Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลสนาม ~กคอยและสถานที่รองรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลสนาม ~กคอยและสถานที่รองรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

Published by HealthFoodMLM Shop, 2022-01-13 05:38:18

Description: แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลสนาม ~กคอยและสถานที่รองรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

Search

Read the Text Version

คาแนะนาการจัดการดา้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 สาหรบั โรงพยาบาลสนาม ศูนยพ์ กั คอย และสถานที่รองรบั ผู้ทีม่ ีความเส่ียงสูง จงั หวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาลสนาม ศูนย์พักคอย และสถานที่รองรับผู้ท่ีมีความเสี่ยงสูง ซ่ึงได้รับการพิจารณา คัดเลอื กตามเกณฑ์ประเมินความพรอ้ มเบ้ืองต้นแล้ว ควรมีการเตรียมการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้มีความพร้อม สาหรับรองรับการใหบ้ ริการผู้ป่วย ตามแนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ ด้านอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม ดังน้ี 1.ดา้ นสุขาภบิ าลอาหาร 1.1 มีสถานทีเ่ ตรียม ปรงุ ประกอบอาหารทสี่ ะอาดถูกสุขลกั ษณะ 1.2 บรรจุอาหารในภาชนะท่ีสะอาด และปกปิดมิดชดิ 1.3 ควบคุมระยะเวลาจัดสง่ ไม่ควรเกนิ 30 นาที/ม้อื 1.4 ผสู้ ง่ อาหารสวมใส่อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบุคคลทีเ่ หมาะสม 2.ด้านนาด่มื นาใช้ 2.1 น้าดม่ื 2.1.1 น้าด่ืม ต้องใส สะอาด ไม่มีส่ิงเจือปน ไม่มีรส กลิ่น สี ที่ผิดปกติ ได้แก่ น้าบรรจุขวด หรอื ในภาชนะปิดสนิท นา้ สะอาดท่ผี ่านระบบกรองนา้ หรือการฆา่ เชอื้ เปน็ ตน้ 2.1.2 ควรมกี ารทาความสะอาดถังน้าหรอื ระบบสง่ นา้ เป็นประจา 2.2 นา้ ใช้ 2.2.1 กรณเี ป็นน้าประปา ควรมีคลอรนี อิสระคงเหลอื ไมน่ ้อยกวา่ 1 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลิตร 2.2.2 กรณีเป็นน้าบาดาล ควรมีถังพักน้าเพื่อเติมคลอรีน ให้มีคลอรีนอิสระคงเหลือไม่น้อยกว่า 1 มิลลิกรมั ตอ่ ลิตร 3.ด้านสขุ าภิบาลและความปลอดภยั ในการซักฟอก 3.1 มอี ปุ กรณใ์ นการซกั ลา้ งให้ผตู้ ดิ เชือ้ ดาเนนิ การเอง เชน่ ผงซกั ฟอก ถังนา้ กะละมัง เป็นต้น 3.2 มีโรงซักฟอกทส่ี ามารถทาความสะอาดผ้าและทาลายเช้ือโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ใช้สาร ฆ่าเชอื้ ทีเ่ หมาะสม หรอื ซักท่ีอุณหภูมนิ ้าไมต่ า่ กว่า 71 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 25 นาที 4.ด้านการจดั การสว้ มและสงิ่ ปฏกิ ลู 4.1 มีหอ้ งสว้ มที่ถกู สุขาภิบาล ปลอดภัย และเพยี งพอ 4.2 มีระบบเกบ็ กกั สงิ่ ปฏกิ ูลทถี่ กู หลกั สขุ าภิบาล เป็นระบบปิดและสามารถเก็บส่ิงปฏิกูลให้อยู่ได้นาน มากกว่า 22 วัน ระบบท่อและระบบเก็บกักสิ่งปฏิกูลหรือบ่อเกรอะ (Septic tank) อยู่ในสภาพใช้การได้ดี ไมแ่ ตก ไม่รว่ั ซึม 4.3 ถังเก็บกักสิ่งปฏิกูลควรมีขนาดอย่างน้อย 2 ลูกบาศก์เมตรต่อห้องส้วม 1 ห้อง หรือเพียงพอต่อ ปริมาณสงิ่ ปฏิกูลทเี่ กิดขึ้น 4.4 การจัดการสิง่ ปฏิกูลในกรณสี ว้ มเตม็ 4.4.1 เตรียมสารละลายคลอรีน อัตราส่วนสารละลายคลอรีน = คลอรีน 1 กิโลกรัม (คลอรนี ผง 65%) ละลายน้า 100 ลิตร ผสมใหเ้ ขา้ กันต้ังทิง้ ไว้ 20 นาที 4.4.2 สูบสิ่งปฏกิ ูลจากบอ่ เกรอะใสถ่ ังสงิ่ ปฏกิ ูลบนรถขนสง่ิ ปฏกิ ลู

4.4.3 สูบสารละลายคลอรีนท่ีเตรียมไว้ใส่ถังส่ิงปฏิกูลบนรถขนสิ่งปฏิกูล ในอัตราส่วน สารละลายคลอรีน 100 ลิตร/สงิ่ ปฏิกลู 5 ลูกบาศก์เมตร 4.4.4 กาหนดระยะเวลาสารละลายคลอรนี สมั ผัสกับส่งิ ปฏกิ ูลในรถขนสิง่ ปฏกิ ูลอยา่ งน้อย 30 นาที ก่อนระบายเข้าสู่ระบบบาบดั ส่ิงปฏกิ ูล 4.4.5 กรณีมีระบบกาจัดส่ิงปฏิกูล ให้รถขนส่งสิ่งปฏิกูลนาไปกาจัดในระบบบาบัดส่ิงปฏิกูล ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ หรือหนว่ ยงานอื่นท่ีสามารถรองรับได้ 4.4.6 กรณีไมม่ ีระบบกาจดั สิง่ ปฏกิ ูล ให้ฝงั กลบสิ่งปฏิกูลในหลุมท่ีขุดเตรียมไว้ โดยเติมปูนขาว ในอตั ราส่วน 1 กโิ ลกรัมต่อส่ิงปฏิกูล 1 ลูกบาศก์เมตรก่อนฝงั กลบ (แบง่ ปนู ขาวรองพื้นและโรยหน้าสิ่งปฏกิ ูล) 4.4.7 ผู้ดาเนนิ การควรสวมใส่อุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายสว่ นบคุ คลทีเ่ หมาะสม 5.ด้านการควบคมุ สตั วแ์ ละแมลงพาหะนาโรค 5.1 มีระบบตรวจสอบควบคุม ป้องกัน และกาจดั สัตวแ์ ละแมลงพาหะนาโรคเปน็ ประจา 5.2 จัดให้มอี ุปกรณป์ อ้ งกนั สตั ว์และแมลงพาหะนาโรค เชน่ มงุ้ มุง้ ลวด 6.ดา้ นการจัดการนาเสีย 6.1 มรี ะบบบาบดั นา้ เสียทส่ี ามารถใชก้ ารได้ดี 6.2 ตดิ ตั้งอุปกรณ์ฆ่าเชอ้ื ในนา้ ทง้ิ โดยตรวจวัดปริมาณคลอรีนอิสระหลงเหลือในน้าท้ิง ให้มีค่าไม่น้อยกว่า 1 มิลลิกรัมต่อลติ ร 7.ดา้ นการจัดการมลู ฝอยติดเชือ มูลฝอยของผู้ป่วยทง้ั หมดจัดเป็นมูลฝอยตดิ เช้ือ ให้จัดการตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 โดยจัดให้มีถุงแดงรองรับมูลฝอยติดเช้ือ ลักษณะมิดชิด รวบรวมจากจุดพักมูลฝอยติดเช้ือไปยัง จดุ พกั มลู ฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล และส่งกาจัดตามกระบวนการจดั การมูลฝอยตดิ เชอื้ ตอ่ ไป 7.1 แนวทางการลดปรมิ าณมูลฝอยตดิ เชือ้ ต้นทาง 7.1.1 การจัดเตรียมภาชนะใส่อาหารส่วนตัวแบบล้างใช้ซ้าได้ เช่น ถ้วย จาน ช้อน แทน การใชก้ ลอ่ งโฟม/กล่องพลาสติก 7.1.2 การจัดการน้าด่ืม เช่น การติดต้ังระบบกรองน้าดื่ม การติดตั้งระบบท่อส่งน้าดื่ม ใช้ขวดน้า/แกว้ นา้ สว่ นตัว เพอื่ ลดปรมิ าณมูลฝอยติดเช้ือจากขวดนา้ พลาสตกิ /แก้วนา้ พลาสตกิ 7.2 แนวทางการกาจัดมูลฝอยตดิ เชื้อ 7.2.1 มูลฝอยติดเชอื้ ประเภทเศษอาหาร 7.2.1.1 กรณมี พี นื้ ทีใ่ นการขุดหลมุ ให้รวบรวมใสภ่ าชนะรองรับที่จัดไว้เฉพาะ ได้แก่ ถังพลาสติกเจาะก้นถัง หรือวงขอบซีเมนต์ แล้วทาลายเชื้อด้วยกระบวนการหมักทาปุ๋ย ฝังกลบและฆ่าเช้ือ ด้วยปูนขาวในอัตราส่วน 1 กิโลกรัมต่อปุ๋ย1 ลูกบาศก์เมตร (กระบวนการหมักอุณหภูมิจะอยู่ในช่วง 55-70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3-7 วัน และเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ถูกทาลายที่ความร้อน 56 องศาเซลเซียส ในเวลา 15 นาที (WHO/FAO, 2020)) 7.2.1.2 กรณีไม่มีพื้นท่ีในการขุดหลุม ให้รวบรวมใส่ภาชนะรองรับท่ีจัดไว้เฉพาะ ได้แก่ ถังพลาสติกปิดมิดชิด แล้วนาไปทาลายเชื้อด้วยกระบวนการหมักทาปุ๋ยฝังกลบและฆ่าเช้ือด้วยปูนขาว ในอัตราส่วน 1 กิโลกรัมต่อปุ๋ย 1 ลูกบาศก์เมตร โดยผู้ดาเนินการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ท่เี หมาะสม

7.2.2 มูลฝอยติดเช้ืออื่นๆ 7.2.2.1 ดาเนินการกาจัดตามมาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเช้ือ (เทศบาลวารินชาราบ หรือบริษทั เอกชนตามระบบจัดการของโรงพยาบาล) 7.2.2.2 กรณีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือมีปริมาณมาก และไม่สามารถดาเนินการ ตามข้อ 7.2.2.1 ได้ ให้ดาเนินการเผาโดยเตาเผาศพ หรือเตาเผามูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือเตาเผามูลฝอยติดเช้ือแบบอ่ืนๆ ที่มีในพ้ืนที่ โดยเถ้าที่เหลือจากการเผาให้ฝังกลบและฆ่าเชื้อด้วยปูนขาว ในอัตราส่วน 1 กิโลกรัมต่อเถ้า1 ลูกบาศก์เมตร (แบ่งปูนขาวรองพ้ืนและโรยหน้าส่ิงปฏิกูล) ผู้ดาเนินการ สวมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนั อันตรายส่วนบคุ คลทีเ่ หมาะสม สอบถามข้อมลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่ กล่มุ งานอนามยั สิ่งแวดล้อมและอาชวี อนามยั สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ศรสี ะเกษ โทร. 045-616040-6 ตอ่ 304 ดร.วเิ ชียร ศรหี นาจ (ปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อม) โทร. 089-2813845