Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล

Published by jirawanpvs1.com, 2021-12-19 03:41:52

Description: สื่อการเรียนการสอนวิชาการสื่อสารข้อมูล

Search

Read the Text Version

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) ความรู้เกยี่ วกบั การสอื่ สารข้อมลู และการตดิ ตั้งโปรแกรม โดยครจู ริ วรรณ มะลาไสย หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หวั ข้อเร่อื ง (TOPICS) 2.1 ความหมายของการส่ือสาร 2.2 ความหมายของการส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.3 องคป์ ระกอบของระบบส่ือสารข้อมลู 2.4 ความหมายของการส่อื สารขอ้ มลู 2.5 องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของระบบข้อมูล 2.6 การเช่อื มต่อคอมพวิ เตอรส์ าหรบั สือ่ สารขอ้ มลู 2.7 การสง่ สญั ญาณข้อมูล 2.8 มาตรฐานสากลของระบบสือ่ สารขอ้ มูล 2.9 ลกั ษณะสัญญาณทใ่ี ชใ้ นการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู 2.10 รหสั ทใี่ ชส้ ง่ สัญญาณข้อมูล 2.11 รปู แบบของรหสั 2.12 รปู แบบการเช่ือมต่อเพือ่ การสอ่ื สารข้อมลู 2.13 ส่ือกลางทใี่ ชใ้ นการสือ่ สารขอ้ มลู 2.14 อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการสื่อสารขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ 2.15 ประเภทของเครือข่าย หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม (BEHAVIORAL OBJECTIVES) 1. บอกความหมายของการสือ่ สารขอ้ มลู ได้ 2. บอกองคป์ ระกอบพน้ื ฐานของระบบสอื่ สารข้อมลู ได้ 3. บอกขั้นตอนการเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์สาหรับสอื่ สารข้อมลู ได้ 4. อธิบายการส่งสญั ญาณข้อมลู (TRANSMISSION DEFINITION) ได้ 5. บอกมาตรฐานสากล (INTERNATIONAL STANDARDS) ของระบบส่อื สาร ขอ้ มลู ได้ 6. บอกลกั ษณะของสญั ญาณทใ่ี ช้ในการส่งสัญญาณขอ้ มูลได้ หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (BEHAVIORAL OBJECTIVES) 7. บอกรหสั ทใ่ี ช้ส่งสญั ญาณข้อมูล (TRANSMISSION CODE) ได้ 8. อธิบายรปู แบบของรหัสได้ 9. อธบิ ายรูปแบบของการเช่ือมต่อเพ่ือการสือ่ สารขอ้ มูลได้ 10. บอกส่ือกลางทีใ่ ช้ในการส่อื สารข้อมลู ได้ 11. บอกอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการสอื่ สารขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ได้ 12. จาแนกประเภทของเครอื ข่าย (NETWORKS) ได้ หลักสตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) เนื้อหาสาระ (CONTENT) การส่อื สารขอ้ มูลเปน็ การถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ จากคนหนึ่ง ไปสอู่ ีกคนหนง่ึ โดยอาศยั ส่ือหรอื เคร่ืองมอื ต่าง ๆ เป็นชอ่ งทางในการสือ่ สาร เชน่ การสือ่ สารดว้ ย ทา่ ทาง ถ้อยคา สัญลกั ษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เปน็ ตน้ ต่อมาการสือ่ สารข้อมูลได้พัฒนาและก้าวหนา้ ไปอยา่ งต่อเน่อื ง มีการนาเทคโนโลยี ดา้ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์มาประยกุ ตใ์ ช้ในการติดตอ่ สอ่ื สาร ทาให้การ ตดิ ต่อสอ่ื สารเกดิ ความสะดวก รวดเรว็ รวมทง้ั ได้รับขา่ วสารทันเหตุการณอ์ กี ด้วย หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.1 ความหมายของการสอ่ื สาร การสือ่ สาร (COMMUNICATIONS) มที ี่มาจากรากศัพทภ์ าษา ลาตนิ ว่า COMMUNIS หมายถึง ความเหมอื นกนั หรือรว่ มกัน การส่อื สาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ขอ้ มูล ความรู้ ประสบการณ์ ความร้สู กึ ความคดิ เห็น ความตอ้ งการจากผสู้ ง่ สารโดยผา่ นสือ่ ตา่ งๆ ที่ อาจเป็นการพดู การเขยี นสญั ลกั ษณอ์ ืน่ ใด การแสดงหรือการจดั กจิ กรรม ต่างๆ ไปยังผู้รบั สาร ซึง่ อาจจะใชก้ ระบวนการสือ่ สารทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ไปตามความเหมาะสมคอื ความจาเป็นของตนเองและคสู่ ่อื สาร โดยมี วัตถปุ ระสงค์ใหเ้ กดิ การรับรรู้ ว่ มกนั และมีปฏิกริ ยิ าตอบสนองตอ่ กัน บรบิ ทางการสอ่ื สารทเี่ หมาะสมเปน็ ปจั จัยสาคญั ทชี่ ว่ ยให้การส่ือสารสมั ฤทธิ์ผล หลักสตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี 2.1.1 การส่อื สารขอ้ มลู หมายถงึ กระบวนการถ่ายโอนหรอื แลกเปลี่ยน ข้อมลู กนั ระหวา่ งผ้สู ่งและผู้รับ โดยผ่านชอ่ งทางส่อื สาร เชน่ อปุ กรณ์ อเิ ล็กทรอนิกสห์ รือคอมพวิ เตอร์เป็นตวั กลางในการสง่ ข้อมลู เพอื่ ใหผ้ ู้ส่งและ ผรู้ ับเกิดความเขา้ ใจซง่ึ กันและกัน 2.1.2 เคร่ืองขา่ ยคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK) คอื ระบบทีม่ ี คอมพิวเตอรอ์ ยา่ งน้อยสองเคร่ืองเชอ่ื มตอ่ กนั โดยใช้สอ่ื กลาง และสามารถ สอื่ สารขอ้ มูลกนั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ซ่ึงทาใหผ้ ้ใู ชค้ อมพวิ เตอร์แตล่ ะ เคร่อื งสามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลซึง่ กันและกันได้และใชท้ รพั ยากรที่อยู่ใน เครือข่ายร่วมกันได้ และทาใหป้ ระหยดั ค่าใช้จา่ ยได้เปน็ จานวนมาก หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี 2.2 ความหมายของการสอื่ สารขอ้ มูลและเครอื่ งขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 2.2.1 การส่ือสาร (COMMUNICATION) หมายถึง กระบวนการ ถา่ ยทอดหรือแลกเปลีย่ นสารหรือสอ่ื ระหวา่ งผู้ส่งกับผรู้ ับ โดยส่งผ่าน ช่องทางนาสารหรอื สือ่ เพื่อให้เกดิ ความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกัน 2.2.2 การส่ือสารขอ้ มูล (DATA COMMUNICATION) หมายถงึ กระบวนการหรือวิธีถ่ายทอดขอ้ มลู ระหว่างผู้ใช้กบั คอมพวิ เตอร์ท่ีมกั จะอยู่ หา่ งไกลกัน และจาเปน็ ต้องอาศัยระบบการสอื่ สารโทรคมนาคม (TELECOMMUNICATON) เปน็ ส่อื กลางในการรบั สง่ ขอ้ มลู 2.2.3 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (COMPUTER NETWORK) หมายถึง การเชือ่ มโยงระหว่างคอมพิวเตอรต์ งั้ แต่ 2 เครอ่ื งขึน้ ไป เพ่อื ให้ สามารถส่ือสารและแลกเปลี่ยนขอ้ มูล รวมทงั้ สามารถใช้อปุ กรณ์ คอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายรว่ มกันได้ เชน่ ฮาร์ดดิสก์ เครือ่ งพมิ พ์ เปน็ ตน้ หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา 2.3 องคป์ ระกอบของระบบสื่อสารขอ้ มูล การสื่อสารขอ้ มูลในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบ ดงั นี้ 2.3.1 ข่าวสาร (MESSAGE) ข่าวสารในทางเทคโนโลยแี ละการ ส่อื สาร ข่าวสารเปน็ ขอ้ มูลทผี่ ู้สง่ ทาการสง่ ไปยังผรู้ ับผา่ นระบบการสื่อสาร ซึ่ง อาจอย่ใู นรปู แบบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.3.2 ผู้ส่ง (SENDER) เป็นอปุ กรณท์ ี่ทาหนา้ ท่สี ่งข้อมลู ทอ่ี ยทู่ าง ต้นทาง โดยข้อมลู ต้องถกู จัดเตรยี มนาเขา้ สอู่ ุปกรณส์ ่งขอ้ มูล เช่น เครอื่ ง คอมพิวเตอร์ โมเดม็ (MODEM) จานไมโครเวฟ จานดาวเทยี ม เป็นตน้ 2.3.3 ผูร้ ับ (RECEIVER) เป็นอปุ กรณท์ ท่ี าหน้าทรี่ ับขอ้ มลู จาก อุปกรณส์ ่งข้อมูล เช่น เครือ่ งพิมพ์ คอมพวิ เตอร์ โมเดม็ จานดาวเทียม เป็น ตน้ เพอื่ นาข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี 2.3 องค์ประกอบของระบบสอ่ื สารข้อมลู การส่อื สารข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 2.3.4 สื่อกลางหรือตวั กลาง (MEDIA) เป็นอุปกรณท์ ท่ี าหนา้ ท่ีนา ขา่ วสารรปู แบบตา่ ง ๆ จากผสู้ ่งไปยังผรู้ บั ได้แก่สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอรอ์ อปตกิ เปน็ ต้น ส่ือกลางอาจอยู่ในรปู ของคล่ืนท่สี ่งผ่านอากาศ เช่น คล่นื ไมโครเวฟ คลืน่ ดาวเทียม คลน่ื วทิ ยุ เป็นตน้ 2.3.5 โพรโทคอล (PROTOCOL) เปน็ ตัวกาหนดคณุ ลกั ษณะ กฎระเบียบ หรือวิธีการทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สาร เพ่อื ใหผ้ ูร้ ับและผูส้ ่งเขา้ ใจ และสามารถ สือ่ สารกันไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2.3.6 ซอฟตแ์ วร์ (SOFTWARE) เป็นโปรแกรมสาหรับดาเนนิ การและ ควบคุมการสง่ ขอ้ มูลผ่านคอมพิวเตอร์เพ่อื ให้ไดข้ ้อมูลตามทีก่ าหนดไว้ ตวั อยา่ ง ซอฟแวร์ เชน่ MICROSOFT WINDOWS XP/VISTA/7, UNIX, INTERNET EXPLORER, WINDOWS LIVE MESSAGE เปน็ ตน้ หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี 2.4 ความหมายของการสอื่ สารข้อมลู การสื่อสารข้อมูล หมายถงึ การโอนถา่ ย (TRANSMISSION) ขอ้ มลู หรอื การแลกเปลย่ี นขอ้ มูล ระหว่างตน้ ทางกับปลายทาง โดยใชอ้ ุปกรณท์ าง อิเล็กทรอนิกส์หรอื เคร่อื งคอมพิวเตอร์ ซึง่ มตี วั กลาง เชน่ ซอฟแวรค์ อมพวิ เตอร์สาหรับควบคุมการสง่ และการไหลของข้อมูลจากตน้ ทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจมผี รู้ บั ผดิ ชอบในการกาหนดกฎเกณฑ์ ในการสง่ หรือรับขอ้ มลู ตามรูปแบบทตี่ ้องการ หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.5 องค์ประกอบพน้ื ฐานของระบบขอ้ มูล การส่ือสารข้อมลู ทางอเิ ล็กทรอนกิ สน์ ้นั จะทาได้กต็ ่อเมือ่ มอี งค์ประกอบต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.5.1 ผูส้ ่งหรอื อปุ กรณ์สง่ ขอ้ มลู (SENDER) ข้อมลู ต่าง ๆ ท่ีอยู่ตน้ ทางต้องจดั เตรียมนา เข้าสอู่ ุปกรณส์ าหรบั ส่งข้อมลู ซ่ึง ได้แก่ เครอื่ งพิมพ์ หรืออปุ กรณ์ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จาน ดาวเทยี ม ซงึ่ ข้อมลู เหลา่ น้ถี กู เปลี่ยนใหอ้ ยู่ในรูปแบบท่ีสามารถส่ง ข้อมูลนน้ั ได้ก่อน 2.5.2 ผู้รบั หรืออปุ กรณ์รับข้อมลู (RECEIVER) ขอ้ มูลที่ ถกู สง่ จากอุปกรณส์ ง่ ข้อมูลตน้ ทางเมื่อไปถึงปลายทางกจ็ ะมี อุปกรณส์ าหรบั รบั ขอ้ มูลเหล่าน้นั เพ่อื นาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ เคร่ืองพมิ พ์ คอมพวิ เตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทยี ม ฯลฯ หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.5.3 โพรโทคอล (PROTOCOL) คือ กฎระเบยี บหรอื วิธกี ารใช้ เป็นข้อกาหนดสาหรับการสอ่ื สาร เพอื่ ให้ผู้รับและผู้ส่งเขา้ ใจกนั ได้ ซงึ่ มีหลายชนิดใหเ้ ลอื กใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นตน้ 2.5.4 ซอฟตแ์ วร์ (SOFTWARE) การสง่ ขอ้ มูล ผ่านคอมพิวเตอรจ์ าเป็นต้องมโี ปรแกรมสาหรับดาเนนิ การ และควบคุมการส่งข้อมลู เพื่อให้ได้ขอ้ มลู ตามทีก่ าหนดไว้ เช่น JUNNOS, CISCO IOS, ZYNOS ฯลฯ 2.5.5 ขา่ วสาร (MESSAGE) เป็นรายละเอยี ดซ่ึง อยู่ในรปู แบบต่าง ๆ ทีจ่ ะสง่ ผา่ นระบบการส่ือสาร ซึง่ มี หลายรูปแบบดงั น้ี หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี 1. ขอ้ มูล (DATA) เป็นรายละเอียดของส่ิงต่าง ๆ ซง่ึ ถกู สร้างและจัดเก็บดว้ ยคอมพวิ เตอรม์ รี ปู แบบแนน่ อน เชน่ ข้อมลู เก่ยี วกับ บุคคล ข้อมูลเก่ยี วกบั สนิ ค้า เป็นตน้ ขอ้ มูลสามารถนับจานวนไดแ้ ละ สง่ ผ่านระบบสอ่ื สารได้เร็ว 2. ขอ้ ความ (TEXT) อยู่ในรูปของเอกสารหรอื ตวั อกั ขระ ไม่มรี ปู แบบท่แี น่นอน ชดั เจนนบั จานวนไดค้ อ่ นข้างยาก และมี ความสามารถในการส่งปานกลาง 3. รูปภาพ (IMAGE) เปน็ ข่าวสารท่ีอยู่ในรูปของภาพ กราฟฟกิ แบบต่าง ๆ ได้แก่ รปู ภาพนงิ่ ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพวดี โี อ ซ่งึ ข้อมูลชนดิ นี้ต้องอาศัยส่ือสาหรับเก็บและใช้หน่วยความเป็นจานวนมาก 4. เสียง (VOICE) อยู่ในรปู ของเสียงพูด เสยี งดนตรี หรือเสยี งอ่นื ๆ ข้อมูลชนิดนกี้ ระจัดกระจาย ไมส่ ามารถวดั ขนาดที่ แนน่ อนได้ การส่งจะทาได้ การส่งจะทาไดด้ ว้ ยความเร็วคอ่ นขา้ งตา่ หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 2.5.6 ตวั กลาง (MEDIUM) เป็น ส่อื กลางท่ที าหน้าทนี่ าข่าวสารในรูปแบบ ตา่ ง ๆ จากผู้สง่ หรอื อุปกรณส์ ่งต้นทางไปยัง ผูไ้ ปยังผ้รู ับหรืออุปกรณร์ ับปลายทาง ซ่งึ มี หลายรปู แบบ ได้แก่ สายไฟ ขดลวด สาย เคเบิล สายไฟเบอรอ์ อปติก ตวั กลางอาจอยู่ ในรูปของคลืน่ ทส่ี ง่ ผา่ นทางอากาศ เชน่ คล่นื ไมโครเวฟ คลนื่ ดาวเทียมหรอื คลื่นวทิ ยุ เป็นตน้ หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.6 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สาหรับสื่อสารข้อมูล การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สื่อสารข้อมูลเป็นการ เ ชื่ อ ม โ ย ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ต้ น ท า ง เ ข้ า กั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ปลายทาง โดยใชต้ ัวกลางหรือสื่อกลางสาหรับเช่ือมต่อ ซ่ึง ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ห ล า ย รู ป แ บ บ การต่อสายตรงอาจต่อตรงโดยใช้ช่องต่อแบบ ขนาดแบบขนาดของเคร่ือง ทั้ง 2 เครื่อง เพื่อใช้สาหรับ โอนย้ายข้อมูลระหว่างเคร่ืองได้ หรืออาจต่อโดยใช้การ์ด เช่อื มต่อเครือข่าย (NETWORK INTERFACE CARD) ใส่ไว้ ในเครื่องสาหรับเป็นจุดต่อก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของการ ใช้งานหรือเป็นการเชื่อมต่อระยะไกลจากคอมพิวเตอร์ต้น ทางไปยังปลายทาง โดยผ่านเครอื ขา่ ยโทรศัพทส์ าธารณะ หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบุรี 2.7 การส่งสัญญาณข้อมูล 2.7.1 ความหมายของการสง่ สญั ญาณขอ้ มูล การสง่ สญั ญาณขอ้ มลู (TRANSMISSION DEFINITION) หมายถึง การส่งขอ้ มลู หรอื ข่าวสารต่าง ๆ จาก อุปกรณส์ าหรบั ส่งหรอื ผ้สู ง่ ผ่านทางตวั กลางหรอื ส่อื กลางไปยัง อุปกรณ์รับหรอื ผูร้ บั ข้อมูลหรือข่าว ซึง่ ขอ้ มูลหรอื ข่าวสารท่ีส่งไป อาจจะอยใู่ นรปู ของสัญญาณเสยี ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงกไ็ ด้ โดยทสี่ อื่ กลางหรือตัวกลางของสญั ญาณนัน้ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ชนดิ ทีส่ ามารถกาหนดเสน้ ทางสัญญาณได้ เชน่ สายเกลยี วคู่ (TWISTED PAIR) สายโทรศพั ท์ สายโคแอกเชียล (COAXIAL) สายใยแกว้ นาแสง (FIBER OPTIC) สว่ นตวั กลางอกี ชนิดหนง่ึ นั้นไม่ สามารถกาหนดเส้นทางของสญั ญาณได้ เช่น สุญญากาศ น้า และ ชน้ั บรรยากาศ เปน็ ตน้ หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.7.2 แบบของการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู การส่งสญั ญาณข้อมลู สามารถแบง่ ได้ เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. การส่งสัญญาณทางเดียว (ONE- WAY TRANSMISSION หรือ SIMPLEX) การส่งสญั ญาณแบบนีใ้ นเวลาเดยี วกนั จะสง่ ได้เพียงทางเดยี วเทา่ นัน้ ถึงแม้วา่ ตัวส่งจะ มีสญั ญาณช่องทางกต็ าม ซ่ึงมกั จะเรียกการสง่ สัญญาณทางเดยี วนีว้ า่ ซมิ เพลก็ ซ์ ผู้สง่ สญั ญาณ จะสง่ ไดท้ างเดยี ว โดยท่ผี รู้ บั ไม่สามารถโตต้ อบ ได้ เช่น การสง่ วทิ ยุกระจายเสียง การแพรภ่ าพ โทรทัศน์ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2. การส่งสัญญาณกงึ่ ทางคู่ (HALF-DUPLEX หรือ EITHER WAY) การสง่ สัญญาณแบบน้เี ม่อื ผู้สง่ ไดท้ าการส่ง สัญญาณไปแล้ว ผรู้ ับจะไดส้ ัญญาณนัน้ หลังจากน้นั ผู้รบั สามารถปรับมาเป็นผสู้ ง่ สัญญาณแทน ส่วนผสู้ ง่ เดมิ ปรับมาเป็นผูร้ บั แทนสลบั กนั ได้ แต่ไม่สามารถส่ง สญั ญาณพรอ้ มกันในเวลาเดียวกันได้ จงึ เรียกการสง่ สญั ญาณแบบนวี้ ่า ฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (HALF-DUPLEX หรือ HD) ไดแ้ ก่ วิทยุสนามทตี่ ารวจใช้ เปน็ ต้น หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 3. การส่งสญั ญาณทางคู่ (FULL-DUPLEX หรือ BOTH WAY TRANSMISSION) การสง่ สญั ญาณแบบนี้สามารถสง่ ขอ้ มูลดพร้อมกนั ท้งั สองทางในเวลาเดยี วกัน เช่น การใช้โทรศพั ท์ ผู้ใช้ สามารถพดู สายโทรศัพท์ได้พร้อม ๆ กนั หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.8 มาตรฐานสากลชองระบบสื่อสารข้อมลู เพื่อความเปน็ ระเบยี บและสะดวกของผผู้ ลิตในการผลติ อปุ กรณ์สื่อสารแบบต่าง ๆ ชึ้นมา จึงได้มกี ารกาหนดมาตรฐานสากลสาหรบั ระบบติดตอ่ ส่ือสารขอ้ มลู ข้ึน ซ่ึงประกอบด้วยโพรโทคอล และสถาปตั ยกรรมโดยมกี ารจัดตั้งองค์การสาหรบั พัฒนาและควบคุมมาตรฐานหลายองค์กร ดงั ต่อไปน้ี 2.8.1 OSI (THE INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION) องคก์ ารระหว่างประเทศวา่ ด้วยมาตรฐานเปน็ องคก์ ารสากลท่ีพฒั นา มาตรฐาน สากลเกี่ยวกบั สถาปัตยกรรมเครือขา่ ย โดยมีการแบ่งโครงสรา้ งในการตดิ ต่อสื่อสาร ออกเปน็ 7 ช้นั (LAYERS) หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.8.2 CCITT (THE CONSULTATIVE COMMITTEE IN INTERNATIONAL TELEGRAPHY AND TELEPHONY) เปน็ องคก์ ารสากลทพ่ี ฒั นามาตรฐาน V และ X โดยท่ี มาตรฐาน V ใช้สาหรบั วงจรโทรศัพทแ์ ละโมเดม็ เช่น V.29, V.34 ส่วนมาตรฐาน X ใชก้ บั เครอื ขา่ ยขอ้ มูลสาธารณะ เช่น เครือขา่ ย X.25 แพ็กเกตสวิตชงิ (PACKET SWITCHING) เป็น ตน้ ปจั จบุ ัน CCITT เปล่ยี นชือ่ เป็น ITU-T ตง้ั แต่ปี ค.ศ. 1993 2.8.3 ANSI (THE AMERICAN NATIONAL STANDARDS INSTITUTE) สถาบัน มาตรฐานแหง่ชาติของสหรฐั อเมริกาเปน็ องค์กรมาตรฐานของสหรฐั อเมรกิ า ANSI ได้พฒั นา มาตรฐานเกี่ยวกบั การสือ่ สารข้อมลู และระบบเครือขา่ ย มาตรฐานสว่ นใหญ่เกย่ี วข้องกับการ ประดิษฐต์ ัวเลขที่ใชใ้ นการตดิ ต่อสอื่ สารข้อมูลและมาตรฐานเทอรม์ นิ ัล หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.8.4 IEEE (THE INSTITUTE OF ELECTRICAL AND ELECTRONICS ENGINEERS) สถาบนั วชิ าชีพวิศวกรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทเ่ี กิดจากการรวมตวั ของกลุ่ม นักวชิ าการวิศวกร และนักวจิ ัยทางสาขาไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในอเมริกา มาตรฐานน้จี ะเนน้ ไป ทางดา้ นอตุ สาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนกิ ส์ ไมโครโปรเซสเซอร์ และอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ใน ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น IEEE 802.3 ซ่ึงใชร้ ะบบ LAN (LOCAL AREA NETWORK) 2.8.5 EIA (THE ELECTRONIC INDUSTRIES) สมาพันธอ์ ตุ สาหกรรมอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ องคก์ รมาตรฐานของอเมรกิ าได้กาหนดมาตรฐานทางดา้ นไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์มาตรฐาน EIA จะข้นึ ต้นดว้ ย RS (RECOMMENDED STANDARD) เช่น RS-232-C เปน็ ตน้ การผลติ ของ ผูป้ ระกอบการต่าง ๆ ไม่ว่าจะใชม้ าตรฐานใดกต็ าม สงิ่ ท่ีผลติ น้นั อยา่ งน้อยต้องได้ครบตาม มาตรฐาน แตส่ ามารถดีกว่ามาตรฐานได้ หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.9 ลักษณะสัญญาณทีใ่ ช้การส่งสญั ญาณขอ้ มูล การสง่ สัญญาณขอ้ มูลหรือข่าวสารต่าง ๆ สามารถทาได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.9.1 การสง่ สญั ญาณแบบอนาลอ็ ก (ANALOG TRANSMISSION) การส่งสัญญาณแบบอนาล็อกไมค่ านงึ ถึงสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีรวมอยู่ในสัญญาณ โดย สญั ญาณจะแทนขอ้ มลู อนาลอ็ ก เช่น สัญญาณเสยี ง เป็นต้น ซง่ึ สญั ญาณอนาล็อกที่สง่ ออกไปน้ัน เม่อื ระยะห่างออกไปสญั ญาณจะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทาให้สญั ญาณไม่ค่อยดี ดังนน้ั เมื่อระยะเวลา หา่ งไกลออกไปสามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสญั ญาณ (AMPLIFIER) แต่มผี ลทาให้เกิด สญั ญาณรบกวน (NOISE) ขน้ึ ยง่ิ ระยะไกลมากขนึ้ สัญญาณรบกวนจะเพมิ่ ข้ึน ซ่ึงสามารถแกไ้ ข สัญญาณรบกวนน้ีไดโ้ ดยใชเ้ คร่อื งกรอกสญั ญาณ (FILTER) เพื่อกรองสัญญาณรบกวนออก หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วิทยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.9.2 การส่งสญั ญาณแบบดจิ ิตอล (DIGITAL TRANSMISSION) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจาใชเ้ มอ่ื ต้องการขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้องชดั เจนแน่นอน ดังน้ัน จงึ จาเปน็ ตอ้ งสนใจรายละเอยี ดทุกอย่างที่บรรจมุ ากับสัญญาณ ในทานองเดียวกนั กบั การส่ง สญั ญาณแบบอนาลอ็ ก กล่าวคอื เม่ือระยะทางในการส่งมากขน้ึ สญั ญาณดจิ ิตอลจะจางลง ซ่งึ สามารถแกไ้ ขได้โดยใชอ้ ปุ กรณ์ทาสญั ญาณซา้ หรือรพี ตี เตอร์ (REPEATER) ปัจจุบนั การสง่ สัญญาณแบบดิจติ อลเขา้ มามีบทบาทสูงในการสื่อสารขอ้ มลู เน่อื งจากให้ ความถูกต้องชดั เจนของข้อมูลสูงและสง่ ไดใ้ นระยะไกล สามารถเชือ่ มต่อเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ ไดง้ า่ ย ทงั้ นเี้ นือ่ งจากคอมพวิ เตอร์อยใู่ นรปู แบบสัญญาณจากคอมพวิ เตอรอ์ ย่ใู นรูปของดจิ ติ อลแต่ เดมิ นนั้ หากระยะทางในการสอื่ สารไกลมักใชส้ ญั ญาณแบบอนาลอ็ กเปน็ สว่ นใหญ่ เช่น โทรศัพท์ โทรเลข เปน็ ต้น หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.10 รหสั ท่ีใชส้ ่งสัญญาณข้อมลู การสง่ สัญญาณการสอื่ สารแบง่ ออกเปน็ 2 ระบบ คือ แบบดจิ ติ อลและอนาล็อก ซึ่งการ สง่ สญั ญาณแบบอนาล็อกสว่ นใหญเ่ ป็นการติดต่อส่อื สารระหว่างมนษุ ย์ ได้แก่ การไดย้ ิน การ มองเหน็ อุปกรณ์ทีใ่ ช้ เช่น โทรศพั ท์ วทิ ยุ โทรทัศน์ เปน็ ต้น สาหรับการส่งสัญญาณแบบดจิ ิตอล น้ัน สว่ นใหญ่ส่อื สารโดยใชเ้ ครอื่ งจกั รหรอื อปุ กรณ์ในการถ่ายทอดข้อมูลซ่ึงกนั และกัน หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.11 รูปแบบของรหัส รหสั ทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารขอ้ มูลทวั่ ไปอย่ใู นรูปของไบนารี (BINARY) หรือเลขฐานสอง ซึง่ ประกอบไปด้วยเลข 0 กบั เลข 1 โดยใช้รหัสที่เป็นเลข 0 เทนการไมม่ สี ัญญาณไฟและเลข 1 แทน การมสี ัญญาณไฟ ซ่งึ เปน็ ไปตามหลกั การของไฟฟา้ ทม่ี ลี กั ษณะมีไฟและไม่มีไฟอยู่ตลอดเวลา เรียก รหสั ท่ีประกอบไปดว้ ย 0 กับ 1 ว่าบิต (BINARY DIGIT) แตเ่ น่ืองจากขอ้ มูลหรือข่าวสารทัว่ ไป ประกอบดว้ ยตวั อกั ษร ตวั เลขและสัญลักษณ์มากมาย ถา้ จะใช้ 0 กับ 1 เปน็ รหสั แทนแลว้ จะทาได้ เพียง 2 ตัวเท่านั้น เช่น 0 แทนตัว A และ 1 แทนด้วย B ดงั นน้ั การกาหนดรหสั จงึ ได้นากลุ่มบิตมาใช้ เชน่ 6 บติ 7 บติ หรือ 8 บติ แทนตวั อักษร 1 ตวั ซ่งึ สามารถสรา้ งรหัสทแ่ี ตกต่างกนั ไดท้ ั้งหมด รหัสมาตรฐานโดยทั่วไปใชก้ บั อกั ขระภาษาองั กฤษ ซ่งึ มหี ลายมาตรฐาน เชน่ รหัสแอสกี (ASCII CODE) รหัสโบดอต (BAUDOT CODE) และรหัสแอบ ซดี ิก (EBCDIC) หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี 2.11.1 รหัสแอสกี (ASCII CODE) มาจากคาเต็มว่า AMERICAN STANDARD CODE FOR INFORMATION INTERCHANGE ซึ่งเป็นรหัสมาตรฐานของอเมรกิ าทใี่ ช้สาหรับสง่ ขา่ วสารมีขนาด 8 บิต โดยใช้ 7 บิตแรกเขา้ รหัสแทนตวั อักษร ส่วน บติ ท่ี 8 เปน็ บิตตรวจสอบ (PARITY BIT CHECK) รหสั แอสกีไดร้ บั มาตรฐานของ CCITT หมายเลข 5 เน่ืองจากรหัสแอสกีใช้บติ 7 ตวั แรกแทนตวั อักขระ แตล่ ะบติ จะประกอบด้วยตัวเลข 0 หรอื เลข 1 ดงั นั้นรหัสแอสกีมีรหสั แตกตา่ งกันได้เทา่ กับ 27 หรือเทา่ กบั 128 ตัวอกั ขระ ในจานวนนแ้ี บง่ เปน็ ตวั อกั ษรท่พี ิมพไ์ ด้ 96 อักขระ และ เปน็ ตัวควบคุม (CONTROL CHARACTERS) อีก 32 อักขระ ซง่ึ ใช้ สาหรับควบคุมอุปกรณ์แลกั ารทางานตา่ ง ๆ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 2.11.2 รหัสโบดอต (BAUDOT CODE) เป็นรหัสทใี่ ช้กบั ระบบโทรเลขและเทเล็กซ์ ซง่ึ อย่ภู ายใตม้ าตรฐานของ CCITT หมายเลข 2 เป็นรหสั ขนาด 5 บติ สามารถมีรหัสท่ีแตกตา่ งกนั ได้ เท่ากบั 25 หรือ เทา่ กับ 32 รูปแบบ ซง่ึ ไมเ่ พยี งพอกับจานวนอกั ขระ ทั้งหมด จงึ มีการเพมิ่ อักขระพเิ ศษข้ึนอกี 2 ตัว คือ 11111 หรอื LS (LETTER SHIFT CHARACTER) เพอ่ื เปลีย่ นกลมุ่ ตวั อกั ษรเปน็ ตวั พิมพเ์ ลก็ (LOWER CASE) และ 11011 หรอื FS (FIGURED SHIFT CHARACTER) สาหรับเปลยี่ นกลุม่ ตัวอักษรเปน็ ตัวพิมพ์ใหญ่ ทาให้มรี หัสเพมิ่ ขึน้ อีก 32 ตวั แต่มีอักขระซ้ากับอกั ขระเดมิ 6 ตวั จงึ สามารถใช้รหัสไดจ้ รงิ 58 ตวั เนอ่ื งจากรหัสโบคอตมขี นาด 5 บติ ซ่งึ บิตตรวจสอบจงึ ไมน่ ิยมนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 2.11.3 รหัสแอบซดี กิ (EBCDIC) มาจากเต็มวา่ EXTENDED BINARY CODED DECIMAL INTERCHANGE CODE พฒั นาขนึ้ โดยบรษิ ัท IBM มขี นาด 8 บิตตอ่ หนึง่ อกั ขระ โดยใชบ้ ติ ที่ 9 เป็น บิตตวรจสอบ ดังนน้ั จึงสามารถมี รหสั ทแ่ี ตกต่างสาหรับใชแ้ ทนตัวอกั ษรได้ 28 หรอื 256 ตัวอกั ษร ปัจจบุ นั รหัสแอบซดี กิ เป็นมาตรฐานในการเข้าตวั อกั ขระบนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หลักสูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.12 รูปแบบการเชอื่ มตอ่ เพื่อการสื่อสารขอ้ มลู การเช่ือมตอ่ อุปกรณส์ ่อื สารเพื่อการส่ือสารข้อมลู จากจุดหนงึ่ ไปยงั อีกจดุ หนงึ่ นน้ั สามารถทา ไดห้ ลายรปู แบบขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสม สาหรับรปู แบบของการเชื่อมต่อแบง่ ออกเป็นหลายรปู แบบ ดังต่อไปนี้ 2.12.1 การเชอ่ื มต่อแบบจุดตอ่ จุด (POINT TO POINT LINE) เป็นการเชื่อมตอ่ แบบ พื้นฐานโดยต่อจากอปุ กรณร์ บั หรอื สง่ 2 ชดุ สายส่ือสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่จากดั เชอ่ื มตอ่ สายส่ือสารไว้ตลอดเวลา (LEASED LINE) ซ่ึงสายส่งอาจจะเป็นชนิดสายสง่ ทางเดียว (SIMPLEX) สายสง่ ก่งึ ทางคู่ (HALF-DUPLEX) หรอื สายส่งทางคู่แบบสมบรู ณ์ (FULL-DUPLEX) ก็ได้ และสามารถสง่ สญั ญาณข้อมลู ไดท้ ้งั แบบซงิ โครนสั หรอื แบบอะซิงโครนัส การเช่อื มต่อแบบจดุ ตอ่ จดุ มี ไดห้ ลายลักษณะ หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.12.2 การเช่อื มต่อแบบหลายจุด (MULTIPOINT OR MULTIDROP) เนอื่ งจากค่าเชา่ ช่องทางในการ ส่งผ่านข้อมูลต้องเสียคา่ ใชจ้ ่ายสูง การเชื่อมต่อแบบจุด ต่อจุดน้นั สนิ้ เปลอื งสายส่ือสารมากและการสง่ ขอ้ มลู ไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคดิ ท่ีจะใชส้ าย สอ่ื สารเพยี งสายเดียวแต่เชื่อมต่อกบั หลาย ๆ จดุ ซง่ึ ทา ให้ประหยดั ค่าใช้จา่ ยไดม้ ากกวา่ หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.12.3 การเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยแบบสลบั ชอ่ ง ทางการสอ่ื สาร (SWITCHED NETWORK) จากรปู แบบการเชอื่ มตอ่ ที่เปน็ แบบจุดซ่งึ ต้อง ต่อสายสือ่ สารไวต้ ลอดเวลา แต่ในทางปฏิบัตจิ ริงแลว้ การสอ่ื สารข้อมูลไมไ่ ดผ้ ่านตลอดเวลา ดงั นั้นจึงมี แนวความคดิ ในการเชอ่ื มตอ่ เครือชา่ ยแบบสลับช่อง ทางการส่อื สารหรือเครือชา่ ยสวติ ชงิ เพื่อเพิ่ม ประสทิ ธิภาพของการเชื่อมตอ่ เครอื ข่ายแบบจุดต่อจุด ให้สามารถใชส้ ่ือสารได้มากที่สุด หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี 1. รปู แบบของเครือข่ายแบบสลับช่องทางการสอื่ สารท่เี หน็ โดยทว่ั ไปมี 4 รูปแบบดงั นี้ (1) เครือขา่ ยส่อื สารโทรศัพท์ (THE TELEPHONE NETWORK) (2) เครอื ข่ายสื่อสารเทลเลก็ ซ์ (THE TELEX/TWX NETWORK) (3) เครื่อขา่ ยสอื่ สารแพก็ เกตสวิตชงิ (PACKET SWITCHING NETWORK) (4) เครื่อขา่ ยสอื่ สารสเปชยี ลไลซ์ดิจิตอล (SPECIALIZED DIGITAL NETWORK) หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี 2. หลกั การทางานของเครือ่ ข่ายแบบสลบั ช่องทางการสอ่ื สาร มีดังน้ี (1) การเชอ่ื มตอ่ ต้องเปน็ แบบจุดต่อจุด (2) ตอ้ งมกี ารเชอื่ มต่อการส่อื สารทงั้ ฝา่ ยรบั และสง่ กอ่ นเริม่ รับหรือส่งข้อมลู เช่น หมุนเบอร์โทรศัพท์ เปน็ ตน้ (3) หลงั จากส่ือสารเสรจ็ ต้องตดั การชือ่ มตอ่ เพือ่ ให้ ผ้อู ่ืนใชส้ ายสื่อสารไดต้ อ่ ไป หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.13 สื่อกลางทใ่ี ชใ้ นการสื่อสารขอ้ มลู องคป์ ระกอบสาคัญท่ีไช้ในการส่อื สารข้อมลู ที่ขาดไม่ได้ คอื สาย ส่ือกลาง ซง่ึ แบง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ คือ สอ่ื กลางที่กาหนดเสน้ ทางได้ เช่น สายโคแอกเชียล (COAXIAL) สายเกลียวคู่ (TWISTED-PAIR) สายไฟเบอร์ ออปตกิ (FIBER OPTIC) และสื่อกลางที่กาหนดเสน้ ทางไม่ได้ เช่น คลืน่ วิทยุ คลื่นดาวเทียม คลนื่ ไมโครเวฟ เป็นต้น การเลอื กสอื่ กลางทจ่ี ะนามาใชใ้ นการเชื่อมต่อระบบสอ่ื สารข้อมูล นน้ั จาเป็นต้องพจิ ารณาหลายประการ เช่น ความเร็วในการส่งขอ้ มูล ราคา ของอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ สถานทีใ่ ช้ การบริการ การควบคุม ตลอดจนเทคโนโลยที ่ี จะนามาใช้ ซึ่งสอ่ื กลางแต่ละชนดิ มคี ุณสมบัติแตกตา่ งกนั หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบุรี 2.13.1 สายโดแอกเซยี ล (COAXIAL CABLE) เปน็ สายท่ีนิยมใช้ กนั ค่อนข้างมากในระบบการสอ่ื สารความถี่สงู เช่น สายอากาศของทีวี สาย ชนิดนีอ้ อกแบบใหม้ คี า่ ความต้านทาน 75 โอหม์ และ 50 โดยสาย 75 โอหม์ ส่วนใหญ่ใช้กบั อากาศทวี แี ละสาย 50 โอหม์ จะนามาใชก้ ับการสอ่ื สารทเ่ี ปน็ ระบบดจิ ิตอล คุณสมบตั ิของสายโคแอกเชยี ลประกอบด้วยตวั นา 2 สายโดยมีสาย หนงึ่ เปน็ แกนอยู่ตรงกลางและอกี เสน้ เป็นตัวล้อมรอบอย่อู ีกชน้ั มขี นาดของ สาย 0.4 ถึง 1 นิ้ว สายโคแอกเชยี ลมี 2 แบบ คือแบบหนา (THICK) และ แบบบาง (THIN) แบบหนาจะแขง็ การเดนิ สายทาได้ค่อนขา้ งยาก แตส่ ามารถสง่ สญั ญาณไดไ้ กลกวา่ แบบบาง หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี 2.13.2 สายคู่บิดเกลียว (TWISTED-PAIR) เป็นสายมาตรฐาน 2 เสน้ หุ้มด้วยฉนวนแล้วบิดเป็นเกลียว สามารถรับส่งข้อมูลได้ท้ังแบบอนาล็อก และแบบดิจิตอล สายชนิดน้ีมีขนาด 0.015 - 0.056 นิ้ว ส่งข้อมูลได้ด้วย ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที ถ้าใช้ส่งสัญญาณแบบ ANALOG จะต้องใช้ วงจรขยายหรือ แอมพลิฟายเออร์ทุกๆ ระยะ 5-6 กม. แต่ถ้าต้องการส่ง สัญญาณแบบดิจิตอลจะต้องใช้อุปกรณ์ทาซ้าสัญญาณ (REPEATER) ทุก ๆ ระยะ 2-3 กม. โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอลสัญญาณท่ีส่ง เป็นลักษณะคล่ืนส่ีเหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้หลายเมกะ บิตต่อวินาทีในระยะทางได้ไกลหลายกิโลเมตร เน่ืองจากสายคู่บิดเกลียวมี ราคาไมแ่ พงมาก ใชส้ ่งข้อมูลไดด้ ี และมนี ้าหนกั เบา นอกจากนั้นอย่างง่ายต่อ การติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียว คือ สายโทรศพั ท์ สาหรบั สายคบู่ ดิ เกลียวนั้นมี 2 ชนดิ คอื หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.สายคู่บิดเกลยี วชนดิ หุม้ ฉนวน (SHIELDED TWISTED PAIR:STP) เปน็ สายค่บู ดิ เกลยี วทีห่ ่อหุม้ ด้วยฉนวนชัน้ นอกทหี่ นาอีก ชนั้ หน่ึง เพ่อื ป้องกนั การรบกวนของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ดงั รูป\\ 2. สายคบู่ ิดเกลียวชนดิ ไม่หมุ้ ฉนวน (UNSHIELDED TWISTED PAIR:UTP) เป็นสายคู่บดิ เกลยี วที่หมุ้ ด้วยฉนวนช้นั นอกทบี่ างทาให้ สะดวกในการโค้งงอ แตจ่ ะปอ้ งกนั การรบกวนของคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ ได้ นอ้ ยกวา่ ชนดิ แรก หลักสตู รปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบุรี 2.13.3 สายส่งแบบไฟเบอรอ์ อปติก (FIBER OPTIC) สายส่งขอ้ มูลแบบไฟเบอร์ออปตกิ ประกอบดว้ ย เสน้ ใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึง่ อยูต่ รงแกนกลาง อีกชนดิ หนึ่งอย่ดู า้ นนอก โดยที่ใยแก้วทง้ั 2 ชนิดนีจ้ ะมีดชั นีใน การสะทอ้ นแสงตา่ งกัน ทาใหแ้ สงที่ 2 จากปลายด้าน หนง่ึ ผา่ นไปยงั อกี ดา้ นหนง่ึ ได้ หลักสูตรปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี 2.14 อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการสื่อสารข้อมูลคอมพวิ เตอร์ 2.14.1 โมเด็ม (MODEM) MODEM มาจากคาวา่ MODULATOR-DEMODULATOR ทาหน้าทแี่ ปลงสัญญาณขอ้ มลู ดิจิตอลทีไ่ ด้รับจากเครอ่ื งสง่ หรอื คอมพวิ เตอรเ์ ป็นสญั ญาณแบบ อนาล็อกก่อนทาการส่งไปยงั ปลายทางต่อไป โดยผ่านเครือข่าย โทรศัพท์ แล้วเมือ่ ส่งถึงปลายทางจะมีโมเด็มทาหน้าทแี่ ปลง สัญญาณจากอนาลอ็ กใหเ้ ป็นดจิ ิตอล เพ่ือใช้กบั คอมพวิ เตอร์ ปลายทาง หลักสูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2.14.2 มัลติเพล็กซ์เซอร์ (MULTIPLEXER) วิธีการเชื่อมต่อส่ือสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทาง ที่ง่ายท่ีสุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (POINT TO POINT) แตต่ อ้ งเสยี คา่ ใช้จ่ายสูงและใช้งานไม่เต็มที่ จึง มีวิธีการเช่ือมต่อท่ียุ่งยากขึ้น คือการเชื่อมต่อแบบ หลายจุดซึ่งใชส้ ายสื่อสารเพยี งเสน้ 802.3 หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา วิทยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 2 . 1 4 . 3 ค อ น เ ซ น เ ต ร เ ต อ ร์ (CONCENTRATER) เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่มี ประสิทธิภาพสูงสามารถเพ่ิมสายหรือช่องทางการ ส่งข้อมูลได้มากข้ึน การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส 2.14.4 คอนโทรเลอร์ (CONTROLLER) เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ท่ีส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัสที่ สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้ดีการทางาน ต้องมีโพรโทคอลพิเศษสาหรับกาหนดวิธีการรับส่ง ข้อมูลมีบอร์ดวงจรไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สาหรับ คอมพวิ เตอร์ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 2.14.5 ฮับ (HUB) ฮบั เป็นอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สท์ า หน้าทีเ่ ช่นเดียวกบั มลั ตเิ พล็กซเ์ ซอรซ์ ่ึงนยิ มใช้กบั ระบบเครอื ขา่ ย ทอ้ งถนิ่ มีราคาต่า ตดิ ตอ่ สื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3 2.14.6 ฟรอนต์-เอน็ โปรเซสเซอร์ FEP (FRONT-END PROCESSOR: FEP) เปน็ คอมพิวเตอรใ์ ชเ้ ชอ่ื มตอ่ ระหว่างโฮสต์ คอมพวิ เตอร์ หรอื มินคิ อมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครอื ข่ายสาหรบั ส่ือสารข้อมลู เชน่ โมเดม็ มัลตเิ พล็กซเ์ ซอร์ เปน็ ตน้ FEP เป็น อุปกรณท์ ม่ี ีหนว่ ยความจา (RAM) และซอฟตแ์ วรส์ าหรบั ควบคุม การทางานเป็นของตวั เองโดยมีหนา้ ทีห่ ลักคือ แกไ้ ขข่าวสาร เกบ็ ข่าวสาร เปลีย่ นรหสั รวบรวมหรือกระจายอกั ขระ ควบคมุ อตั รา ความเรว็ ในการรบั ส่งข้อมลู จดั ลาดบั เข้าออกของขอ้ มลู ตรวจสอบ ขอ้ ผดิ พลาดในการส่งข้อมลู หลักสตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี 2.14.7 อมี ูเลเตอร์ (EMULATOR) เปน็ อปุ กรณ์ ทท่ี าหน้าทีเ่ ปลี่ยนกลุ่มขา่ วสารจากโพรโทคอลแบบหนึ่ง ไปเป็นกลุ่มขา่ วสาร ซงึ่ ใช้โปรโตคอลอีกแบบหน่งึ แตจ่ ะ เปน็ อุปกรณฮ์ าร์ดแวร์หรือโปรแกรมซอฟต์แวร์กไ็ ด้ บางคร้งั อาจจะเป็นทงั้ 2 อยา่ ง โดยทาให้คอมพวิ เตอร์ท่ี ต่อเข้ามานนั้ ดเู หมือนเป็นเคร่ืองเทอร์มินอลหน่งึ เคร่ือง โฮสตห์ รอื มนิ ิคอมพิวเตอรใ์ นปจั จุบันนยิ มนาเครอ่ื ง PC มาใช้เปน็ เทอรม์ นิ อลของเครอ่ื งเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนเ้ี พราะประหยัดกวา่ และเมือ่ ไหร่ท่ไี ม่ใช้ติดต่อกับ เครื่องมนิ ิหรอื เมนเฟรมคอมพวิ เตอรส์ ามารถใช้เป็น เครื่อง PC ได้ท่ัวไป หลกั สตู รปริญญาตรี เทคโนโลยโี ยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วิทยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี 2.14.8 เกตเวย์ (GATEWAY) เป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีหน้าที่หลัก คือ ทาให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่าซึ่งมีลักษณะ แตกต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็น เครอื ข่ายเดยี วกนั โดยทว่ั ไปแลว้ ระบบเครือข่ายแต่ละ เครือข่ายอาจแตกต่างกันในหลายกรณี เช่น ลักษณะ การเช่ือมต่อ (CONNECTIVITY) ท่ีไม่เหมือนกัน โพร โทคอลท่ีใชส้ าหรับรบั ส่งขอ้ มูลตา่ งกัน เป็นตน้ หลกั สูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีโยธา

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี 2.14.9 บรดิ จ์ (BRIDGE) เปน็ อุปกรณ์ IWU (INTER WORKING UNIT) ท่ีใช้สาหรบั เชื่อมเครอื ขา่ ยท้องถน่ิ (LOCAL AREA NETWORK หรือ LAN) 2 เครือขา่ ยเขา้ ด้วยกนั ซึง่ อาจจะ ใช้โปรโตคอลที่เหมอื นกนั หรอื ต่างกันก็ได้ 2.14.10 เราเตอร์ (ROUTER) เราเตอรเ์ ปน็ อุปกรณท์ ี่ใช้เชื่อมตอ่ เครอื ข่ายเข้าด้วยกนั ซง่ึ อาจเป็นเครือข่าย เดียวกันหรือขา้ มเครอื ขา่ ยกันโดยการเชื่อมตอ่ กนั ระหว่างหลาย เครอื ขา่ ยแบบน้ีเรยี กวา่ เครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต (INTERNET) 0โดย เครือขา่ ยแตล่ ะเครอื ขา่ ยเรยี กว่า เครือขา่ ยย่อย (SUB NETWORK) ส่วนอุปกรณท์ ี่ใชเ้ ช่อื มตอ่ ระหวา่ งเครอื ขา่ ยเรยี กวา่ IWU (INTER WORKING UNIT) ได้แก่ เราเตอรแ์ ละบริดจ์ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี เทคโนโลยโี ยธา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook