Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 04__การวิเคราะห์โดยการวัดปริมาตร

04__การวิเคราะห์โดยการวัดปริมาตร

Published by sutthirak_u, 2019-02-22 20:35:53

Description: 04__การวิเคราะห์โดยการวัดปริมาตร

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะหโ์ ดยการวดั ปรมิ าตร (Volumetric Analysis) อ.ดร.สทุ ธริ กั ษ์ อว้ นศริ ิ สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

--- > เปน็ วิธที ีง่ า่ ย ใชใ้ นการวเิ คราะห์หาปรมิ าณสารต่างๆ ได้รวดเร็ว และใหค้ วามถกู ต้องสงู --- > เรียกอีกอยา่ งว่า การวเิ คราะหด์ ว้ ยเทคนคิ ไทเทรชนั (tirimetric analysis) หรอื การไทเทรทอปุ กรณ์ท่ีใช้บวิ เรต และขวดรูปชมพู่ การจบั อปุ กรณใ์ นการไทเทรท 2

หลักการไทเทรท (titration) 3

--- > จุดสมมูล เป็นจดุ ที่สารเขา้ ทาปฏกิ ริ ิยากนั สมดุลพอดี ระหวา่ ง สารละลายมาตรฐานกับสารตัวอย่างตามทฤษฎี --- > จดุ ยตุ ิ เปน็ จุดที่สารละลายมาตรฐานทาปฏกิ ิริยากบั สารตัวอย่าง แล้วทาให้มกี ารเปล่ยี นแปลงคุณสมบตั ทิ สี่ ามารถมองเห็นหรือวัดได้ จุดยตุ แิ ละจดุ สมมลู ควรเปน็ จดุ เดยี วกนั หรอื ใกลเ้ คยี งกนั ดงั น้นั ควรเลอื กอนิ ดเิ คเตอร์ใหเ้ หมาะสม 4



6

สารละลายมาตรฐาน (standard solution) โดยแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. สารละลายมาตรฐานปฐมภมู ิ (primary standard solution) เปน็ สารละลายมาตรฐานท่ีเตรียมจากสารละลายบรสิ ทุ ธท์ิ ่ีอยใู่ นสถานะ ของแขง็ หรอื ของเหลว มเี สถียรภาพสูง น้าหนักโมเลกลุ มาก และทราบ สตู รแนน่ อน สารละลายที่ไดจ้ งึ มีความเข้มขน้ ทีแ่ นน่ อน และสามารถ คานวณหาความเข้มข้นโดยตรงจากนา้ หนกั และปรมิ าตรที่เตรยี มได้ เชน่ โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลต (C8H5O4K, KHP) กรดไฮโดร คลอริก (HCl)

2. สารละลายมาตรฐานทตุ ยิ ภมู ิ (secondary standard solution) เปน็ สารละลายทเี่ ตรียมจากสารทไ่ี มเ่ สถยี รหรือเปล่ียนแปลง ได้งา่ ยในบรรยากาศ เชน่ โซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH) สามารถดดู ความชื้นได้ง่าย ดงั น้นั จึงไม่สามารถหาความเขม้ ข้นทแี่ น่นอนไดโ้ ดยตรง จากน้าหนักและปริมาตรทเ่ี ตรยี มได้ แตส่ ามารถหาความเข้มข้นท่ี แน่นอนไดโ้ ดยการนาไปไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ





ประเภทของการไทเทรต 1. การไทเทรตโดยตรง (direct titration) --- > สารมาตรฐานและ analyte เขา้ ทาปฏกิ ิรยิ ากนั ได้โดยตรง 2. การไทเทรตโดยออ้ ม (indirect titration) --- > สารมาตรฐานและ analyte ไมท่ าปฏกิ ริ ิยากนั โดยตรง 3. การไทเทรตยอ้ นกลบั (back titration) --- > สารมาตรฐานและ analyte ไม่ทาปฏกิ ริ ยิ ากนั โดยตรง แตส่ ามารถทาปฏกิ ริ ิยากับสารท่เี หลือจากทาปฏกิ ิริยากับ analyte

แบง่ ตามปฏกิ ิรยิ าทีเ่ กิดข้นึ 1. การไทเทรตแบบเปน็ กลาง (neutralization titration) 2. การไทเทรตแบบเกดิ สารประกอบเชงิ ซ้อน (complexation titration) 3. การไทเทรตแบบตกตะกอน (precipitation titration) 4. การไทเทรตแบบรดี อกซ์ (redox titration)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook