำหรับวันท่ีมีการฝึกซ้อมนักกีฬาอาจจะท�ำการฝึกซ้อม 1-2 คร้ังต่อวัน และทุกคร้ัง หลังจากการฝึกซ้อมนักกีฬาจะต้องมีช่วงของการฟื้นสภาพท่ียาวนานเพียงพอที่จะก�ำจัด ความเมื่อยล้าออกจากร่างกายและเพ่ือให้ระดับความสมบูรณ์ของนักกีฬากับคืนมาสู่ระดับปกติ และพร้อมส�ำหรบั การฝกึ ซอ้ มในคร้งั ต่อไป ล�ำดับการฝึกซ้อมในการฝึกซ้อมรายสปั ดาห์ การฝึกซ้อมในแต่ละการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ ควรเริ่มต้นการฝึกซ้อมทางด้านเทคนิค (Technique) ความเร็ว-แข็งแรง (Speed – Strength) เป็นอันดับแรกๆ ก่อนการฝึกซ้อม ทางด้านความอดทน (Endurance) การออกก�ำลังกายใดก็ตามที่อาศัยการท�ำงานของระบบ ประสาทกล้ามเนอ้ื เป็นส�ำคัญ ควรน�ำมาฝกึ ซ้อมในครั้งแรกๆ ของวงจรการฝกึ ซ้อม ถา้ การฝกึ ซ้อม เป็นการพัฒนาความอดทนหรือเป็นการฝึกซ้อมท่ีมีความหนัก การฝึกซ้อมในคร้ังต่อไปไม่ควร มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาเทคนิคท่ีซับซ้อน ในทางกลับกันถ้าเป็นการพัฒนาความอดทน ดูเหมือนว่าจะมีประสิทธิภาพอย่างมากถ้าการฝึกซ้อมเกิดขึ้นหลังจากการฝึกซ้อมความเร็ว โดยท่ัวไป การฝึกซ้อมในแต่ละครั้งที่มีความเหมาะสม ร่างกายจะมีการฟื้นสภาพมากกว่า 24 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามระหว่างนั้นนักกีฬาสามารถใช้การฝึกซ้อมลักษณะท่ีแตกต่างออกไป ใช้ระบบพลังงานอ่ืนและกิจกรรมท่ีท�ำให้เกิดความเครียดต่อร่างกายในลักษณะท่ีแตกต่างกัน ออกไป (สนธยา สีละมาด, 2551 : 587-588) 168 คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกรีฑา T-Certificate
การก�ำหนดโครงสร้างการฝกึ ซ้อมรายสปั ดาห์ แม้ว่าในทางบริหารผู้ฝึกสอนควรวางแผนการฝึกซ้อมระยะยาว แต่ส�ำหรับการวางแผน การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ผู้ฝึกสอนไม่ควรก�ำหนดรายละเอียดโปรแกรมการฝึกซ้อมล่วงหน้า มากกว่าสองการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ เพราะเป็นความยากท่ีผู้ฝึกสอนจะน�ำข้อมูลจากการฝึกซ้อม รายสปั ดาหส์ ดุ ท้ายมาช่วยก�ำหนดรายละเอยี ดของวงรอบการฝึกซ้อมใหมท่ จี่ ะเกดิ ขึน้ การก�ำหนด โครงสรา้ งของการฝึกซ้อมรายสปั ดาห์ผฝู้ ึกสอนควรปฏบิ ัติตามแนวทางดังตอ่ ไปนี้ คอื 1. กำ� หนดวตั ถุประสงค์ของการฝกึ ซ้อมรายสปั ดาห์ (การฝกึ ซ้อมเพ่อื พฒั นาอะไร) 2. เลือกชนดิ ของการฝึกซอ้ มรายสปั ดาห์ 2.1 การฝึกซ้อมรายสปั ดาห์เพ่อื การพัฒนา (การปรับปรงุ สมรรภาพทางกาย) 2.2 การฝกึ ซอ้ มรายสปั ดาหเ์ พือ่ คงระดบั ความสามารถ (รกั ษาระดบั สมรรถภาพ) 2.3 การฝึกซอ้ มรายสปั ดาห์ที่ไม่ได้รบั ความหนกั (ช่วงการแข่งขัน) 3. ก�ำหนดระดับของงานท่ีจะฝกึ ซอ้ ม 3.1 จำ� นวนคร้งั ของการฝึกซ้อม (Number) 3.2 ปรมิ าณของการฝกึ ซ้อม (Volume) 3.3 ความหนกั ของการฝึกซ้อม (Intensity) 3.4 ความซับซ้อนของการฝกึ ซอ้ ม (Complexity) 4. ก�ำหนดระดับความหนักของการฝึกซ้อม (การฝึกซ้อมท่ีมีความหนักสูงสุดก่ีครั้ง สลบั ด้วยการฝึกซอ้ มท่ีมคี วามหนกั ต่�ำก่ีครง้ั ) 5. เลอื กลักษณะของการฝึกซอ้ ม (วิธีการฝกึ ซอ้ มและแบบแผนการฝกึ ซอ้ ม) 6. กำ� หนดวันฝกึ ซอ้ มหรือการแขง่ ขนั (ถา้ เปน็ การจ�ำลองการแข่งขนั ) 7. เริ่มต้นการฝึกซ้อมในคร้ังแรกด้วยความหนักต่�ำหรือปานกลาง (Low to Medium Intensity) และเพม่ิ ความหนักมากข้ึนในการฝกึ ซอ้ มครั้งตอ่ ไป 8. ก่อนถึงการแข่งขันที่ส�ำคัญ ใช้การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ท่ีมีการฝึกซ้อมหนักสูงเพียง หนึง่ ครั้ง และควรเกดิ ข้นึ 3-5 วันกอ่ นถึงการแขง่ ขนั (สนธยา สลี ะมาด, 2551 : 590-591) นอกจากนี้ Lange (2004 : 12) ได้ก�ำหนดขั้นตอนวางแผนการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ ไว้ 8 ขน้ั ตอน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ทราบขอ้ มลู สว่ นตวั ประวตั ิ / ภมู หิ ลงั / และประสบการณด์ า้ นการแขง่ ขนั ของนกั กฬี า 2. เลือกรูปแบบวิธีการฝึกซ้อมให้ตรงกับช่วง (Period) และระยะ (Phase) ของ การฝกึ ซ้อม ค่มู อื ผูฝ้ ึกสอนกรีฑา T-Certificate 169
3. ก�ำหนดหน่วยการฝึกซ้อม (Training Unit) ให้ครอบคลุมเนื้อหาขององค์ประกอบ ความสามารถทางกลไกของกรฑี าแต่ละประเภท 4. หน่วยการฝึกซ้อมต้องมีความถ่ีเหมาะสมเพียงพอส�ำหรับความต้องการของกรีฑา แต่ละประเภท (ตัวอยา่ ง ฝกึ ความเร็ว 3 คร้ังตอ่ สปั ดาห์) 5. ก�ำหนดรูปแบบระดับความหนัก (Load) ของการฝึกซ้อมภายในสัปดาห์ (หนัก ปานกลาง เบา และพกั ) อยา่ งเหมาะสม 6. ก�ำหนดโครงสร้างการฝึกซอ้ มในสปั ดาหม์ ีการฝกึ ซอ้ มก่วี ัน และวนั ไหนบา้ ง 7. ก�ำหนดระดับความหนักของงาน (Intensity) ปริมาณงาน (Volume) และ การฟื้นตวั (Recovery) ให้เกิดความสมดลุ 8. ประเมินแผนการฝกึ ซอ้ ม โดยใชแ้ บบประเมนิ รายสัปดาห์ (Microcycle Checklist) แบบประเมินแผนการฝกึ ซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycle Checklist) แบบประเมนิ แผนการฝกึ ซอ้ มรายสปั ดาหเ์ ปน็ สว่ นสำ� คญั สำ� หรบั การตรวจสอบรายละเอยี ด ภาพรวมของแผนการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ในทุกรายละเอียด ซึ่งช่วยท�ำให้การประเมินมีแนวทาง มากขนึ้ และยงั สามารถชี้ข้อบกพร่อง ขอ้ ควรแก้ไข ได้อย่างชัดเจน ซ่งึ การประเมินแผนการฝกึ ซ้อม ตอ้ งอาศยั แนวทาง ดังตอ่ ไปนี้ 1. เนื้อหาของการฝึกซอ้ มมีความเหมาะสมกับช่วงและระยะของการฝกึ ซอ้ มหรือไม่ 2. วิธีการทนี่ ำ� มาใชท้ ำ� ให้การฝกึ ซอ้ มบรรลตุ ามเปา้ หมายไดห้ รือไม่ 3. รูปแบบที่น�ำมาใช้ในการฝึกซ้อมมีความสัมพันธ์กับระดับอายุและประสบการณ์ ของนักกฬี าหรือไม่ 4. ความสมดุลระหว่างความหนักของงานกับการฟื้นตัวของนักกีฬามีความเหมาะสม หรอื ไม่ 5. การจดั กจิ กรรมการฝึกซ้อมมคี วามหลากหลายหรือไม่ 6. ในการฝกึ ซอ้ มแตล่ ะครงั้ ถา้ มกี จิ กรรมการฝกึ ซอ้ มหลายดา้ นรว่ มกนั ไดม้ กี ารจดั ลำ� ดบั กิจกรรมในแต่ละหน่วยการฝกึ ซอ้ มตามระดับความล้าของร่างกายและการฟนื้ ตัวหรอื ไม่ 170 คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกรฑี า T-Certificate
ระ ัดบความ ้ลาของร่างกาย ระบบประสาทสงั่ การ, เทคนคิ ความเรว็ , ความแขง็ แรงรวดเรว็ , ความแขง็ แรงสงู สดุ ความเร็วอดทน, ความแข็งแรงอดทน การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกาย ความอดทนทว่ั ไป ภาพท่ี 11.6 แสดงล�ำดบั การฝึกซอ้ มทม่ี ีผลตอ่ ระดบั ความลา้ ของร่างกาย (Lange, 2004 : 13) การแบ่งประเภทการฝกึ ซอ้ มรายสปั ดาห์ (Classifying Microcycles) การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ จะประกอบด้วยจ�ำนวนและแบบแผนของการฝึกซ้อม ในแต่ละครั้ง (Training Session) การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ส่วนใหญ่จะท�ำการฝึกซ้อม 6 วัน ตามด้วยวันพักหรือสร้างกลับคืน (วันอาทิตย์) โดยการฝึกซ้อมในแต่ละคร้ังจะมีช่วงความหนัก 4 ระดับ คือ ช่วงระดับความหนักสูงสุดลดลงไปถึงปานกลาง ต่�ำ และพัก แบบแผนการฝึกซ้อม ในแต่ละการฝึกซ้อมรายสัปดาห์จะไม่ได้มีข้อก�ำหนดตายตัว แต่ความหนักหรือความต้องการ การฝึกซ้อมจะข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการฝึกซ้อม ชนิดของการฝึกซ้อมรายสัปดาห์ ชนิดกีฬา และสภาพสงิ่ แวดลอ้ ม สำ� หรบั ความหนกั ของการฝกึ ซอ้ มควรจะมกี ารสลบั กนั ระหวา่ งความหนกั สงู 90-100% ความหนักปานกลาง 80-90% และต่�ำ 50-80% ตามด้วยการพักและในแต่ละรอบ การฝกึ ซอ้ มรายสัปดาหอ์ าจจะมกี ารฝึกซ้อมที่มคี วามหนักสงู เกิดข้นึ หน่งึ วนั สองวันหรอื บางโอกาส อาจเปน็ สามวนั ตอ่ สัปดาหก์ ็ได้ (สนธยา สลี ะมาด, 2551 : 593) ค่มู ือผ้ฝู ึกสอนกรฑี า T-Certificate 171
ส�ำหรับการก�ำหนดอัตราส่วนความหนักของงานในการฝึกซ้อมกับระยะเวลาในการพัก จะต้องมีความพอเหมาะเพ่ือให้นักกีฬามีการปรับระดับความสามารถทางร่างกายให้สูงข้ึน โดยความหนกั ของงานจะหมายถงึ ปรมิ าณและความหนกั ของการทำ� งานตอ่ วนั รวมกนั สว่ นการพกั อาจจะให้นักกีฬาพักจนนักกีฬาฟื้นตัวโดยสมบูรณ์หรือพักแบบมีกิจกรรมโดยใช้การเคล่ือนไหว เบาๆ เช่น การเดิน วิ่งเหยาะๆ นอกจากน้ีการก�ำหนดระดับความหนักของงานในการฝึกซ้อม ยงั มีความแตกต่างกันตามระดบั อายุ ประสบการณแ์ ละช่วงระยะของเวลาของการฝึกซ้อม ภาพที่ 11.7 แสดงแผนการฝกึ ซ้อมรายสัปดาหส์ �ำหรบั นกั กรีฑาท่ไี มม่ ีประสบการณ์ – ชว่ งเตรียม (Thompson, 1991 : 5.31) ภาพท่ี 11.8 แสดงแผนการฝกึ ซ้อมรายสปั ดาหส์ ำ� หรับนกั กรฑี าทไ่ี ม่มปี ระสบการณ์ – ช่วงแขง่ ขนั (Thompson, 1991 : 5.32) 172 คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกรีฑา T-Certificate
ภาพท ี่ 11.9 แสดงแผนการฝึกซ้อมรายสปั ดาห์ส�ำหรับนกั กรฑี าท่มี ีประสบการณ์ – ชว่ งเตรยี ม (Thompson, 1991 : 5.32) ภาพท ่ี 11.10 แสดงแผนการฝกึ ซ้อมรายสปั ดาหส์ �ำหรบั นกั กรีฑาทม่ี ปี ระสบการณ์ – ช่วงแขง่ ขัน (Thompson, 1991 : 5.33) คู่มือผู้ฝึกสอนกรฑี า T-Certificate 173
โดยปกติการก�ำหนดโครงสร้างของการฝึกซ้อมรายสัปดาห์จะข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ ของการฝึกซ้อมและระยะของการฝึกซ้อม การฝึกซ้อมรายสัปดาห์จึงสามารถแบ่งออกได้ ดังต่อไปน้ี คอื การฝึกซ้อมรายสัปดาห์เพื่อการพัฒนา (Development Microcycle) เป็นรอบ การฝึกซ้อมท่ีมีความเหมาะสมส�ำหรับการฝึกซ้อมช่วงก่อนการแข่งขัน (Preparation Period) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงทักษะและพัฒนาสมรรถภาพทางกลไกท่ีเฉพาะเจาะจง ฉะน้ันวงรอบการฝึกซ้อมจึงสามารถมีการฝึกซ้อมหนักสูงได้สองหรือสามวันต่อวงรอบ ทั้งนี้ ขน้ึ อยกู่ ับระดับความสามารถของนักกีฬา การฝึกซ้อมรายสัปดาห์ท่ีมีความหนัก (Shock Microcycle) เป็นรอบการฝึกซ้อม ท่ีเพิ่มระดับปริมาณและความหนักของการฝึกซ้อมข้ึนมากกว่ารอบการฝึกซ้อมก่อนหน้า อยา่ งรวดเรว็ เปน็ การฝกึ ซอ้ มทเี่ หมาะสมในชว่ งการฝกึ ซอ้ มกอ่ นการแขง่ ขนั (Preparation Period) ตลอดรอบการฝึกซ้อมอาจมีการฝึกซ้อมหนักสามถึงส่ีวัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมระดับ การพัฒนาให้สูงขนึ้ นกั กฬี าจึงมรี ะดับภาวะสมดลุ (Homeostasis) ระดบั สงู ขนึ้ การฝึกซ้อมรายสัปดาห์เพื่อการสร้างขึ้นกลับคืน (Regeneration Microcycle) เป็นรอบการฝึกซ้อมเพื่อก�ำจัดความเม่ือยล้าออกจากจิตใจและร่างกายและการเก็บสะสมพลังงาน ขน้ึ กลบั คนื การฝกึ ซอ้ มดว้ ยกจิ กรรมประเภทแอโรบกิ ทม่ี รี ะดบั ความหนกั ตำ่� จะชว่ ยเรง่ ใหม้ กี ารปรบั ชดเชยมากกว่าปกติ (Compensation) เร็วข้ึน กิจกรรมท่ีมีความสนุกสนานจะช่วยให้มี การผ่อนคลายทางด้านจติ ใจและชว่ ยใหน้ ักกีฬามแี รงจูงใจที่จะเขา้ รว่ มวงรอบการฝึกซอ้ มต่อไป การฝึกซ้อมรายสัปดาห์เพื่อขีดความสามารถสูงสุด (Peaking Microcycle) เป็นรอบ การฝึกซ้อมท่ีใช้ปริมาณและความหนักที่ช่วยสนับสนุนให้ได้รับความสมบูรณ์ทางกายสูงสุด ส�ำหรับการแข่งขันที่ส�ำคัญ การลดปริมาณและความหนักของการฝึกซ้อมลงจะช่วยสนับสนุน ให้มีการปรับชดเชยมากกว่าปกติก่อนท่ีจะถึงการแข่งขัน การเตรียมพร้อมของร่างกายและจิตใจ เพ่ือความสมบูรณ์ทางกายทด่ี ี (สนธยา สลี ะมาด, 2551 : 600-601) การฝึกซอ้ มในแต่ละครง้ั (Training Session) การวางแผนการฝึกซ้อมในแต่ละคร้ัง (Training Session) เป็นสิ่งท่ีมีความส�ำคัญท่ีสุด ของการวางแผนการฝกึ ซอ้ ม เปน็ การถา่ ยทอดความรทู้ ม่ี อี ยขู่ องผฝู้ กึ สอนใหก้ บั นกั กฬี า ซง่ึ ผฝู้ กึ สอน จะต้องน�ำความรู้ในศาสตร์แขนงต่างๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา หลักทฤษฎีในการฝึกซ้อม ทกั ษะเทคนคิ ของกีฬาชนดิ นนั้ ๆ รวมไปถงึ ประสบการณข์ องผ้ฝู ึกสอน 174 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกรฑี า T-Certificate
จุดมงุ่ หมายของการฝึกซ้อมแต่ละครง้ั การฝึกซอ้ มในแต่ละครัง้ สามารถจ�ำแนกตามจุดม่งุ หมายออกได้เป็น 4 ด้าน ดังน้ี 1. การฝึกซ้อมเพื่อการเรียนรู้ (Learning Session) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือการฝึกซ้อม ทักษะใหม่และเทคนคิ ใหม่ 2. การฝึกซอ้ มเพ่ือการปฏบิ ตั ซิ �ำ้ (Repettion Session) มจี ดุ มุง่ หมายเพื่อการปรับปรุง ทกั ษะ เทคนิค และสมรรถภาพใหพ้ ัฒนามากย่งิ ขึน้ 3. การฝึกเพ่ือการพัฒนาทักษะและสมรรถภาพท่ีสมบูรณ์ (Skill and Fitness Session) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาทักษะที่สมบูรณ์และการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย ใหม้ ีความเหมาะสมกบั ชนดิ กีฬาทใ่ี ชใ้ นการแข่งขัน 4. การฝกึ ซอ้ มเพอื่ การประเมินผล (Assessment Session) มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือประเมนิ ระดับความสมบรู ณท์ างกายของนักกฬี าทไี่ ดร้ ับในแตล่ ะระยะการฝกึ ซ้อม ขนั้ ตอนของการวางแผนการฝึกซอ้ มแต่ละครง้ั สำ� หรบั ขน้ั ตอนของการวางแผนการฝกึ ซอ้ มในแตล่ ะครง้ั ในขน้ั ตอนนจี้ ะตอ้ งทำ� ใหน้ กั กฬี า บรรลุตามจุดมุ่งหมายทั้ง 4 ด้าน ผู้ฝึกสอนจะต้องพิจารณากิจกรรมแต่ละประเภทเพื่อให้นักกีฬา ฝึกซ้อมในแต่ละคร้ัง โดยอาศัยหลักในการวางแผนซึ่ง Thompson (1991 : 5.33) กล่าวไว้ 4 ข้นั ตอน ดังน้ี ข้ันท ่ี 1 ต้ังจดุ มุ่งหมายหรอื เปา้ หมายท่วั ๆ ไป ตอ้ งพิจารณาสิ่งทีจ่ ะใหน้ กั กีฬาฝึกซ้อมน้ัน เหมาะสมกับตารางการฝึกซ้อมใน 1 สปั ดาห์ และเหมาะกบั ช่วงการฝกึ ซอ้ มในแต่ละคร้ัง ขนั้ ท ี่ 2 ต้ังจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายเฉพาะพิจารณาดูว่าทักษะอะไรคือความสามารถ ทางกลไกของรา่ งกาย หรอื ระบบพลงั งานใดที่ต้องสร้างใหเ้ กิดขึน้ ในตวั นกั กีฬา ขนั้ ท่ี 3 การวางแผนการฝึกซ้อมต้องเป็นการผสมผสานการฝึกแบบต่างๆ รวมเข้า ด้วยกนั ขัน้ ที่ 4 ออกแบบการฝึกซ้อมโดยพิจารณาว่าจะใช้กิจกรรมอะไร เป็นล�ำดับอย่างไร เพอ่ื ใหบ้ รรลผุ ลตามเป้าหมาย คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกรีฑา T-Certificate 175
หลกั การฝึกซอ้ มในแต่ละครัง้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ชุมพล ปานเกตุ (2540 : 209-210) ได้กล่าวถึงหลักการน�ำแผนไปปฏิบัติเพ่ือให้ เกดิ ประสิทธิภาพไว้ ดงั นี้ ให้ผู้เข้ารบั การฝึกได้เขา้ รว่ มทำ� นักกฬี าท่เี ขา้ รับการฝกึ ควรจะเปน็ ผู้ท�ำกจิ กรรมให้ กิจกรรมทุกคน มากกวา่ การน่ังดูหรือน่งั ฟงั ใช้ค�ำอธิบายที่ชัดเจนกระทดั รัดและ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ถ้าเขารู้ว่าเขาต้องท�ำอะไร ตรงประเด็น (จุดมุง่ หมาย) การสาธติ จะช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจค�ำส่ังได้ชดั เจนขน้ึ บนั ทกึ ความก้าวหนา้ ของแต่ละคน ผู้เริ่มฝึกจะท�ำได้ดีขึ้นถ้าได้รับรู้ว่าการฝึกของเขานั้น กา้ วหนา้ ถา้ มกี ารประเมินการฝึกซ้อมจะท�ำให้นักกีฬา และผู้ฝึกสอน ได้ทราบถึงความก้าวหน้าของนักกีฬา แตล่ ะคน ให้คำ� ติชมทเ่ี ปน็ ไปในทางบวก คำ� ติชม การติชมท่ีเป็นไปในด้านบวกจะเป็นการท�ำให้นักกีฬา ท่ีเป็นไปในทางลบควรใชค้ �ำพูด ท�ำได้ดขี ึน้ ท่เี หมาะสม จัดกจิ กรรมให้มีหลายๆ รูปแบบ การจัดกิจกรรมเพื่อให้นักกีฬาฝึกควรมีหลายๆ แบบ แตกตา่ งกัน เช่น เปลยี่ นสภาพ การฝกึ , เพื่อมิให้เบ่ือหน่ายและใช้การอธิบายโดยใช้เวลาส้ันๆ เปลย่ี นแบบฝกึ พยายามให้ผ้ฝู ึกเข้ารับการฝึก ช่ัวโมงการฝึกควรให้ผู้เข้ารับการฝึกสนุกสนานและ สนกุ สนานในกิจกรรมท่ีฝกึ ร่ืนเริง การฝึกควรให้มีระดับความก้าวหน้า การฝึกจะก้าวหนา้ ไปทลี ะขัน้ ถา้ ผู้ฝึกเร่มิ ทำ� จาก ไปทลี ะขัน้ - สิ่งท่ีรู้ไปสสู่ ง่ิ ที่ไม่รู้ - สง่ิ ท่ีงา่ ยไปหายาก - ส่งิ ทวั่ ๆ ไป ไปหาสิ่งเฉพาะ 176 คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกรีฑา T-Certificate
การวางแผนการฝกึ ใหส้ ามารถนำ� วสั ดุ ให้แน่ใจว่าในแต่ละแบบฝึกนั้นสามารถน�ำอุปกรณ์ และอปุ กรณท์ หี่ าไดใ้ นทอ้ งถ่นิ มาใช้ ท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุดและ ให้ไดม้ ากท่สี ุด หากอุปกรณ์ที่มีอยู่ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายให้ท�ำ การดดั แปลงเพ่ือใหใ้ ชป้ ระโยชน์ได้ จดั แบบฝกึ โดยค�ำนึงถงึ ความแตกต่าง ขณะฝกึ สอนจะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ อตั ราการเรยี นรทู้ แ่ี ตกตา่ งกนั ของแตล่ ะบุคคล และความแตกต่างในวิธีการเรียนรู้ที่ไม่เหมือนกัน และจงระลกึ อยเู่ สมอวา่ นกั กฬี าแตล่ ะคนมคี วามสามารถ ในการท�ำงานตา่ งกัน ล�ำดับขัน้ ตอนการจัดโปรแกรมการฝกึ ซ้อมในแตล่ ะครั้ง ข้ันสุดท้ายของการวางแผนการฝึกในแต่ละคร้ัง คือ การออกแบบหรือการวางแผนว่า นักกีฬาจะต้องท�ำกิจกรรมอะไร มีล�ำดับข้ันตอนและเนื้อหาอย่างไรบ้าง Thompson (1991 : 5.34-5.35) ไดก้ �ำหนดไวด้ งั น้ี การอบอนุ่ รา่ งกาย (Warm-up) ควรเรม่ิ ตน้ อยา่ งชา้ ๆ แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นข้ันตอน โดยจะต้องท�ำ การอบอุ่นร่างกายแบบทั่วไปก่อน หลังจากนั้น จึงเข้าสู่ การอบอุ่นร่างกายแบบเฉพาะต่อไป ซึ่งเป็นการเตรียม พร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจให้กับนักกีฬา ส�ำหรับ การฝึกซอ้ มและแขง่ ขนั การฝึกทกั ษะ (Skill Unit) เริ่มจากทกั ษะเดมิ ทเ่ี คยรู้ มาแล้วไปสู่ทักษะใหม่ที่ยังไม่รู้ เมื่อนักกีฬาฝึกปฏิบัติจน เกดิ ความช�ำนาญ จากนนั้ ควรใหน้ ักกฬี ามโี อกาสฝกึ ทกั ษะ เฉพาะส�ำหรับการแข่งขันจริง ถ้าวันไหนไม่มีการฝึกซ้อม ทกั ษะและจดุ มงุ่ หมายอยทู่ ก่ี ารเสรมิ สรา้ งรา่ งกาย หลงั จาก การอบอุ่นร่างกายแล้ว สามารถฝึกสมรรถภาพทางกาย ได้ทันที คมู่ ือผูฝ้ กึ สอนกรฑี า T-Certificate 177
การฝึกความสมบูรณ์ทางกาย (Fitness Unit) ความสมบูรณ์ทางร่างกายของกีฬาแต่ละประเภท จะอาศัยองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง เช่น นักท่มุ น�้ำหนกั จะแตกตา่ งจากนกั ว่งิ มาราธอน ด้วยเหตนุ ี ้ การให้งานฝึกเพ่ือเสริมสร้างความสมบูรณ์ทางกาย จึงมี ความแตกต่างกันตามความต้องการของกรีฑาในแต่ละ ประเภท การผ่อนคลายหลังการฝึกซ้อม (Cool Down) เปน็ ขัน้ ตอนของการลดสภาวะความเครยี ดจากการปฏบิ ัติ กิจกรรมเป็นการดึงเอาของเสียท่ียังคงตกค้างอยู่ภายใน เซลล์ออกสู่ภายนอกเป็นการปฏิบัติที่ค่อนข้างจะเหมือน กับการอบอุ่นรา่ งกายเพียงแต่การปฏบิ ตั ิเปน็ ไปอย่างชา้ ๆ ภาพท่ี 11.11 แสดงลำ� ดบั ข้นั ตอนการจัดโปรแกรมการฝกึ ซ้อมในแตล่ ะคร้งั (Thompson, 1991 : 5.34-5.35) สรปุ การวางแผนการฝึกซ้อมกีฬาเป็นกระบวนการในการจัดประสบการณ์ให้กับนักกีฬา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านทักษะ สมรรถภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้เหมาะสมกับ ชนิดกีฬาและตัวนักกีฬา ซึ่งจะต้องอาศัยหลักทฤษฎีในการฝึกซ้อม และหลักทางด้านการกีฬา เพ่อื ใหก้ ารฝึกซ้อมดำ� เนนิ ไปอยา่ งมีขั้นตอน การวางแผนการฝึกซ้อมกีฬาจะต้องประกอบไปด้วยการวางแผนการฝึกซ้อมระยะยาว (Long Term Planing) การวางแผนการฝึกซ้อมรายปี (Macrocycle Planing) การวางแผน การฝึกซ้อมรายเดือน (Mesocycle Planing) การวางแผนการฝกึ ซ้อมรายสัปดาห์ (Microcycle Planing) และการก�ำหนดการฝึกซอ้ มในแต่ละครั้ง (Training Session) โปรแกรมการฝึกซ้อมท่ีดีจะต้องท�ำให้นักกีฬามีการพัฒนาขีดความสามารถและ ประสบความส�ำเร็จไปตามวัยไม่เร่งนักกีฬาจนเกินไป จนท�ำให้นักกีฬาเกิดการบาดเจ็บและ เบื่อหน่าย และสิ่งท่ีส�ำคัญอีกประการหนึ่งจะต้องท�ำให้นักกีฬาก้าวไปถึงความสามารถสูงสุด ในช่วงการแขง่ ขนั ทสี่ �ำคญั 178 คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกรีฑา T-Certificate
เอกสารอา้ งองิ กรรวี บุญชัย. 2550. สมุดบันทึกกิจกรรมวิชา 172342: หลักและวิธีสอนโฟล์คดานซ์ และสแควดานซ์. ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดส�ำเนา). ชมุ พล ปานเกต.ุ 2540. การฝึกสอนกรฑี าเบื้องต้น. นครสวรรค์: สถาบนั ราชภฏั นครสวรรค.์ สนธยา สีละมาด. 2551. หลักการฝึกกีฬาส�ำหรับผู้ฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Lange G. 2004. The “PUZZILE” A Methodical Teaching Aid for Training Session and Microcyle Planning. IAAF Regional Development Centre - Jakarta. BULLETN. 1 (February). Thompson, P., JL. 1991. Introduction to Coaching Theory. Hazelwood Close: L & S Printing Company. คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกรีฑา T-Certificate 179
บรรณานกุ รม กรรวี บุญชยั . 2540. คเิ นสโิ อโลยีเบอ้ื งตน้ . กรุงเทพฯ: ครุ ุสภาลาดพรา้ ว. เจริญ กระบวนรัตน์. 2543. เทคนิคการฝึกกรีฑา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ (อดั ส�ำเนา). ……….. 2545. หลักและเทคนิคการฝึกกรีฑา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะศกึ ษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ ชยั สทิ ธ์ ิ สุริยจันทร์ และพชิ ิตพล สุทธสิ านนท.์ 2549. กรีฑา. กรงุ เทพฯ: วีบ๊คุ . ชุมพล ปานเกตุ. 2540. การฝึกสอนกรีฑาเบ้ืองต้น. นครสวรรค์: สถาบันราชภัฏนครสวรรค์. ฝ่ายวชิ าการบรษิ ทั สกายบกุ๊ ส์ จ�ำกดั . 2548. กรฑี า. ปทมุ ธานี: กิเลนการพมิ พ์. พฒั น อุตตโมบล. 2546. กรีฑา. กรงุ เทพฯ: ประสานมติ ร. พชิ ติ ภตู จิ นั ทร์. 2547. การฝึกนำ้� หนักเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์. มงคล แฝงสาเคน. 2549. การออกก�ำลังกายด้วยการเหยียดยืดกล้ามเน้ือเพือ่ สขุ ภาพและกีฬา. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ วัฒนา สุริยจันทร์. 2546. เอกสารประกอบการสอนวิชากรีฑา. เชียงใหม่: วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดเชยี งใหม.่ อุทยั สงวนพงศ.์ 2533. หนังสืออา่ นเพมิ่ เติมกลุ่มพลานามัยกรีฑาระดับมธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจรญิ ทัศน.์ ……….. . 2547. กรฑี า. กรงุ เทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น์. Czingon, H. 1995. Rahmentrainingsplan Fur Das Aufbautraining Sprung. Aachen: Meyer & Meyer. Hillig, W., and Krauel, O. H. 1993. Leichtathletik. Berlin: Sportverlag. International Amateur Athletic Federation. 2000 a. Level II Jumping Events. (n.p.). ……….. . 2000 b. Level II Sprint & Hurdles Events. (n.p.). ……….. . 2000 c. Level II Throwing Events. (n.p.). Jonath, U., et al. 1995. Leichtathletik 2 : Springen. Hamburg: Rowohlt Tashenbuch Verlag GmbH. Joch, W. 1992 a. Rahmentrainingsplan Fur Das Aufbautraining Lauf. Aachen: Meyer & Meyer. ……….. . 1992 b. Rahmentrainingsplan Fur Das Aufbautraining Sprint. Aachen: Meyer & Meyer. 180 คู่มือผูฝ้ ึกสอนกรีฑา T-Certificate
……….. . 1999. Rahmentrainingsplan Fur Das Grundlagentraining. Aachen: Meyer & Meyer. Katzenbogner, H. 2002. Kinder-Leichtathletik. Munnster: Philippka-Sportverlag, Postfach. Muller, H., and Ritzdorf, W. 2000. Run! Jump! Throw!: The IAAF Guide to Teaching Athletics. (n.p.). Schmolinsky, G. 1983. Track and Field. Berlin: Sportverlag. Thompson, P., JL. 1991. Introduction to Coaching Theory. Hazelwood Close: L & S Printing Company. คู่มอื ผู้ฝึกสอนกรีฑา T-Certificate 181
คณะกรรมการจัดทำ� คู่มือผู้ฝึกสอนกรีฑา T-Certificate ทีป่ รึกษา อธบิ ดกี รมพลศกึ ษา รองอธิบดกี รมพลศึกษา นางแสงจนั ทร ์ วรสุมนั ต ์ รองอธบิ ดีกรมพลศกึ ษา นายชาญวิทย ์ ผลชีวิน นายธวชั ถาวรสวัสด ์ิ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ พล.ต.ต.ศภุ วณัฏฐ์ อารยิ ะมงคล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นพดล นิ่มสวุ รรณ นายเริ่ม มณธี รรม คณะจดั ทำ�ตน้ ฉบบั ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำ�นวย บญุ เส็ง นายเอกวิทย ์ แสวงผล ผูเ้ รยี บเรยี ง ผอู้ ำ�นวยการสถาบนั พัฒนาการพลศกึ ษาและการกีฬา ผูอ้ ำ�นวยการกลมุ่ วชิ าการและมาตรฐานวชิ าชพี นายปญั ญา หาญลำ�ยวง นักพัฒนาการกฬี าชำ�นาญการพเิ ศษ นางบงกชรัตน์ โมล ี นกั พัฒนาการกีฬาปฏิบตั กิ าร นางปาริชาติ ชมชื่น นกั พฒั นาการกฬี าปฏิบัติการ นายณฏั ฐนนั ท์ ศศะรมย ์ นักพฒั นาการกฬี าปฏบิ ัตกิ าร นางสาวชารสิ า วดั ตาล นางสาววรศิ รา ฟุงสงู เนิน 182 คู่มือผฝู้ ึกสอนกรีฑา T-Certificate
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192