51 ยุทธวิธีท่ี 3 เหมาะสาหรับบทเรียนที่มีลักษณะของเนื้อหาภาคทฤษฎีและปฏิบัติที่ไม่สามารถ แยกจากกันได้เด็ดขาด ง. ผลทีผ่ ู้เรยี นจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ ได้ทดลองใช้รูปแบบน้ีกับอาจารย์ และนักศึกษาของสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล 5 วิทยาเขต เป็นเวลา 1 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2534 ผลการทดลองพบว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านทฤษฎีถึงข้ันความเข้าใจ คือได้คะแนนไม่ต่ากว่า 60 %และประสบ ผลสาเร็จในการพัฒนาทักษะในระดับที่สามารถปฏิบัติงานให้มีคุณภาพได้ถึงเกณฑ์ท่ีต้องการ รวมทั้ง ไดแ้ สดงลกั ษณะนสิ ยั ทีด่ ใี นการทางานดว้ ย รปู แบบการเรยี นการสอนทเ่ี ป็นสากล ทรี่ องศาสตราจารย์ ดร. ทศิ นา แขมมณี ไดน้ าเสนอมา ท้ังหมดนไี้ ด้รับการพสิ ูจน์ ทดสอบประสทิ ธภิ าพ และได้รับความนิยมโดยทั่วไป ส่วนรูปแบบที่พัฒนา โดยนักการศึกษาไทยน้ัน ผู้ท่ีคิดค้นรูปแบบได้ติดตามศึกษาความก้าวหน้าทางด้านวิชาการและนามา เผยแพร่ในวงการศึกษาไทยหรืออาจคิดค้นหรือพัฒนาจากความรู้และประสบการณ์ในการจัด การศึกษาและการเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอนท่ีได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและได้รับการ ทดลองใช้เพ่อื พสิ จู นแ์ ละทดสอบประสิทธิภาพแล้ว ถือว่าเป็นรูปแบบการเรียนการสอนหรือเป็นแบบ แผนของการจัดการเรียนการสอนที่ผู้อ่ืนสามารถนามาใช้แล้วจะเกิดผลตามวัตถุประสงค์ของรูปแบบ น้ันได้ รูปแบบการเรียนการสอนส่วนใหญ่ล้วนเป็นแบบท่ีแปลกใหม่และน่าสนใจท้ังสิ้น สมควรท่ี ครผู สู้ อนจะให้ความสนใจ ศึกษาให้เข้าใจแล้วนาไปทดลองใช้เพ่ือปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพการ จัดการเรยี นการสอนของตน ในการเลือกใช้รูปแบบการเรียนการสอนแต่ละรูปแบบนั้นท่านจะต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ ว่าต้องการพัฒนาผู้เรียนในด้านใดเป็นหลัก หรือต้องการเน้นด้านใด ส่วนการจัดการเรียนการสอน ตามกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบแต่ละขั้นตอนน้ัน ท่านสามารถเลือกวิธีสอน และเทคนิค การสอนมาใชใ้ ห้เหมาะสมโดยคานงึ เนือ้ หาสาระ เวลา และผู้เรียน สาหรับผู้เรียนน้ันท่านต้องคานึงถึง หลายๆด้าน เช่นการพัฒนาสมองซีกขวาและซ้าย ทฤษฎีพหุปัญญา วิธีเรียนของผู้เรียนแต่ละคน ความถนัดและความสนใจเป็นต้น ข้อสาคัญท่านต้องใช้วิธีการสอนและเทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย ซ่งึ ท่านสามารถศึกษาไดจ้ ากเอกสารของฝา่ ยวชิ าการ และตาราเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนซ่ึงมี อยูม่ ากมาย ผู้สอนท่านใดศึกษามากก็ย่อมสามารถเลือกใช้ได้อย่างหลากหลายทาให้การจัดการเรียน การสอนมีประสิทธิภาพ
52 บทท่ี3 บทสรปุ รูปแบบการสอน รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching Learning Model) หรือระบบการ สอน คือ โครงสร้างองค์ประกอบการดาเนินการสอน ท่ีได้รับการจัดเป็นระบบสัมพันธ์สอดคล้องกับ ทฤษฏี หลักการเรียนรู้ หรือการสอนท่ีรูปแบบน้ันยึดถือและได้รับการพิสูจน์ ทดสอบว่ามี ประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ โดยทั่วไปแบบแผนการดาเนินการสอนดังกล่าวมักประกอบด้วย ทฤษฏีหลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะอันจะนาผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะรูปแบบนั้นกาหนด ซึ่ง ผ้สู อนสามารถนาไปใชเ้ ป็นแบบแผนหรือ แบบอยา่ งในการจดั และดาเนินการสอนอ่ืน ๆ ทีม่ จี ดุ มุ่งหมายเฉพาะเช่นเดียวกันได้ รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ใช้กันแพร่หลายมีจานวนมาก แต่ละรูปแบบมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ผู้เรียนตามจุด เน้นด้วย ข้ันตอน วิธีการ องค์ประกอบท่ีแตกต่างกันไป บางรูปแบบใช้ได้ในวงกว้าง บางรูปแบบจะใช้เจาะจงในวงแคบเฉพาะส่วน ผู้ใช้ควรศึกษาพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสตู รการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน ซง่ึ มีรูปแบบการสอน ดังต่อไปน้ี 1. รูปแบบการเรยี นการสอนท่ีเนน้ การพัฒนาด้านพุทธพสิ ยั 2. รปู แบบการเรยี นการสอนทีเ่ น้นการพฒั นาด้านทกั ษะพิสยั 3. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาดา้ นกระบวนการคดิ 4. รูปแบบการเรยี นการสอนทเี่ น้นการบรู ณาการ การจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ได้แกก่ ารคานึงถึงการเรียนรู้ของผู้เรียนสาคัญท่ีสุดทาอย่างไรจะทาให้เรียนทุกคนเกิดการเรียนรู้สูงสุด ตามศักยภาพของแต่ละคน จงึ ต้องมกี ารศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น เน้ือหา เวลา สอ่ื และปัจจัยอ่ืน ๆ เพ่ือ นามาใช้วางแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม เอ้ือต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากท่ีสุด จุดหมายของ หลักสูตรต้องการพัฒนานักเรียนอย่างสมดุลท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ผ่านโครงสร้างกลุ่ม สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ซึ่งสอดคล้องกับปัญญา 8 ด้านของมนุษย์ในแต่ละกลุ่มสาระ นักเรียน ควรจะได้รับการพัฒนา ความรู้ ทักษะ จิตพิสัย ท้ังสามด้าน จุดเน้นมากน้อยตามธรรมชาติ วิชาและ วัยของเด็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ต้องการให้นักเรียนเข้าใจพัฒนาการของ มนุษย์ มีทักษะในการเคลื่อนไหว ออกกาลังกาย และเห็นคุณค่าต่อการป้องกันโรค และส่งเสริม สุขภาพ จะเห็นวา่ นกั เรียนต้องได้เรียนรูท้ ้ังเน้อื หา ทกั ษะ และจติ พสิ ยั
53 บรรณานุกรม ชาญชยั อินทรประวัติ. 2534. รปู แบบการสอน.พิมพค์ ร้ังท่ี3 สงขลา : มหาวทิ ยาลยั ศรนี รนิ ทรว์ โิ รฒ สงขลา. ทิศนา แขมมณี. 2551. รปู แบบการเรียนการสอน : ทางเลอื กท่ีหากหลาย. พิมพ์คร้งั ท่ี5. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ทศิ นา แขมมณ.ี (2553).ศาสตร์การสอนองคือความร้เู พื่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธภิ าพ. กรงุ เทพฯ.สานกั พทิ พแฺ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2553 รัตนา สงิ หกูล. (2547). รูปแบบการสอน. [Online]. Available : http://sps.lpru.ac.th/script/show_article.pl?mag_id=11&group_id=50&article_id =910 [1 กุมภาพนั ธ์ 2558] รูปแบบการเรยี นการสอน. [Online]. Available : facebook.com/lsr.php?u=http%3A%2F%2Fstudent.nu.ac.th [6 กมุ ภาพนั ธ์ 2558] สุวทิ ย์ มูลคาและอรทัย มลู คา. (2545). 21 วิธีจัดการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
Search