Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานควบคุมกระบอกสูบทำงานทางเดียว

งานควบคุมกระบอกสูบทำงานทางเดียว

Published by nop_ins, 2020-06-07 12:09:06

Description: หน่วยที่ 2

Search

Read the Text Version

วชิ างานพ้ืนฐานิวแมติกส์ 30120-0002 วิชางานพื้นฐานนวิ แมตกิ ส์ (30120-0002) งานควบคุมกระบอกสูบทางานทางเดยี ว นพพร น้อยวัฒนกลุ แผนกวชิ าเคร่ืองมอื วดั และควบคุม วชิ างานพื้นฐานนิวแมติกส์ (30120-0002)

วชิ างานพนื้ ฐานนิวแมติกส์ 30120-0002 หนว่ ยท่ี 2 งานควบคุมกระบอกสูบทางานทางเดียว ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร ท า ง า น อุ ป ก ร ณ์ ใ น ร ะ บ บ นิ ว แ ม ติ ก ส์ จ ะ ต้ อ ง มี เ ค ร่ื อ ง อั ด อ า ก า ศ ห รื อ คอมเพรสเซอร์ทาหน้าท่ีอัดอากาศความดันปกติให้มีความดันสูงข้ึน ในบางคร้ังความดันท่ีได้ไม่ สม่าเสมอและในอากาศมีฝ่นุ ละออง มีความช้ืนละอองน้าปะปนอยซู่ ่ึงจะทาให้ระบบเกิดความเสยี หาย ได้ ด้วยสาเหตุดังกล่าวก่อนที่จะนาลมไปใช้งาน จาเป็นจะต้องตรียมอากาศอัดก่อนที่จะนาไปจ่าย ให้กับอุปกรณ์ในระบบนิวแมติกส์ ได้แก่ วาล์วควบคุมทิศทางการไหลลม วาล์วควบคุมความเร็วหรือ ควบคมุ การไหล และกระบอกสูบ เป็นนตน้ 2.1 การเตรยี มอากาศอดั การเตรียมอากาศอัดมีความสาคัญมากเพราะอากาศอัดท่ีจะนาไปใช้งานต้องสะอาดปราศจาก ความชื้น ส่ิงสกปรก และจะต้องช่วยรักษาอุปกรณ์การใช้งานให้มีอายุการใช้งานได้นานข้ึน ก่อนท่ีจะ นาอากาศอดั ไปใช้งานจะต้องผ่านอุปกรณ์ดังน้ี 1. เครื่องระบายความร้อน (Aftercoolers) มีหน้าที่ทาอากาศอัดให้เย็นลงและจากัดไอน้าที่ มีความร้อนจานวนมากที่ผสมรวมอยกู่ บั ลมอดั เครื่องระบายความรอ้ นมี 2 ชนิดคือ 1.1 เครื่องระบายความรอ้ นชนิดระบายความรอ้ นด้วยอากาศ 1.2 เครอ่ื งระบายความรอ้ นชนิดระบายความร้อนดว้ ยนา้ 2. เครื่องทาอากาศแห้ง (Air Dryers) ทาหน้าที่ทาให้อากาศอัดมีอุณหภูมิลดลง และไอน้า กลัน่ ตวั เป็นหยดนา้ เครื่องทาอากาศแหง้ มี 3 ชนดิ คือ 2.1 เครอ่ื งทาอากาศแห้งชนดิ ใช้สารดดู ความชื้น 2.2 เครื่องทาอากาศแหง้ ชนิดใช้สารดดู ซบั ความช้ืน 2.3 เครื่องอากาศแหง้ ชนิดลดอุณหภูมิใหต้ ่า 3. เครื่องกรองในท่อหลัก (Main Line Air Filter) ทาหน้าท่ีกาจัดฝุ่นละออง น้า และคราบ น้ามนั ทป่ี ะปนมากบั ลมอัด ท่ีอยใู่ นท่อหลกั กอ่ นท่จี ะสง่ อากาศอัดน้ไี ปใชง้ าน

วชิ างานพื้นฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 4. ชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลม (Service Unit) ทาหน้าท่ี ทาให้อากาศสะอาด มี ความดนั ถกู ตอ้ งและคงที่ อากาศอัดมีนา้ มัน เพอ่ื หล่อล่นื อุปกรณใ์ นระบบนวิ แมติกส์ ประกอบดว้ ย 1. อปุ กรณ์กรองอากาศ (Compressed air filter) 2. อปุ กรณค์ วบคมุ ความดนั (Regulator) 3. อปุ กรณผ์ สมนา้ มนั หล่อลนื่ (Lubricator) รูปที่ 2.1 ชดุ ปรับปรงุ คุณภาพลมอัด (ทีม่ า http://xn--12c3bl6a3a1fd7g.com) 2.1.1 อุปกรณ์กรองอากาศ (Compressed Air Filter) มหี น้าท่ี กรองฝ่นุ ละอองและส่งิ สกปรกต่างๆ ลมเขา้ ลมออก หลักการทางาน กระเปาะ ลมไหลเขา้ ทางด้านท่อลมเขา้ ผา่ นมาภายในครอบ แกว้ ตัวระบายน้า แก้วซึง่ เป็นที่จากัด ทาให้ลมไหลวน ละอองนา้ และฝุ่น ทงิ้ ละอองจะถกู เหวย่ี งไปมากระทบกบั ผนงั ครอบแกว้ ส่วน ไสก้ รอง อากาศทีป่ ราศละอองน้าจะไหลผ่านไส้กรองจะได้อากาศ กระบงั ลมตวั ลา่ ง อัดท่สี ะอาดผ่านออกสทู่ ่อทางออกส่วนละอองน้าและฝุ่น ละอองทจี่ บั อยทู่ ่ผี วิ ของครอบแกว้ เมอื่ มีจานวนมากจะ สะสมรวมกันอยูท่ างด้านล่างครอบแก้วและถ้าน้ามีปรมิ าณ มากจะต้องหมุนสลกั สกรถู ่ายนา้ ออกดา้ นล่าง

วชิ างานพื้นฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 สัญลกั ษณ์ รูปท่ี 2.2 อปุ กรณ์กรองอากาศและสญั ลักษณ์ (ที่มา โปรแกรม Fluidsim-P บริษทั FESTO) 2.1.2 อุปกรณ์ควบคมุ ความดนั (Regulator) สปริง วาลว์ หนา้ ที่ ควบคมุ ความดันให้คงทท่ี างดา้ นออก ลมเขา้ ลมออก หลกั การทางาน ไดอะแฟรม สปริง เมอ่ื อากาศอดั เข้า มีความดันสงู จะทาให้ สกรู ปรบั แผ่นไดอะแฟรม ถูกกดเล่ือนลงให้ชนะแรงต้านของ สปริงทาให้วาล์ว เคลื่อนลงมาตามแผ่นไดอะแฟรม ด้วย ทาให้ช่วงบ่าวาล์ว มีพื้นที่แคบลงและทาให้ความ ดันอากาศอัดด้านออก ถูกควบคุมปริมาตรของอากาศ อัด ขณะเดียวกันถ้าความดันอากาศอัดด้านออกยังมี ความดันสูงกว่าที่ต้ังไว้จะถูกระบายออกสู่บรรยากาศ ทันท่ี แต่ถ้าความดันอากาศอัดด้านออกมีความดัน อากาศอัดต่าจะทาใหแ้ ผ่นไดอะแฟรม เล่ือนตัวขึ้นและ กา้ นวาลว์ จะเคล่ือนท่ีข้นึ ตาม มผี ลให้อากาศอัดไหลเขา้ สญั ลักษณ์ รูปท่ี 2.3 อปุ กรณค์ วบคุมความดนั และสญั ลักษณ์ (ที่มา โปรแกรม Fluidsim-P บรษิ ทั FESTO)

