Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัฐโบราณในดินแดนไทย

รัฐโบราณในดินแดนไทย

Published by saan0459, 2020-09-23 02:48:48

Description: อ.ตูแวยูรีนา อามะ

Search

Read the Text Version

วัดเจด็ ยอด ทีส่ ร้างเลียนแบบพุทธคยา ภาพ วดั เจด็ ยอด เว็บ www.pojcheewinphotopraphy.com สบื ค้นเมอื่ 29/10/62

วดั เจดียห์ ลวง ภาพ วัดเจดยี ห์ ลวง เว็บ https://sites.google.com/site/sthanthxngtheiywcheiynghim9900/10-wad-cediy-hlwng สบื คน้ เมื่อ 29/10/62

รัฐล้านนา ความอ่อนแอของล้านนา ทาให้ต้องตกเป็นประเทศราชทั้งของพม่า และอยุธยา แล้วตั้งตนเป็นอิสระได้เพียงเวลาส้ัน ๆ จนถึงสมัยธนบุรี ล้านนาจึงได้มาอยู่กับไทย และรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย ในสมยั รัชกาลท่ี 5

คำถำม ปัจจัยใดบ้ำง ท่ีส่งผลให้รฐั หรภิ ุญชยั และรฐั ลำ้ นนำ มีควำมเจรญิ รุง่ เรอื ง สภาพทีต่ ้งั มีความเหมาะสมในการตง้ั ถิ่นฐาน และผูน้ ามีความสามารถ

กจิ กรรม “จบั ค.ู่ ..รูร้ ฐั ไทยในภำคเหนือ”

กจิ กรรมข้อตกลงและขั้นตอนในกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 1. ครูแจกแผน่ กระดำษข้อควำมเก่ยี วกบั รฐั โยนกเชยี งแสน รฐั หรภิ ุญชยั และรฐั ลำ้ นนำ ให้นั กเรยี นคนละ 1 แผน่ 2. นั กเรยี นแต่ละคน ค้นหำข้อควำมท่สี ัมพันธก์ ับข้อควำมท่ตี นเองได้รบั กับสมำชกิ ในห้องเรยี นภำยในเวลำ 5 นำที เมื่อนั กเรยี นจบั คู่ข้อควำม เรยี บรอ้ ยแลว้ ให้น่ั งประจำท่ี 3. ครูให้นั กเรยี นกำรสนทนำเก่ียวกับรฐั โบรำณในดินแดนภำคเหนื อ ตำมข้อควำมท่ีตนเองไดร้ บั แลว้ ส่มุ นั กเรยี นออกมำนำเสนอ หน้ ำชนั้ เรยี น 2 – 3 คน

จำกกำรศึกษำเก่ยี วกับรฐั โยนกเชยี งแสน รฐั หรภิ ญุ ชยั และรฐั ลำ้ นนำ รฐั ดังกล่ำวมีควำมสำคัญ อย่ำงไรตอ่ พัฒนำกำรของไทยในปัจจบุ ัน แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเปน็ มาทีย่ าวนานของดินแดน แถบนี้ มีการสร้างสรรค์มรดกทางวัฒนธรรมที่ หลงเหลือไว้ ทั้งโบราณสถานและโบราณวตั ถุ

บทเรียนคร้ังต่อไป รฐั โบราณในดินแดนไทย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (รฐั โคตรบรู ณ์และรฐั ศรีจนาศะ)

สิง่ ที่ต้องเตรียม บตั รคา ดาวน์โหลดไดท้ ี่ www.dltv.ac.th

รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส21104 เร่ือง รัฐโบราณในดินแดนไทย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (รฐั โคตรบูรณแ์ ละรัฐศรีจนาศะ) ผสู้ อน ครอู าทติ ย์ ชัยเทพา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1



รฐั โบราณในดินแดนไทย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (รัฐโคตรบูรณ์และรฐั ศรีจนาศะ)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความเป็นมาของ รัฐโคตรบรู ณ์และรัฐศรีจนาศะ ได้อย่างถูกต้อง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านทกั ษะและกระบวนการ 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ลักษณะทางสังคม และวัฒนธรรมของรัฐโคตรบูรณ์และรัฐศรีจนาศะ ได้อย่างถกู ต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านคณุ ลักษณะ 3. นักเรียนสามารถอภิปรายความสาคัญของ รัฐโคตรบูรณ์และรัฐศรีจนาศะที่ส่งผลต่อพัฒนาการ ของไทยในปัจจบุ ัน

ภาพ พระธาตุพนม โดย กะสา่ ง กะส่าง เว็บ https://pantip.com/topic/37267030 สบื ค้นเม่อื 4/11/62

ภาพ พระนอนหนิ ทราย เว็บ http://www.koratstartup.com/wat-dhammachrak-semaram/ สืบค้นเมอื่ 4/11/62

คำถำมจำกภำพ 1 ) จ ำ ก ภ ำ พ ห ลั ก ฐ ำ น ท ำ ง ป ร ะ วั ติ ศ ำ ส ต ร์ ดั ง ก ล่ ำ ว นั กเรียนคิดว่ำหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ทั้งสองภำพ น่ ำจะอย่ภู ำคใดของประเทศไทย เพรำะเหตุใด ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยพิจารณาจากลักษณะสิง่ กอ่ สร้าง ซึง่ เปน็ พระธาตุ และพระพุทธรูปซึง่ ทาจากหินทราย ที่จะพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คำถำมจำกภำพ 2) จำกภำพที่ 1 และภำพท่ี 2 ภำพดังกล่ำวคือสถำนทใ่ี ด 1. พระธาตพุ นม วัดพระธาตพุ นมวรมหาวิหาร จงั หวดั นครพนม 2. พระนอนหินทราย วัดธรรมจักรเสมาราม จังหวดั นครราชสีมา

คำถำมจำกภำพ 3) จำกภำพหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ทั้ง 2 ภำพ ทั้งพระธำตุพนมและพระนอน วัดธรรมจักรเสมำรำม แสดงให้เห็นถึงกำรรบั อิทธพิ ลของศำสนำใด ศาสนาพทุ ธ

รฐั โคตรบรู ณ์

รัฐโคตรบูรณ์ น.โขง รฐั ทวารวดีศวร นครพนม โคตรบูร ครอบคลุมบริเวณ ฝง่ั แมน่ า โขงทงั ฝง่ั ซา้ ยและฝั่งขวา รัฐศรีโคตรบรู มีศนู ย์กลางอยู่ที่ จ.นครพนม ศรีเทพ สาเกตนคร (ร้อยเอ็ด) อทู่ อง พิมาย จาปาศกั ดิ์ นครธม น.โขง อาณาจักรโคตรบรู ภาพ ทต่ี ้งั อาณาจกั รโคตรบูรณ์ เว็บ http://www.nakhonphanom.go.th/nakhonphanom/protectking/default.php?file=tab4&title= อาณาจกั รศรีโคตรบูรณ์&hg=700 สืบค้นเมอ่ื 4/11/62

รัฐโคตรบูรณ์ รัฐศรีโคตรบูรณ์มีปรากฏใน “ตานานอุรังคธาตุ” นับถือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบทวารวดี มีความเชื่อเรื่อง เดิมนับถือผีและพญานาค พุทธศตวรรษที่ 18 ขอมได้ขยาย อทิ ธิพลเข้าในดนิ แดนของรฐั ศรีโคตรบูรณ์ และต่อมารัฐลา้ นชา้ ง ของลาวมีอานาจมากข้ึน รัฐโคตรบูรณ์จึงตกเป็นเมืองขึ้นของ ล้านชา้ งไป

รฐั ศรีจนาศะ

รฐั ศรีจนาศะ จากการค้นคว้าของกรมศิลปากรในพ้ืนที่อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า เมืองเสมา ได้มีการอยู่อาศัยของ มนุษย์มาแล้ว ต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย และเชื่อว่าวัฒนธรรมทวารวดี ท่ีมีศูนย์กลางอยู่แถบภาคกลาง ของไทยไดแ้ ผม่ าถึง

รฐั ศรีจนาศะ ในช่วงที่วัฒนธรรมทวารวดีแพร่หลายเข้ามานั้น ก่อให้ เกิดการเปล่ียนแปลงของชุมชนดั้งเดิมเป็นอย่างมาก ปรากฏ ร่องรอยผังเมือง คูน้าคันดิน ศาสนสถาน และพระพุทธรูป ปางไสยาสน์แบบทวารวดีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อกี ด้วย

ธรรมจกั รศิลาจาลอง โดยการสาเนาหลอ่ แบบจากวตั ถจุ ริง จัดแสดงในพิพิธภณั ฑเ์ มืองนครราชสีมา ภาพ ธรรมจักรศิลาจาลอง เว็บ http://www.koratmuseum.com/3_davaravatee.html สบื ค้นเมอ่ื 4/11/62

ศิลาจารึกบอ่ อีกา พบที่ บา้ นบ่ออีกา อาเภอสูงเนิน ปัจจบุ ันเก็บรกั ษาอยทู่ ี่ พิพิธภณั ฑ์สถานแห่งชาติพิมาย ภาพ ศิลาจารึกบอ่ อกี า เว็บ http://www.koratmuseum.com/3_davaravatee.html สบื คน้ เมื่อ 4/11/62

คำถำม 1) กอ่ นท่ีจะมีกำรนั บถือพระพทุ ธศำสนำ ดินแดนน้ี นั บถือบูชำส่ิงใดมำกอ่ น แต่เดิมมีการนับถือผี และพญานาค

คำถำม 2) ส่ิงใดท่ีแสดงให้เห็นว่ำรฐั โคตรบูรณ์ มคี วำมเล่ือมใสศรทั ธำในพระพทุ ธศำสนำเป็นอันมำก การสรา้ งศาสนสถาน เชน่ พระธาตพุ นม

คำถำม 3) แม้ว่ำหลกั ฐำนท่ใี ห้ข้อมลู เก่ียวกับรฐั ศรจี นำศะ จะมอี ย่ไู ม่มำกนั ก แตเ่ พรำะเหตใุ ดนั กวิชำกำร จงึ เชอื่ ว่ำรฐั น้ี มอี ยู่จรงิ

คำตอบ เพราะหลักฐานที่ค้นพบเป็น ศิลาจารึก ได้มีการค้นพบ เรื่องราวจากจารึกบอ่ อีกาเป็นจารึกสาคญั หลักที่หนึ่ง และยัง มีจารึกอีกหลักที่กล่าวถึง คือ “จารึกศรีจนาศะ” พบที่ บริเวณเทวสถานใกล้สะพานชีกุน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจารึกภาษาสันสกฤตและเขมร ระบุศักราชตรงกับ พ.ศ. 1480 ซึง่ ถือเป็นหลักฐานชนั ต้น

คำถำม จารึกหลักแรกนิยมเรียกกันว่าจารึกบ่ออีกา อักษรขอม โบราณ ภาษาสันสกฤตและเขมร จารึกด้านที่ 1 เอ่ยถึง พระราชาแห่งศรีจนาศะทรงอุทิศสัตว์ทาส ให้พระภิกษุสงฆ์ ด้านที่ 2 กล่าวถึงบุคคลผู้มีนามว่าอังศเทพได้รับดินแดนที่อยู่ “นอกกมั พชุ เทศ” (บางทา่ นแปลวา่ “ในกมั พุชเทศ”) (ทม่ี า: ฐานข้อมลู โบราณสถานสาคญั ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ศนู ย์ศึกษาศิลปกรรมโบราณในเอเชียอาคเนย์ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร) เข้าถึงได้จาก http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand/?q=node/122)

คำถำม 4) จำกข้อควำมในจำรึกหลักแรกของศรีจนำศะ สะท้อนให้เห็นถึงแนวควำมเชอ่ื เกี่ยวกับกำรนั บถือ ศำสนำของผู้คนในรฐั นี้ อยำ่ งไร จากจารึกดงั กลา่ วสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงแนวความเชื่อ ความเลือ่ มใสศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา

กจิ กรรม “แกะรอยรฐั โคตรบรู ณ์ และรฐั ศรจี นำศะ”

กจิ กรรมข้อตกลงและขั้นตอนในกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 1. ครูแบง่ นั กเรยี นออกเป็น 4 กลมุ่ โดยแต่ละกลุ่มจะได้รบั บัตรคำ 3 แผน่ ดังต่อไปน้ี กลุ่มที่ 1 รฐั โคตรบรู ณ์/พระธำตพุ นม/คนรมิ ฝ่ ังโขง กลมุ่ ท่ี 2 กลุม่ ชนไท-ลำว/นั บถือผี พญำนำค/พระพุทธศำสนำ นิ กำยเถรวำท กล่มุ ท่ี 3 ศรจี นำศะ/จำรกึ บอ่ อีกำ/ถวำยส่ิงของแก่พระสงฆ์ กลมุ่ ท่ี 4 แถบทร่ี ำบสงู โครำช/พระนอนวดั ธรรมจกั รเสมำรำม /ธรรมจกั รศิลำ

กจิ กรรมข้อตกลงและขั้นตอนในกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 2. ให้เวลำนั กเรยี นกล่มุ ละ 10 นำที ในกำรนำคำศัพท์ที่ กลมุ่ ของตนไดร้ บั มำเรยี บเรยี งให้เป็นประโยค ที่สมบรู ณ์ โดยตอ้ งมคี ำศัพทท์ งั้ 3 คำ อย่ใู นประโยคนั้น

คำถำม จ ำ ก ก ำ ร ศึ ก ษ ำ เ ก่ี ย ว กั บ รั ฐ โ ค ต ร บู ร ณ์ แ ล ะ รัฐศรีจนำศะ รัฐดังกล่ำวมีควำมสำคัญอย่ำงไร ต่อพัฒนำกำรของไทยในปัจจุบัน ในด้ำนสังคม และวัฒนธรรม

คำตอบ แสดงให้เห็นถึงความเป็นมาที่ยาวนานของดินแดนแถบนี มี ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ม ร ด ก ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ ห ล ง เ ห ลื อ ไ ว้ ทั ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น พระธาตุพนม ธรรมจักรศิลา พระนอนวัดธรรมจักรเสมาราม และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตา่ ง ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรือง และการมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวของมรดกทางวัฒนธรรมของรัฐโบราณในดินแดนไทย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

รัฐหริภญุ ชยั ตามรอยรฐั โบราณ รัฐลา้ นนา รัฐโยนกเชียงแสน รฐั โคตรบรู ณ์ รัฐศรีจนาศะ รัฐละโว้ รฐั ทวารวดี รฐั ตามพรลิงค์ รฐั ศรีวิชัย ภาพ แผนที่ประเทศไทย เวบ็ https://www.wikiwand.com/th/เขตการปกครองของประเทศไทย สืบคน้ เมื่อ 4/11/62

เทคนิ คกำรจำรฐั โบรำณในดินแดนไทย หะ - หริภญุ ชยั ตาม - ตามพรลิงค์ นา - ล้านนา ชยั - ศรีวิชยั โย - โยนกเชียงแสน โคตร - โคตรบรู ณ์ โล้ - ละโว้ ศรี - ศรีจนาศะ ดี - ทวารวดี

บทเรียนครังตอ่ ไป หลักฐานในการศึกษา ประวตั ิศาสตร์ สมัยสุโขทยั

สิ่งที่ตอ้ งเตรยี ม บตั รภาพ เกี่ยวกับหลักฐาน ทีใ่ ช้ในการศึกษา ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ดาวนโ์ หลดได้ที่ www.dltv.ac.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook