Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book วัดในอยุธยา

e-book วัดในอยุธยา

Published by atjimana, 2021-09-26 05:54:25

Description: e-book วัดในอยุธยา

Search

Read the Text Version

วดั ในจังหวดั อยธุ ยา วดั ใหญ่ชัยมงคล วัดหนั ตรา วดั มงคลบพติ ร วัดพทุ ธไทสวรรค์ วดั ไชยวฒั นาราม วัดพระญาติการาม วดั อโยธยา วดั พนัญเชงิ

วัดใหญช่ ยั มงคล ประวตั ิ วัดใหญ่ชยั มงคล เป็นวัดท่ีเกา่ แก่วัดหน่ึง สร้างข้ึนในสมัยอยุธยา ตอนต้นคือในรชั สมยั ของ สมเดจ็ พระรามาธิปดที ี่ 1 หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจา้ อทู่ องพระมหากษตั ริย์ ผสู้ ถาปนากรงุ ศรีอยุธยา ตามตานานกล่าวว่า เมื่อ พ.ศ.1900 สมเด็จ พระเจ้าอู่ทองได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขุดศพเจ้าแก้ว ซึ่ง ทิวงคตด้วยอหิวาตกโรคขึ้นมาเผา ท่ีปลงศพน้ันโปรดให้สถาปนาเป็น พระอาราม นามวา่ วดั ป่าแกว้ ต่อมาคณะสงฆ์สานักวัดป่าแก้วบวชเรียนมา จากสานักรัตนมหาเถระ ในประเทศศรีลังกาคณะสงฆ์น้ีได้เป็นที่เคารพเลื่อมใสแก่ชาวกรุงศรี อยุธยาเป็นอันมาก ทาให้ผู้คนต่างมาบวชเรียนในสานักสงฆ์คณะป่า แก้วมากข้ึน สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จึงทรงต้ังอธิบดีสงฆ์นิกายน้ีเป็น สมเด็จพระวันรัตน มีตาแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับสมเด็จ พระพทุ ธโฆษาจารย์ซ่ึงมีตาแหนง่ เปน็ สังฆราชฝา่ ยคนั ถธุระ

วัดหันตรา ประวตั ิ วัดหันตรา เป็นวัดสมัยอยุธยาตั้งอยู่ท่ีบ้านหันตราหมู่ 2 ตาบล หันตรา อาเภอพระนครศรีอยุธยา เดิมช่ือแขวงรอบกรุง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซ่ึงปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาหลายฉบับเช่น ในฉบับพระราชหัตถเลขากล่าว วา่ “จุลศกั ราช 1100 ปมี ะเมยี สัมฤทธิศก ณ เดือน 6 สมเด็จพระเจ้าแผ่นดินเสด็จพระราชดาเนินโดย กระบวนนาวาพยุหไปฉลองวัดหารตรา ให้มีงานมหรสพสมโภชพระ อารามสามวันทรงถวายไทยทานแก่ พระภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก ในวันเป็น ทสี่ ดุ นั้นใหเ้ อาชา้ งออกบารูกัน บังเกิดพายุใหญ่ฝนตกหนัก เสร็จการแล้ว เสด็จกลบั เขา้ พระนคร...” สิ่งก่อสร้างในวัดเช่น โบสถ์แบบมหาอุด ซ่ึงไม่ มีประตูด้านหลังและไม่เจาะช่องหน้าต่าง เช่ือกันว่าใช้เป็นท่ีประกอบพิธี ปลูกเสกเครื่องรางของขลังที่ศักด์ิสิทธ์ิย่ิง โดยเฉพาะทุ่งหันตราเป็นสถาน ที่ต้ังทัพรับศึกเป็นที่ประชุมทัพสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เจ้าสาม พระยา

วดั มงคลบพติ ร ประวตั ิ วัดมงคลบพิตร ต้ังอยู่ทางด้านใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ พระมงคลบพิตร เป็นพระพุทธรูปบุสัมฤทธิ์องค์ใหญ่องค์หน่ึงใน ประเทศไทย เดิมอยู่ทาง ทิศตะวันออกนอกพระราชวัง สมเด็จพระเจ้า ทรงธรรมโปรดฯ ให้ยา้ ยมา ไวท้ างด้านตะวนั ตก ทีซ่ ่ึง ประดิษฐานอยู่ใน ปัจจุบันและโปรดฯ ให้ก่อมณฑปสวมไว้ เป็นวัดโบราณสาคัญแห่งหน่ึง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยที่ตั้งของ วัดมงคลบพิตรและ พระราชวงั โบราณต้งั อย่ตู ิดกัน นกั ท่องเที่ยวจึงนยิ มเขา้ มานมัสการหลวง พ่อมงคลบพิตรก่อน จะเข้าชม พระราชวังโบราณ และบริเวณทางด้าน หน้าวิหารวัดพระมงคลบพิตร มีร้านค้าตั้งเรียงรายมากมายหลายร้าน จาหน่าย ผลิตภัณฑ์ พื้นเมืองแทบทุกชนิดเช่น ปลาตะเพียน เครื่องจัก สานเครื่องหวาย มีดอรัญญิก ผลไม้กวน และขนมชนิดต่างๆ เหมาะ สาหรบั ผู้สนใจ ซื้อสนิ ค้าพ้นื เมืองและของทีร่ ะลึกต่างๆ

วัดพุทไธศวรรค์ ประวัติ วัดพทุ ไธศวรรย์ เป็นพระอารามหลวงตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝ่ัง ตะวันตก ในตาบลสาเภาล่ม อาเภอพระนครศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรี อยุธยา วัดพุทไธศวรรย์เป็นพระอารามหลวงท่ีใหญ่โตและมีช่ือเสียงวัด หนึ่ง ปรากฏตามตานานว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสร้างข้ึนในบริเวณที่ซ่ึงเป็นท่ีตั้งพลับพลาท่ีประทับเม่ือทรงอพยพมา ตง้ั อยกู่ ่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี ที่ตรงนี้มีชื่อปรากฏในพระ ราชพงศาวดารว่า \"ตาบลเวียงเล็ก หรือ เวียงเหล็ก\" ครั้นเม่ือสถาปนา กรุงศรีอยุธยาแล้ว ถึง พ.ศ. 1896 จึงโปรดให้สร้างวัดนี้ข้ึนเป็นพระราช อนุสรณ์ ณ ตาบลซ่ึงพระองค์เสด็จมาต้ังมั่นอยู่แต่เดิม และ พระมหากษัตริย์องค์ต่อ ๆ มาก็คงจะได้โปรดให้สร้างถาวรวัตถุ เพิ่มเติมข้ึนอีกหลายอย่าง เม่ือเสียกรุงฯ ในปี พ .ศ. 2310 วัดพุทไธศวรรยเ์ ป็นอีกวดั หนง่ึ ท่มี ิได้ถกู ขา้ ศึกทาลายเหมือนวัดอ่ืน ๆ ทุก วันนจี้ งึ ยงั มโี บราณสถานไว้ชมอกี มากมาย

วัดไชยวฒั นาราม ประวตั ิ ป ร า ง ค์ป ร ะ ธ า น ตั้ ง อยู่ บ ริ เว ณ ตร งก ลา ง ขอ งพื้ น ที่ ฐานประทักษิณ ซึ่งฐานประทักษิณ ได้ยกสูงข้ึนมา จากพื้น 1.5 เมตร มีลักษณะเป็นปรางค์ จัตุรมุข(มีมุขย่ืนออกมาท้ัง4ด้าน)ใน ส่วน ของมุขด้านตะวันออก จะเจาะมุขทะลุเข้าสู่เรือนธาตุ ซ่ึง ภายในจะประดิษฐานพระพุทธรูปน่ัง (ปัจจุบันไม่พบแล้ว) ยอดของ องค์ปรางค์ ทาเป็นรัดประคดซ้อนกัน 7 ช้ัน แต่ละช้ัน เป็นลวดลาย ใบขนุน กลีบขนุน ส่วนบนสุดเป็นทรงดอกบัวตูม ปรางค์แบบนี้ มีลักษณะเหมือน ปรางค์ในสมัย อยุธยาตอนต้น ซึ่ง วัดไชยวัฒนา รามน้ัน สร้างในสมัยอยุธยาตอนกลาง จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นการ นาเอาพระปรางค์ท่ีนิยมสร้างในสมัยอยุธยาตอนต้นมาก่อสร้างอีก ครงั้ หนงึ่

วัดพระญาติการาม ประวตั ิ วัดพระญาติการาม เป็นวัดท่ีสร้างข้ึนตั้งแต่ครั้งที่กรุงศรี อยุธยาเป็นราชธานี ต้ังอยู่เลขที่ 15 ตาบลไผ่ลิง อาเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า วัด พบญาติ โดยมีตานานเล่าว่า มีหมู่บ้านหนึ่งท่ีหญิงสาวจะมี ผิวพรรณหน้าตาดี เม่ือความทราบถึงพระเจ้าแผ่นดิน พระองค์ จึงเสด็จมาหมู่บ้านแห่งน้ี และได้ขอรับบุตรสาวของชาวบ้านไป อุปถัมภ์ เมื่อหญิงสาวผู้น้ันจะเข้าไปยังพระราชวัง พวกญาติ ของหญิงสาวได้ไปรอพบเพ่ือล่าลา จนเมื่อหญิงสาวผู้น้ันได้เป็น มเหสีแล้ว จึงเสด็จฯ มาเยี่ยมญาติในหมู่บ้านเดิม และโปรดฯ ให้สรา้ งวัดขึ้นบริเวณที่ญาติ ๆ มารอพบ และตั้งชื่อว่า \"วัดพบ ญาต\"ิ และเปลย่ี นเป็น \"วดั พระญาตกิ าราม\" ในเวลาต่อมา

วัดอโยธยา ประวัติ การเกดิ ข้ึนของเมืองอโยธยา โดยทั่วไปมักจะเช่ือกันว่า เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 1893 (ปลายพุทธศตวรรษท่ี 19) โดยพระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 ทรงอพยพผู้คนมาหนีโรคระบาดจากเมืองอู่ทอง (ใน จงั หวดั สุพรรณบุรี) มาต้งั เมอื งใหมอ่ ยู่บริเวณริมหนองโสน อย่างไรก็ตาม การศึกษาทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีในปัจจุบันพบว่าเมืองอู่ทองมี สภาพท่ีถกู ทง้ิ ร้างไปกอ่ นหน้าน้แี ลว้ ดงั น้นั พระเจ้าอู่ทองจึงไม่ได้อพยพมา จากเมืองอู่ทองในเขตเมอื งสพุ รรณบรุ ี ขณะเดียวกัน อ.มานิต วัลลิโภดม และอ.ศรีศักร วัลลิโภดม ได้เสนอเรื่อง การดารงอยู่ของเมืองอโยธยา ในชว่ งพุทธศตวรรษท่ี 18 จากการศึกษาหลากหลายแขนงวิชาและนามา บูรณาการ อาทิ ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ เอกสารตานาน จารึกและ พงศาวดาร รวมท้ังการเดนิ เท้าสารวจในพื้นท่ีทางทิศตะวันออกของเกาะ เมืองอยุธยา โดยเน้นท่ีเร่ืองของภูมิวัฒนธรรม (cultural landscape) เป็น สง่ิ สาคญั

วัดพนัญเชิง ประวตั ิ วัดพนัญเชิง เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้างก่อนการ สถาปนากรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามหนังสือพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้าสายน้าผ้ึงเป็นผู้สร้าง และ พระราชทานนามว่า วัดเจ้าพระนางเชิง[และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิกล่าวไว้ว่า ได้สถาปนาพระพุทธรูปพุทธเจ้า พแนงเชิง เม่ือปี พ.ศ. 1867 ซ่ึงก่อนพระเจ้าอู่ทองจะสถาปนากรุงศรี อยุธยาถึง 26 ปี พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซาปอกง เป็น พระพุทธรูปขนาดใหญ่ และใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา หน้าตักกว้าง 20 เมตรเศษ สูง 19 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย เคยได้รับ ความเสียหายในสมัยเสียกรุง แต่ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมมาโดยตลอด จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุง รัตนโกสินทร์ เม่ือ พ.ศ. 2394 ได้โปรดเกล้าให้บูรณะใหม่หมดทั้งองค์ และพระราชทานนามใหม่วา่ พระพทุ ธไตรรตั นนายก

จดั ทาโดย/เสนอ ด.ช.วนั เฉลมิ สายทศั น์ ม.2/1 เลขที่ 4 ด.ช.ภมู พิ ฒั น์ เปารกิ ม.2/1 เลขที่ 11 เสนอ ครู อจั จิมา บารุงนา ขอ้ มลู จาก www.google.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook