Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เที่ยววัด

เที่ยววัด

Published by atjimana, 2021-09-28 16:40:34

Description: เที่ยววัด

Search

Read the Text Version

1.วดั ใหญช่ ยั มงคล 2.วัดพนญั เชิง 3.วดั ท่าการอ้ ง

วัดใหญ่ชัยมงคลถือได้ว่าเป็นโบราณสถานท่ีควรค่าแก่การ รักษา และบูรณะ เนื่องในปัจจุบันนักท่องเท่ียวได้แวะเวียน กันมากราบไหว้จากท่ัวทุกสารทิศเป็นจานวนมาก และมี ในช่วงเทศกาลต่างๆอยา่ งไมข่ าดสาย ทาให้วดั เป็นที่รู้จกั มาก ย่ิงข้ึน จากท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ นั่นก็ถือเป็นการ แสดงว่า วัดยังไม่ถูกลงลืมไปจากจิตใจคนไทยและคน ต่างชาติ เพราะเน่ืองในปัจจุบันนี้บทบาทของวัดและ พระสงฆ์เริ่มสูญเสียไป ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ของสังคม วัฒนธรรมตะวันตกท่ีไหลบ่าเข้ามาสู่สังคมไทย ทาให้เด็ก เยาวชน และประชาชน หนั ไปยึดติดในวัตถุนิยม มากเกนิ ไป

ผลให้คนห่างไกลจากวัดโดยไม่รู้ตัว วัดจึงได้ลดบทบาทจากใน อดตี ลงไปมาก เริ่มจากสังคมเมอื งไปสูส่ งั คมชนบท อย่างไรก็ตามทาให้วัดยังคงมีบทบาทมากบ้างน้อยบ้าง ทั้งน้ีข้ึนก็อยู่กับการเปล่ียนแปลงของสังคมแต่ละสังคม โดยเฉพาะในชนบทหรือท้องถิ่นท่ีห่างไกลมาก ๆ วัดยังคงมี บทบาทหลายอย่างเหมือนเดิมและเป็นความจริงท่ีว่าคนไทย เกือบทุกคนจะต้องกลับเข้าสู่วัด อีกครั้งหนึ่ง ในวาระสุดท้าย ของชีวิต กล่าวคอื เมือ่ ทุกคนถึงแก่กรรมลง โดยทั่วไปต้องไป ทาพิธี ฌาเปป็นนกิจศพ ท่ีวัด จึงสรุปได้ว่า ห้วงชีวิตของ พุทธศาสนิกชนต้องเกยี่ วขอ้ งกบั พทุ ธศาสนาตลอดเวลาตัง้ แต่ สมัย อดีต ปัจจุบัน และอนาคตจนกว่าพุทธศาสนาจะสูญสิ้น ไปจากแผ่นดินไทยอันเป็นที่อยู่ของสังคมไทย วัดกับคนไทย จริงเป็นส่ิงที่คู่กัน ดังน้ันการให้ความสาคัญกับโบราณสถานใน แต่ละจงั หวัด จงึ เปน็ สง่ิ ทคี่ นไทยควรพึงปฎิบัติ

ท่มี าของวดั พนัญเชิง วัดพนัญเชิง เปน็ วัดท่ีมีประวัติอนั ยาวนาน ก่อสร้างก่อนการสถาปนา กรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตาม หนังสือพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้าสายน้าผ้ึงเป็นผู้สร้าง และ พระราชทานนามว่า วัดเจ้าพระนางเชิง[ต้องการอา้ งอิง] และพระราช พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิกล่าวไว้ว่า ได้ สถาปนาพระพุทธรูปพุทธเจ้าพแนงเชิง เมื่อปี พ.ศ. 1867 ซึ่งก่อน พระเจา้ อ่ทู องจะสถาปนากรุงศรอี ยุธยาถงึ 26 ปี [2] พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซาปอกง เป็นพระพุทธรูป ขนาดใหญ่ และใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา หน้าตักกว้าง 20 เมตรเศษ สูง 19 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย เคย ได้รับความเสียหายในสมัยเสียกรุง แต่ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมมา โดยตลอด

พุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซาปอกง เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ และใหญ่ท่ีสุดในพระนครพระศรีอยุธยา หน้าตักกว้าง 20 เมตรเศษ สูง 19 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย เคยได้รับความเสียหายใน สมัยเสียกรุง แต่ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมมาโดยตลอด จนกระทั่งใน สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2394 ได้โปรดเกล้าให้บูรณะใหม่หมดทั้งองค์ และพระราชทาน นามใหม่ว่า พระพุทธไตรรัตนนายก หรือที่รู้จักกันในหมู่พุทธศาสนิกชน ชาวไทยเช้อื สายจีนว่า หลวงพ่อซาปอกง[ต้องการอา้ งอิง] คาว่า พแนง เชิง มีความหมายว่า น่ังขัดสมาธิ ฉะนั้น คาว่า วัดพนัญเชิง (วัด พระแนงเชิง หรือ วดั พระเจา้ พแนงเชิง)

ทม่ี าของวดั ทา่ การอ้ ง วัดท่าการ้อง ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยา เป็นวัดโบราณมีมาแต่สมัยอยุธยา ตอนกลาง โดยการรวมวดั 2 วดั เข้าดว้ ยกัน คอื วัดท่าและวดั การอ้ ง สรา้ งข้ึนก่อน ราว พ.ศ. 2092 น ประวัติศาสตร์กล่าวว่าสร้างในสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช สมัยอยุธยาตอนต้น อีกทั้งก่อนอยุธยาจะเสียกรุงบริเวณแห่งนี้เคยเป็นที่ต้ังค่าย ของแม่ทัพใหญ่ แห่งพม่า คือ เนเมียวสีหบดี ปัจจุบันยังคงเหลือสถาปัตยกรรม สมัยกรุงศรีอยุธยาหลายแห่งได้แก่ ศาลาการเปรยี ญไม้สักริมแมน่ ้าเจา้ พระยา / พระ อุโบสถประดิษฐานพระพุทธรัตนมงคลหรือหลวงพ่อย้ิม ต่อมาในยุคปัจจุบันเมื่อ สงครามโลกคร้ังที่ 2 วัดท่าการ้องได้ถูกดัดแปลงเป็นโรงเรียนนายร้อยฝ่ายช่าง เทคนคิ โดยได้ใช้ศาลาการเปรยี ญเป็นหอ้ งเรยี น วดั น้ีทาเลชัยภมู ดิ ีมากๆ

วัดทา่ การอ้ ง มีจุดเดน่ ในวดั เยอะมากมายหลายจุด อย่างเช่น พระอุโบสถ ก่ออิฐถือปูนสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ หน้าบัน เป็นไม้จาหลักอย่างสวยงาม ซุ้มประตูและหน้าต่างประดับลาย ปูนปั้น ด้านหน้าอุโบสถประดับด้วยกระจกสีภายในพระ อุโบสถมีหลวงพ่อยิ้ม หรือ พระพุทธรัตนมงคล เป็นพระ ประธาน ภายนอกมกี าแพงแก้วลอ้ มรอบพระอโุ บสถ

ศาลาการเปรียญเก่า เป็นเรือนไทยสมัย อยุธยาที่ยังหลงเหลือ ต้งั อยู่ดา้ นหลงั พระอโุ บสถโดยสร้างดว้ ยไมส้ กั ดูขลังมากๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook