Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอน 2-2564 วท.สิงห์บุรี

คู่มือการจัดการเรียนการสอน 2-2564 วท.สิงห์บุรี

Published by ผาสุข ไชยสุรินทร์, 2021-08-17 09:03:18

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอน 2-2564 วท.สิงห์บุรี

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยเทคนิคสงิ ห์บรุ ี Singburi Technical College คมู่ อื การจดั การเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ประจาภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ฝ่ายวชิ าการ งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน

ก คำนำ คู่มือการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ประจาภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ฉบับนีจ้ ัดทาขนึ้ เพ่อื ใช้เป็นแนวทางใหก้ ับครูผู้สอน และนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี อาเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคกลาง ๒ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยเนื้อหาในคู่มือฉบับน้ี ประกอบไปด้วยแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ และรายวิชาฝึกงาน ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ตามโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒ และหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ซ่ึงลกั ษณะแนวทางในการจัดการเรียนท่ีกาหนดขึ้น เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่มีการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นอย่างมาก โดยคานึงถึงความปลอดภัยในด้านต่างๆ ของครูผู้สอนและ นักเรียน นักศึกษาเป็นสาคัญ และยังคงมาตรฐานการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานและไม่ส่งผลกระทบต่อ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี น นกั ศึกษา งานพัฒนาหลกั สตู รการเรยี นการสอน ฝา่ ยวิชาการ สิงหาคม ๒๕๖๔

สารบัญ ข คานา หน้า สารบัญ ก ๑. ความนา ข ๒. รปู แบบการจดั การเรียนการสอนของรายวิชา ๑ ๒ ๒.๑ รายวชิ าทฤษฎี ๒ ๒.๒ รายวชิ าปฏิบัติ ๒ ๓. การจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าฝกึ งานและฝึกประสบการณ์วิชาชพี ๓ ๓.๑ ในกรณสี ถานการณ์คล่คี ลาย ๓ ๓.๒ ในกรณีสถานการณ์แพร่ระบาด ๔ ๔. การนิเทศตดิ ตาม ๗ ๔.๑ การจดั สง่ รายงานการจดั การเรียนการสอน ๗ ๔.๒ การจัดส่งรายงานการนิเทศฝกึ งานหรอื ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ๗ ๔.๓ การจัดส่งรายงานการพบนักเรยี น นักศึกษาในท่ปี รกึ ษา ๗ ๔.๔ การจัดส่งบนั ทึกผลการเรียนและประเมินผล ๗ ๕. การวดั ผลและประเมินผล ๘

๑ คู่มอื การจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๑. ความนา ด้วยปัจจุบันประเทศไทยกาลังเผชิญวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ระลอกท่ีสาม ตั้งแต่ต้นเดือนเมษายนปี ๒๕๖๔ จนปัจจุบัน และคาดว่าอาจต้องใช้เวลาที่ยืดยาว กว่าการควบคุมในสองระลอกที่ผ่านมา ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปล่ียนรูปแบบ และพฤติกรรมการใช้ชีวิตของคน จานวนมากทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่การศึกษาท่ีต้องเปล่ียนรูปแบบเป็นการเรียนตามมาตรการเร่งด่วนท่ีรัฐบาล หลายประเทศใช้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสคือ มาตรการกึ่งปิดเมือง (Semi-lockdown) และ มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) สถานศึกษาจึงจาเป็นต้องถูกปิดไปด้วย เพื่อลดช่อง ทางการแพร่เชื้อไวรัส รูปแบบการศึกษาของไทยจึงเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมจะต้องจัดการเรียนการสอนใน ห้องเรียน (On-Site) ก็ต้องมาปรับเป็นรูปแบบการเรียนทางไกล (Remote Learning) หรือเข้าใจง่ายๆ ก็คือ การเรียนออนไลน์ (Online) ทาให้เกิดคาถามว่า ต่อไปรูปแบบการเรยี นการสอนจะถูกพัฒนาไปอย่างไร หาก สถานการณ์ยังยืดเยอ้ื ทาใหน้ ักเรยี นไม่สามารถกลับมาเรียนในหอ้ งเรยี นได้ ซง่ึ ปัจจบุ ันก็เรม่ิ มสี ถานศึกษาหลาย แห่งมองว่า เป็นรูปแบบการศึกษาในรูปแบบออนไลน์มีประสิทธิภาพมากกว่าท่ีผ่านมาได้อย่างไร และจะใช้ วิธีการจัดการเรียนการสอนอย่างไรให้นักเรียนมีคุณภาพ ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา รวมถึงมีความ ปลอดภัยต่อสขุ ภาพของนักเรียนและบคุ ลากรทางการศึกษาด้วยเช่นกัน จากเหตุผลดังกล่าว ทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี ให้ความสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอนสาหรับ นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ท่ี ทางวิทยาลัยฯ จัดการศึกษาอยู่ในปัจจุบัน จึงได้จัดทาคู่มือฉบับนี้ข้ึนมา เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอน ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ให้การจัดการศึกษาของวิทยาลัยฯ ได้คุณภาพ ลดความ เหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษา รวมถงึ มีความปลอดภยั ตอ่ สุขภาพของนกั เรยี นและบคุ ลากรทางการศึกษา วทิ ยาลัยเทคนคิ สิงหบ์ ุรี งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน ฝา่ ยวชิ าการ

๒ ๒. รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของรายวชิ า สาหรับโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒ และหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) ท่ีทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี ได้ดาเนินการจัดการศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษา มีลักษณะของรายวิชาแบ่ง ออกเป็น ๒ ลักษณะหลักๆ คอื รายวิชาทฤษฎี และรายวิชาปฏิบตั ิ ซ่งึ ในแตล่ ะสาขาวิชา สาขางาน จะมีรายวชิ า ท้งั ๒ ลกั ษณะนี้ อยูใ่ นทกุ ๆ หมวดวชิ า และทุกระดบั ชัน้ ทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี จึงได้กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา ประจา ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โดยแยกตามลักษณะรายวชิ า ดงั น้ี ๒.๑ รายวชิ าทฤษฎี ให้ดาเนินการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online) เป็นหลกั ผ่านแอพพลิเคชั่น (Application) หรือ แพลตฟอร์ม (Platform) ต่างๆ ที่ท้ังครูผู้สอนและนักเรียน นักศึกษาสามารถใช้งานได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย จัดการเรียนการสอนไดเ้ ปน็ อย่างดี ๒.๒ รายวิชาปฏิบัติ ให้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online) ผ่านแอพพลิเคช่ัน (Application) หรือ แพลตฟอร์ม (Platform) ต่างๆ ที่ท้ังครูผู้สอนและนักเรียน นักศึกษาสามารถใช้งานได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงได้งา่ ย จดั การเรยี นการสอนได้เป็นอย่างดี หรอื บรู ณาการการจัดการเรียน การสอนในรปู แบบอืน่ ๆ เพมิ่ เติม ไมว่ ่าจะเปน็ On-Hand , On-Demand ฯลฯ รวมถึงอาจใช้การจดั การเรียน การสอนในรปู แบบโครงงานเปน็ ฐาน (PjBL) เพ่ือให้นกั เรยี น นักศกึ ษาไดฝ้ ึกทกั ษะการปฏิบัตงิ านและประมวล ความรทู้ ไี่ ดร้ ับจากการเรยี นภาคทฤษฎีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ แตท่ ัง้ นี้ ครผู ้สู อนต้องคานงึ ถงึ บริบทของนักเรียน นักศึกษาแต่ละรายบุคคลด้วย โดยการจัดทาโครงงานน้ันๆ ต้องเกิดมาจากความพร้อมของนักเรียน นักศึกษา ในด้านตา่ งๆ และจะไมเ่ กดิ ผลกระทบต่อนักเรยี น นักศกึ ษาท้ังในด้านสขุ ภาพ และเศรษฐกจิ ของครอบครวั รปู แบบการจัดการเรียนการสอน รายวชิ าทฤษฎี รายวิชาปฏบิ ตั ิ บรู ณาการ รปู แบบออนไลน์ (Online) รปู แบบออนไลน์ (Online) On-Hand , On-Demand ฯลฯ รปู แบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL) ท้งั น้หี ากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) คล่คี ลาย ทาง วทิ ยาลยั เทคนคิ สิงหบ์ รุ ีจะดาเนินการจัดการเรียนการสอนในห้องเรยี น (On-Site) ตามปกติ วทิ ยาลยั เทคนิคสงิ หบ์ รุ ี งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน ฝา่ ยวิชาการ

๓ ๓. การจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าฝกึ งานและฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี สาหรับโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒ และหลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) ท่ีทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี ได้ดาเนินการจัดการศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษา มีการกาหนดให้นักเรียน นักศึกษาออกฝึกงานและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า บูรณาการความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากส่ิงท่ีได้เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัดและความ สนใจ ทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี จึงได้กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาฝึกงานและฝึก ประสบการณ์วชิ าชพี ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ดงั น้ี ๓.๑ ในกรณสี ถานการณ์คลคี่ ลาย - ใหผ้ ู้เรียนฝกึ งานหรือฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ในสถานประกอบการ โดยมกี ารนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ิด หากระหวา่ งการฝึกมีการแพรร่ ะบาดหรอื ไดร้ บั ผลกระทบ จนไม่สามารถฝึกได้ ใหป้ รับมาใชแ้ ผนและวธิ กี ารจัดรูปแบบการฝึกในกรณีสถานการณ์แพร่ระบาด รูปที่ ๓.๑ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน รายวิชาฝกึ งานและฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ในกรณสี ถานการณ์คลี่คลาย วิทยาลัยเทคนิคสงิ ห์บุรี งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน ฝา่ ยวชิ าการ

๔ ๓.๒ ในกรณสี ถานการณ์แพรร่ ะบาด ๓.๒.๑ ฝึกงานหรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดย - การเปลย่ี นบา้ นพักใหเ้ ป็นสถานประกอบการ จานวน ๙ สปั ดาห์ - ฝกึ ในสถานประกอบการ (จรงิ ) จานวน ๙ สัปดาห์ ๓.๒.๒ ฝกึ งานหรอื ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี โดยการเปลย่ี นบ้านพกั ให้เป็นสถานประกอบการ จานวน ๑๘ สัปดาห์ ให้ใช้รูปแบบ ๓.๒.๑ ในเบ้ืองต้น จานวน ๙ สัปดาห์ หากจากการนิเทศติดตามแล้ว พบว่า สถานการณแ์ พร่ระบาดมผี ลกระทบไมส่ ามารถฝึกในสถานประกอบการได้ในชว่ ง ๙ สัปดาหห์ ลงั กใ็ หใ้ ช้รูปแบบ การฝึก ๓.๒.๒ ทัง้ ๑๘ สัปดาห์ รปู ท่ี ๓.๒ รูปแบบการจดั การเรียนการสอน รายวชิ าฝกึ งานและฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ในกรณสี ถานการณ์แพร่ระบาด วิทยาลยั เทคนคิ สิงห์บรุ ี งานพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอน ฝ่ายวชิ าการ

๕ สาหรับการเปล่ียนบ้านพักให้เป็นสถานประกอบการ ให้บูรณาการรูปแบบการฝึกโดยใช้ โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) โดยนกั เรียน นักศึกษาจาเปน็ ตอ้ งแสดงสมรรถนะให้ครอบคลุม รายวชิ าฝึกงานและฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี รปู ที่ ๓.๓ การเปลี่ยนบ้านพกั ให้เปน็ สถานประกอบการ โดยรูปแบบของการเปล่ียนบ้านพักใหเ้ ปน็ สถานประกอบการ ใช้เปน็ Model internship at home โดยมบี คุ ลากรทเี่ กี่ยวข้องตอ่ การจดั การศกึ ษา ดงั นี้ รูปท่ี ๓.๔ ผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องในการจัด Model internship at home วทิ ยาลยั เทคนิคสิงหบ์ ุรี งานพฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอน ฝา่ ยวิชาการ

๖ ในความเช่ือมโยงของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องต่อการจัดการศึกษาโดยรูปแบบของ การเปลี่ยน บ้านพักใหเ้ ป็นสถานประกอบการ Model internship at home นน้ั สามารถแสดงความเชือ่ มโยงได้ ดงั นี้ รปู ที่ ๓.๕ ความเชอ่ื มโยงของผู้มีสว่ นเกีย่ วข้องในการจดั Model internship at home สาหรับการจัดการศึกษารูปแบบของการเปล่ียนบ้านพักให้เป็นสถานประกอบการ Model internship at home บุคลากรทุกฝ่ายจาเป็นต้องดาเนินงานให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดย ทง้ั นี้จะใชว้ ธิ กี ารตดิ ต่อสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ เพอ่ื ลดชอ่ งทางการแพรเ่ ชอื้ ไวรัสท่จี ะสง่ ผลให้เกิดอนั ตรายต่อ สุขภาพของบคุ ลากรทกุ ฝา่ ย ทั้งน้ีการแต่งต้ังปราชญ์ที่ถือว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินน้ัน ให้นักเรียน นักศึกษาและคณะครู ผู้รับผดิ ชอบในแต่ละสาขาวชิ ารว่ มกันพิจารณา แล้วทาการออกคาสงั่ แตง่ ตงั้ ผา่ นฝา่ ยบริหารตามลาดับขัน้ ต่อไป หากในการจดั การศกึ ษามีความจาเปน็ ต้องจัดทาสอื่ การสอนที่เกิดจากปราชญ์ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ใหส้ ถานศกึ ษา สนับสนุนทรัพยากรในด้านต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกและสร้างสื่อการสอนให้มีคุณภาพ สามารถใช้จัด การศกึ ษาไดจ้ รงิ วิทยาลยั เทคนคิ สิงห์บรุ ี งานพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอน ฝา่ ยวิชาการ

๗ ๔. การนเิ ทศตดิ ตาม สาหรับการจัดการเรียนการสอนท้ังในการจัดตามลักษณะของรายวิชา และการจัดการเรียนการสอน รายวิชาฝึกงานและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ที่ทางวิทยาลัยเทคนิค สิงห์บุรี ได้กาหนดข้ึนนั้น จะเห็นได้ว่า มุ่งเน้นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) เป็น ส่วนใหญ่ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพของนักเรยี น นักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา แต่ก็ยังต้อง คงมคี ณุ ภาพของการศึกษาไวด้ ว้ ย ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และคงคุณภาพทางการศึกษาไว้ ทางวิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี จึงขอกาหนดการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอน ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ดังน้ี ๔.๑ การจดั สง่ รายงานการจัดการเรยี นการสอน ให้ครูผู้สอนจดั ทารายงานผลการจดั การเรียนการสอน ไมว่ ่าจะเปน็ รปู แบบใด โดยรายงานผล ทกุ สัปดาห์ แลว้ จดั สง่ รายงานผลใหก้ บั งานพฒั นาหลักสูตรการสอนการสอน ภายในวันอังคารของสปั ดาหถ์ ดั ไป เพื่อที่ทางงานพัฒนาหลักสูตรการสอนการสอนจะดาเนินการสรุปผล รายงานต่อคณะผู้บริหารตามลาดับขั้น ต่อไป ท้ังนี้ เอกสารรายงานผลของครูผู้สอนต้องมีความสมบูรณ์ สามารถใช้ประกอบการพิจารณาเบิกค่าสอน เกินภาระงานได้ ซ่ึงใหด้ าเนนิ งานจัดสง่ ผ่าน Google Classroom ห้องเรยี น Work from Home หรือจัดส่งท่ี ห้องงานพัฒนาหลกั สูตรฯ โดยตรงก็ได้ ๔.๒ การจดั สง่ รายงานการนเิ ทศฝึกงานหรอื ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ให้ครผู ูส้ อนจดั ทารายงานผลการนเิ ทศฝกึ งานหรือฝึกประสบการณ์วิชาชพี โดยรายงานผลทุก สัปดาห์ แล้วจัดส่งรายงานผลให้กับงานทวิภาคี ภายในวันจันทร์ของสัปดาห์ถัดไป เพ่ือท่ีทางงานทวิภาคีจะ ดาเนินการสรปุ ผล รายงานต่อคณะผบู้ ริหารตามลาดับข้นั ต่อไป โดยดาเนินงานจดั สง่ ผ่าน Google Classroom ทีห่ ้องงานทวภิ าคโี ดยตรงก็ได้ ๔.๓ การจัดส่งรายงานการพบนักเรียน นกั ศกึ ษาในท่ีปรกึ ษา ใหค้ รูท่ปี รึกษาจัดทารายงานผลการพบนกั เรียน นกั ศึกษาในท่ปี รึกษา โดยรายงานผลในทุกๆ ๔ สปั ดาห์ แลว้ จดั สง่ รายงานผลให้กับงานครูทีป่ รกึ ษา ภายในวนั ศกุ ร์ของสัปดาหท์ ี่ ๔ ของแตล่ ะช่วง เพอื่ ทีท่ าง งานครทู ่ีปรึกษาจะดาเนนิ การสรุปผล รายงานต่อคณะผ้บู ริหารตามลาดับข้ันต่อไป ทงั้ น้ี สามารถดาเนนิ งานจัด ส่งผา่ น Google Classroom ห้องเรยี น งานครูทีป่ รึกษา หรอื จัดส่งทห่ี อ้ งงานครูที่ปรกึ ษา โดยตรงก็ได้ ๔.๔ การจดั ส่งบันทึกผลการเรียนและประเมินผล ให้ครูผู้สอนจัดทาบันทึกผลการเรียนและประเมินผล (FR-๐๖๐๑) แบบรายงานงานผลการ ปฏิบัติงาน (FR-๐๖๐๒) และแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม (FR-๐๖๐๓) โดยจัดทาและจัดส่งในทุก ๆ ๔ สัปดาห์ แล้วจัดส่งให้กับงานวัดผลและประเมินผล ภายในวันจันทร์ของสัปดาห์ถัดไปแต่ละช่วง ๔ สัปดาห์ เพอ่ื ทที่ างงานงานวดั ผลและประเมนิ ผลจะดาเนินการสรปุ ผล รายงานตอ่ คณะผบู้ รหิ ารตามลาดบั ข้ันตอ่ ไป ทง้ั นี้ สามารถดาเนนิ งานจัดส่งท่หี ้องงานงานวดั ผลและประเมนิ ผล โดยตรงกไ็ ด้ วิทยาลยั เทคนคิ สงิ ห์บรุ ี งานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน ฝ่ายวชิ าการ

๘ ๕. การวดั ผลและประเมนิ ผล สาหรับการวดั ผลและประเมินผลนักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และนักศกึ ษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ที่เรียนตามโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ยังคงยึดถือตามระเบียบการวัดผลและประเมินผลของสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) เปน็ สาคญั แต่ทั้งนี้ คณะครูต้องมีการประชุมปปรึกษาหารือกันภายในสาขาวิชา เพื่อออกแบบรูปแบบวิธีการ วัดผลและประเมินผลให้สอดคล้องกับบริบทของรายวิชา และบริบทของนักเรียน นักศึกษาอีกด้วย เพ่ือให้มี ความยดึ หย่นุ สามารถใช้วัดผลและประเมนิ ผลนกั เรยี น นกั ศกึ ษาท่มี คี วามแตกต่างกนั ออกไปไดด้ ้วย และไม่ขัด ต่อระเบยี บการวดั ผลและประเมินผลของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) หากระหว่างการจดั การเรยี นการสอนมีปญั หาไม่ว่าจะเกดิ ข้นึ จากสาเหตใุ ด และเกดิ ผลกระทบไมว่ ่าต่อ บคุ ลากรทางการศึกษาและนักเรียน นกั ศกึ ษา ผู้ทพ่ี บปัญหาต้องดาเนนิ การแจ้งผู้มีสว่ นเกย่ี วข้องให้ดาเนินการ แก้ไข โดยผา่ นความเห็นชอบจากฝา่ ยบรหิ ารตามลาดับขนั้ วทิ ยาลยั เทคนคิ สิงหบ์ ุรี งานพัฒนาหลักสตู รการเรยี นการสอน ฝ่ายวชิ าการ

“วนิ ยั ดี มีวิชาเปน็ เลิศ เทดิ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์” ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสาร ได้ท่ี www.sbtc.ac.th @technicsingburi (Facebook) sites.google.com/sbtc.ac.th/curriculum