วิชางานพื้นฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 2.1.3 อปุ กรณ์ผสมนามันหลอ่ ล่ืน(Lubricator) หยดน้ามัน อากาศออก ทาหนา้ ท่ี ผสมนา้ มันหล่อลนื่ เขา้ อัอากาศอัด อากาศเขา้ หลักการทางาน ก นา้ มัน อากาศอดั จะไหลเข้าทางท่อและถกู ละอองน้ามัน ควบคุมไปสภู่ ายในหลอดแกว้ นา้ มนั ในหลอดแกว้ จะไหลผา่ นท่อพลาสติกขึ้นไปและหยดอยู่ในช่อง กระเปาะ แคบโดยความดนั อากาศอัดภายในหลอดแก้วและ แกว้ ความดันตกครอ่ มทช่ี ่องแคบ น้ามนั ทีห่ ยดลงมาจะ มากหรือน้อยข้ึนอยู่กบั การปรับสกรู หยดน้ามันนี้ ก จะไหลผ่านหวั ฉีดทาใหเ้ ป็นละอองน้ามัน ละออง นา้ มันที่มีขนาดใหญ่จะตกลงในหลอดแก้ว สว่ น ละอองนา้ มนั ที่มีขนาดเลก็ จะผสมกบั อากาศอัดและ ไหลออกจากท่อตรงทางออกใชง้ าน สญั ลกั ษณ์ รปู ท่ี 2.4อปุ กรณ์ผสมน้ามันหลอ่ ลนื่ และสัญลักษณ์ (ทีม่ า โปรแกรม Fluidsim-P บริษัท FESTO)

วชิ างานพ้ืนฐานนิวแมติกส์ 30120-0002 2.2 อุปกรณท์ างาน (Actuator or working component ) อุปกรณ์การทางาน ( Actuator or working component ) อปุ กรณ์การทางานทาหน้าที่ เปลี่ยนพลงั งานของไหลใหเ้ ป็นพลงั งานกล เช่น กระบอกสูบลมชนดิ ต่าง ๆและมอเตอรล์ ม รูปที่ 2.5 การทางานของกระบอกสบู (ทมี่ า โปรแกรม Fluidsim-P บริษทั FESTO) 2.2.1 กระบอกสูบทางานทางเดียว (Single Acting Cylinder) ซลี ลูกสูบ ลูกสูบ ก้านสูบ กระบอกสูบชนดิ น้ีถูกออกแบบมาใหม้ ีช่วงชัก ไม่ เกนิ 100 มลิ ลิเมตร เหมาะกบั งานท่ีไมต่ ้องมี บูชก้านสูบ โหลดมากนกั หรอื งานทีม่ ขี นาดเลก็ รูต่อลม สปรงิ รูระบาย หลกั การทางาน กระบอกสบู ทางานทางเดยี วจะเคลือ่ นออก เมอื่ มีอากาศอดั เข้ามาทางดา้ นลูกสูบ และจะเคล่อื นท่ี กลับด้วยแรงของสปรงิ สญั ลักษณ์ รูปท่ี 2.6 กระบอกสูบทางานทางเดยี วและสัญลักษณ์ (ทม่ี า โปรแกรม Fluidsim-P บริษัท FESTO)

วิชางานพื้นฐานนวิ แมตกิ ส์ 30120-0002 2.3 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง(Directional control valve) มีหน้าทเ่ี ลือกทศิ ทางการไหลของลมใหไ้ ปตามทิศทางทต่ี ้องการ ทงั้ นี้เพ่ือให้อปุ กรณ์ทางาน เช่น กระบอกสูบลม มอเตอรล์ ม สามารถทางานได้ และเคล่ือนท่ีในทิศทางที่ถูกต้อง โดยใช้หลักการเปิด – ปดิ ลม จากรหู น่งึ ไปยังรอู ีกรูหน่ึงจานวนรลู มของวาล์วควบคุมทศิ ทางมีอยู่หลายแบบ เชน่ 2ร,ู 3ร,ู 4ร,ู 5 รู สัญลักษณ์ของวาล์วจะแสดงใหเ้ หน็ หนา้ ท่ีการทางานไม่ไดแ้ สดงถึงโครงสรา้ งภายใน โดยเขยี นแทน ดว้ ยรปู ส่เี หลี่ยมจัตรุ สั ภายในจะมเี สน้ และลูกศรแสดงทศิ ทางการไหลและกาหนดสัญลกั ษณข์ องรทู ีตัว วาลว์ ด้วย การกาหนดสญั ลักษณ์ตาแหนง่ ของวาล์วควบคุมทิศทางการเขยี นสัญลกั ษณจ์ ะใช้รปู สีเ่ หล่ยี ม จัตุรัส 1 รปู แทนตาแหน่งของวาลว์ 1 ตาแหน่งถา้ วาล์วควบคุมน้ีมตี าแหน่งการทางานหลายตาแหน่งก็ จะมีรปู สเ่ี หลีย่ มจัตุรสั หลายรูปตดิ ต่อกัน เชน่ วาลว์ ควบคมุ 2 ตาแหนง่ ก็จะมรี ปู สเ่ี หลี่ยม 2 รูปตดิ กนั บางครงั้ อาจแสดงตาแหน่งของวาลว์ ใหร้ ู้วา่ ตาแหน่งใดเป็นตาแหน่งพักตาแหนง่ ทางานที่ 1 หรือ ตาแหนง่ ทางานที่ 2 ไดโ้ ดยเขียนตัวเลขประกอบเข้าไปดว้ ย โดยกาหนดวา่ 102 เลข 0 หมายถึงตาแหน่งปกติ คอื ตาแหน่งที่ วาล์วยงั ไมถ่ ูกเลื่อน เลข 1 หมายถงึ ตาแหน่งทางานท่ี 1 เลข 2 หมายถึงตาแหน่งทางานที่ 2 2.3.1 การกาหนดสัญลักษณ์รอู ุปกรณ์ เพอ่ื จะได้ทราบถึงรูใดของอุปกรณ์ทาหนา้ ท่ีอะไร โดยปกติจะกาหนดรูกับวาล์วทม่ี ี 2 ตาแหน่งขึ้นไป โดยจะเขยี นกากบั ไว้ทีส่ ญั ลักษณว์ าล์วตรงตาแหน่งปกติเทา่ น้นั ส่วนสญั ลักษณ์วาล์วท่ี ไม่มีตาแหนง่ ปกติจะเขยี นไวท้ ่ีตาแหนง่ ที่ 2 โดยลากเส้นตอ่ ออกนอกกรอบรปู ส่ีเหลยี่ มจตั ุรสั แล้ว กาหนดสญั ลกั ษณ์รูกากบั ไว้ใกลๆ้ เส้นน้ัน เพอื่ ป้องกันความผดิ พลาดในการตอ่ วาลว์ ควบคุมในวงจร ตารางท่ี 2.1 การกาหนดรอู ุปกรณ์ หน้าที่ ตัวอักษรย่อ ตัวอักษร ตัวเลข รตู ่อลมเขา้ วาลว์ Sup P 1 รูตอ่ ลมไปใชง้ าน Out A, B 2, 4 รรู ะบายอากาศทิ้ง Ex R, S 3, 5 รตู ่อลมเพ่ือบงั คบั ใหว้ าลว์ ทางาน Signal In X, Y, Z 12, 14

วิชางานพืน้ ฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 ตารางที่ 2.2 สัญลักษณ์และความหมายของวาล์วควบคมุ ทศิ ทาง สัญลกั ษณ์ ความหมาย วาลว์ ควบคมุ 2 ทิศทาง 2 ตาแหนง่ ปกติปดิ 2/2 D.C.V. Normally close วาลว์ ควบคุม 2 ทศิ ทาง 2 ตาแหนง่ ปกติเปดิ 2/2 D.C.V Normally opened วาล์วควบคุม 3 ทิศทาง 2 ตาแหน่ง ปกติปิด 3/2 D.C.V. Normally close วาลว์ ควบคุม 3 ทิศทาง 2 ตาแหนง่ ปกตเิ ปดิ 3/2 D.C.V Normally opened วาลว์ ควบคุม 4 ทิศทาง 2 ตาแหน่งปกตจิ ะมีลม เข้าท่อหนึ่งและลมระบายทิง้ ท่อหนึง่ 4/2 D.C.V. วาลว์ ควบคมุ 5 ทิศทาง 2 ตาแหน่งท่อลมอัด เขา้ ท่อหน่ึงและระบายทิ้งท่อหน่ึงส่วนรรู ะบาย อีกรูหนึง่ ถกู ปิด 5/2 D.C.V. วาลว์ ควบคุม 4 ทิศทาง 3 ตาแหนง่ ตาแหนง่ กลางเป็นตาแหน่งปิดหมด

วิชางานพืน้ ฐานนวิ แมติกส์ 30120-0002 2.3.2 การบังคบั วาล์วใหเ้ ล่ือนการทางาน (Actuation) 2.3.2.1 การบงั คบั วาลว์ ใหเ้ ล่ือนการทางานโดยใชก้ ล้ามเนื้อ (Manual actuation) ตารางที่ 2.3 การบังคับวาล์วใหเ้ ลอื่ นทางานโดยใช้กล้ามเนือ สญั ลกั ษณ์ ความหมาย ลักษณะโดยท่วั ไป General ป่มุ กด Push button คนั โยก ใชม้ อื ดึง บิด หรือหมุน Lever ใชม้ ือดงึ หรือดนั มีร่องล๊อค Detent ใช้เท้าเหยียบ Pedal 2.3.2.2 การบังคับวาลว์ ให้เลื่อนการทางานโดยใช้กลไก (Mechanical actuation) ตารางที่ 2.4 การบงั คับวาล์วใหเ้ ล่อื นทางานโดยใช้กลไก สัญลกั ษณ์ ความหมาย ใชก้ ลไกภายนอกเป็นตัวกด ทางานได้ สองทิศทาง Plunger สปรงิ เป็นตัวดนั วาล์วให้กลับตาแหน่งปกติ โดยทวั่ ไปสปริงจะอยูภ่ ายในวาลว์ Spring ใช้กลไกภายนอกเป็นตวั กด ซ่ึงทางานไดท้ ง้ั สองทศิ ทาง Roller lever

วิชางานพืน้ ฐานนวิ แมติกส์ 30120-0002 ตารางที่ 2.4 (ตอ่ ) การบงั คับวาล์วใหเ้ ล่ือนทางานโดยใช้กลไก ใชก้ ลไกภายนอกเป็นตวั กด ซ่ึงจะทางานได้ เพียงทิศทางเดยี ว Roller lever with idle return (Roller trip) 2.3.2.3 การบังคับวาล์วใหเ้ ลอ่ื นการทางานโดยใช้ลม (Pneumatic actuation) ตารางท่ี 2.5 การบังคบั วาล์วใหเ้ ลอื่ นทางานโดยใชล้ ม สญั ลักษณ์ ความหมาย ใชล้ มดนั ใหว้ าลว์ เลื่อนโดยตรง Apply pressure ปลอ่ ยลมให้วาลว์ เลอื่ นโดยตรง Release pressure เลื่อนโดยความดันท่ีแตกต่าง Different pressure ใชล้ มไปดันวาล์วทางอ้อม Pressure apply to pilot valve 2.3.2.4 การบังคบั วาล์วใหเ้ ล่ือนการทางานโดยใชไ้ ฟฟ้า (Electrical actuation) ตารางที่ 2.6 การบังคับวาล์วให้เลอื่ นทางานโดยใชไ้ ฟฟ้า สัญลกั ษณ์ ความหมาย ใชแ้ มเ่ หล็กไฟฟ้า มีขดลวด 1 ขด Solenoid ใชแ้ ม่เหล็กไฟฟา้ มีขดลวดหลายขด ทางาน ทศิ ทางเดยี ว Solenoid ใช้แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ มีขดลวดหลายขดทางานใน ทิศตรงข้าม Solenoid

วชิ างานพืน้ ฐานนวิ แมติกส์ 30120-0002 2.3.2.5 การบังคบั วาลว์ ให้เล่ือนการทางานโดยใช้วธิ ีผสม (Combine actuation) ตารางที่ 2.7 การบงั คับวาล์วใหเ้ ลอ่ื นทางานโดยใช้วิธผี สม สัญลักษณ์ ความหมาย ใชแ้ ม่เหลก็ ไฟฟ้าและลมดนั ชว่ ยภายในวาลว์ Solenoid and pilot valve ใช้แม่เหล็กไฟฟา้ หรือลมดันช่วยภายในวาลว์ Solenoid or pilot valve ใชก้ ลไกลูกกลิ้งและลมดนั ช่วยภายในวาลว์ Roller and pilot valve 2.4 โครงสรา้ งและหลกั การทางานของวาล์ว 2.4.1 วาล์วบงั คับทิศทางแบบ3/2 ทางานดว้ ยมือกดและกลบั ด้วยสปรงิ โครงสรา้ ง สญั ลักษณ์ หลกั การทางาน ตาแหน่งปกติ ลมจากรู P A จะถกู ปิดและรู A จะต่อถงึ รู P R ตาแหน่งทางาน เมื่อออก แรงกดลน้ิ ของวาลว์ จะเลื่อน R เปลี่ยนตาแหน่งไปทางขวา มือ ทาใหล้ มเปลี่ยนทศิ ทาง รู P จะตอ่ ถึงรู A และรู R จะถกู ปิด

วชิ างานพนื้ ฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 2.4.2 วาล์วบงั คับทิศทางแบบ3/2 ทางานดว้ ยลมและกลับสปริง โครงสรา้ ง สัญลกั ษณ์ หลักการทางาน ตาแหน่งปกติ ลมจาก A รู P จะถกู ปิดและรู A Z จะต่อถงึ รู R ตาแหน่งทางาน เม่ือ PR มีลมเข้ามาทางรู Z วาล์วจะเลื่อนเปล่ยี น ตาแหน่งไปทางขวามือ ทาใหล้ มเปลย่ี น ทศิ ทางรู P จะต่อถงึ รู A และรู R จะถูกปิด 2.5 การควบคุมการทางานของกระบอกสบู การควบคมุ ในระบบนวิ แมติกส์แบ่งเปน็ 2 ชนดิ คือ 1. การควบคุมทางตรง (Direccontrol) 2. การควบคมุ โดยทางอ้อม (Indireccontrol) 2.5.1 การควบคมุ โดยตรง การควบคุมโดยตรงเป็นการตอ่ ลมจากแหล่งจา่ ยผ่านวาลว์ ควบคมุ ทศิ ทางไปกระบอกสบู โดยตรง เหมาะสาหรับที่ตาแหน่งการควบคุมอยู่ใกลอ้ ุปกรณท์ างาน คือกระบอกสูบ

วิชางานพน้ื ฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 2.5.1.1 วงจรควบคมุ กระบอกสบู ทางเดยี ว โดยทางตรง 1.0 หลกั การทางาน เมือ่ กดวาลว์ 3/2 ลมจากรู P ออกรู A 1.2 A เขา้ กระบอกสูบ ทาใหล้ กู สูบเคล่ือนที่ออก เม่ือ PR ปล่อยมอื วาลว์ 3/2 สปรงิ จะดนั ให้เลอื่ นกลบั ตาแหน่ง ปกติลมใน กระบอกสูบระบายออก ผ่าน รู R ส่บู รรยากาศ ลกู สูบจะเคลื่อนท่กี ลบั ดว้ ย สปรงิ ภายใน 0.1 รปู ที่ 2.7 วงจรควบคุมกระบอกสูบทางานทางเดยี ว โดยการควบคุมทางตรง 2.5.2 การควบคุมทางอ้อม การควบคุมโดยทางอ้อมเปน็ การต่อลมจากแหลง่ จ่ายผ่านวาลว์ ควบคุมทิศทางไป บังคับใหว้ าล์วหลกั ทางาน แล้วลมจากแหล่งจา่ ยไหลผา่ นวาล์วหลักไปกระบอกสบู เหมาะสาหรับงาน ทีจ่ ุดควบคมุ อยูห่ ่างจากอปุ กรณท์ างานคือ กระบอกสูบ 2.5.2.1 วงจรควบคุมกระบอกสบู ทางเดยี ว โดยทางออ้ ม 1.0 หลักการทางาน เม่อื กดวาลว์ 3/2 (1.2) ลมไหลจาก P A Z ออกไป รู A เขา้ รู Z ของวาล์ว3/2 (1.1) เลอ่ื น ดว้ ยลม และกลับดว้ ยสปริง ทาให้วาล์ว 3/2 PR (1.1) เลือ่ น ลมไหลจาก Pไป A เขา้ กระบอก สูบ ทาใหล้ กู สูบเคลื่อนทอ่ี อก เมือ่ ปลอ่ ยมือจาก 1.2 A วาลว์ 3/2 (1.2) จะกลับ ด้วยสปริงวาล์วหลกั 3/2(1.1) เลื่อนกลบั ด้วยสปรงิ ลมจากกระบอก PR สบู ระบายออกโดยผ่าน A ไป R ทาใหล้ กู สูบ เคลอ่ื นท่ีกลับด้วยสปรงิ ภายใน 0.1 รูปที่ 2.8 วงจรควบคมุ กระบอกสบู ทางานทาง เดียวโดยทางออ้ ม

วิชางานพ้ืนฐานนิวแมติกส์ 30120-0002 2.6 โครงสร้างของระบบนิวแมตกิ ส์ แบ่งออกเปน็ 5 ส่วนใหญ่ 1. ชุดกาเนิดพลงั งาน (Energy Supply) ซงึ่ เป็นชุดท่ที าให้เกดิ พลงั งานลมขึน้ และเก็บ พลงั งานไวใ้ นลักษณะของแรงดันอากาศ เพื่อทจ่ี ะนาไปใชง้ าน ประกอบไปดว้ ย 1.1 เครือ่ งปมั๊ อากาศ จะมหี นา้ ท่ีปั๊มเอาอากาศจากบรรยากาศเข้าไปเกบ็ ในถังเก็บอากาศ 1.2 ถังเกบ็ ลม เป็นสว่ นทเ่ี ก็บพลังงานทีอ่ ยู่ในรูปของลมซึ๋งมคี วามดนั เพราะโดนอัด 1.3 ตัวปรับความดันลม มีหน้าท่ีรักษาความดันดา้ นการใชง้ านให้คงที่ 1.4 ชดุ ปรับปรุงคุณภาพลม ในระบบก่อนทจี่ ะนาอากาศอัดทีม่ แี รงดันไปใช้งานน้ัน จาเปน็ ต้องมีอุปกรณ์ช่วยทาความสะอาด กาจดั น้าออกจากลมอัด รกั ษาระดบั แรงดัน 2. ชดุ ปอ้ นสญั ญาณ เปน็ ชดุ ทีใ่ หส้ ัญญาณเพื่อทจ่ี ะส่ังเข้าไปในระบบ 3. ขบวนการปฏิบตั งิ าน เมื่อรับสญั ญาณเข้าไปแล้วสว่ นนจ้ี ะทาการประมวลสญั ญาณที่ไดร้ บั เพอ่ื ทจ่ี ะส่งั งานตอ่ ไป 4. ชุดควบคมุ การทางาน ชดุ นจ้ี ะรับคาส่งั จากชุดป้อนสญั ญาณ และชุดขบวนการ ซง่ึ จะเปน็ การควบคมุ คร้ังสดุ ทา้ ย สว่ นมากจะเป็น วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 5. ชดุ ปฏบิ ตั ิงาน ชดุ ปฏบิ ัติงานจะเรมิ่ ทางานไดเ้ ม่ือมีลมมาจากชดุ ควบคุมความดันการ ทางานครงั้ สดุ ท้าย โดยอปุ กรณ์ในส่วนนี้จะเปน็ จาพวก กระบอกสูบแบบตา่ งๆ สว่ นทีท่ างาน (Out Put) การควบคมุ ตวั สุดท้าย (Final Control )๗)(Out Put) ข้ันตอนขบวนการ (Processing) สญั ญาณสง่ั งาน (Input Signal) แหลง่ กาเนิดพลงั งาน (Energy Supply) รูปท่ี 2.9 รูปแสดงตาแหน่งอุปกรณ์นิวแมติกส์ (ทมี่ า โปรแกรม Fluidsim-P บรษิ ัท FESTO)

2.6.1 ลาดบั การติดตั้งอปุ กรณ์ระบบนิวแมติกส์ วิชางานพนื้ ฐานนิวแมตกิ ส์ 30120-0002 สว่ นที่ทางาน (Out Put) การควบคมุ ตัวสดุ ท้าย (Final Control) )(Out Put) ขั้นตอนขบวนการ (Processing) สัญญาณส่ังงาน (Input Signal) แหล่งกาเนดิ พลังงาน (Energy Supply) รูปท่ี2.10 รูปแสดงลาดบั การติดตัง้ อุปกรณ์ระบบนิวแมติกส์ (ที่มา โปรแกรม Fluidsim-P บรษิ ทั FESTO)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook