Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบกลุ่มสนใจ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบกลุ่มสนใจ

Published by thungsamornfe, 2021-04-29 07:52:13

Description: สรุปผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบกลุ่มสนใจ

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนรปู แบบกล่มุ สนใจ วชิ าศลิ ปะประดษิ ฐ์จากกระปอ๋ ง ปีงบประมาณ 2564 วนั ท่ี 22 เดือน มกราคม 2564 ถึงวนั ท่ี 29 เดอื น มกราคม 2564 กศน.ตาบลหนองโรง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนมทวน สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั กาญจนบรุ ี

คานา โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ของสานักงาน กศน. เป็นการยกระดับการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ท่ีม่ันคง เป็นบุคคลท่ีมีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเองผู้อ่ืนและสังคมจึงควรมีการประเมินผลกา รจัดการศึกษาอาชีพ เพือ่ การมงี านทา การสรุปผลการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน วิชา ศิลปะประดิษฐ์จากกระป๋อง วันท่ี 22 เดอื น มกราคม 2564 ถงึ วันที่ 29 เดือน มกราคม 2564 ณ บ้านห้วยสะพาน ตาบลหนองโรง อาเภอพนม ทวน จังหวัดกาญจนบุรี รายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรวิชาศิลปะ ประดิษฐ์จากกระป๋อง นี้สามารถนามาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาของ สานักงาน กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ กศน.ตาบลหนองโรง จึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสาร เล่มนี้จะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนและ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมของสานักงาน กศน. ทั้งในการบริหารงานการพัฒนางานการทางานที่ตรง ตามความต้องการของผู้เรยี นผูร้ บั บริการและชมุ ชนและสามารถเผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้ ขอขอบคณุ ผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องและให้ความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามทกุ ท่านไว้ ณ โอกาสน้ีด้วย กศน.ตาบลหนองโรง

สารบัญ หน้า บทนา หลักสตู ร วชิ าศลิ ปะประดษิ ฐ์จากกระปอ๋ ง หลกั สตู ร 21 ชว่ั โมง สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ผสู้ าเร็จการศกึ ษาต่อเน่ืองทีน่ าไปใช้ประโยชน์ ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ านและแนวทางแก้ไขและพัฒนา บญั ชีรายช่ือผเู้ รยี นวิชาชพี หลักสตู รระยะส้ัน ภาคผนวก โครงการ ศลิ ปะประดิษฐ์จากกระป๋อง หลกั สตู ร 21 ช่วั โมง แบบสอบถามความพึงพอใจ วชิ าศลิ ปะประดิษฐจ์ ากกระป๋อง หลักสูตร 21 ชวั่ โมง แบบติดตามผลผจู้ บหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ปงี บประมาณ 2564

บทนา หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พุทธศกั ราช 2545) และ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด จดุ มงุ่ หมาย สาคญั ในการพฒั นาคนไทยให้ได้รับการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกบั การเปลย่ี นแปลง ของ สถานการณ์ปัจจุบัน และอนาคต ท้ังด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม รวมทัง้ การเชอื่ มโยงสงั คมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั โลก จงึ จาเป็นที่จะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ การ เปลี่ยนแปลงของโลก ท้ังด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่ง จาเปน็ ต้องใชว้ ิธกี ารและรปู แบบทีห่ ลากหลาย ตามความ ต้องการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวยั โดย เน้นกระบวนการคิดเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลัก ปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษา ต่อเนื่อง พุทธศักราช 2554 ประกาศ ณ วันท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ.2554 โดยสานักงาน กศน.ได้กาหนดนโยบาย ด้านการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ดงั น้ี หลกั การ 1. มงุ่ เน้นใหก้ ลุม่ เป้าหมายสามารถนาความรู้ท่ีได้รบั จากการศกึ ษาไปใช้ในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชพี พัฒนา ทกั ษะชีวติ และพัฒนาสงั คมและชมุ ชน เพ่อื ใหส้ ามารถอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุข 2. พัฒนาหลักสูตรที่ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็นของ กลมุ่ เป้าหมาย เป็นไปตามสภาพ บรบิ ทชมุ ชนและสังคม รวมถึงนโยบายของทางราชการ 3. จดั กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและ ความพร้อมของ ผู้เรียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งบูรณาการปรัชญาคิด เปน็ และหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งได้ตามความเหมาะสม 4. ยดึ หลักการมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ข่ายและภมู ิปญั ญาในการดาเนินงาน วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เก่ียวกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะ ชีวิต และพัฒนาสงั คม และชุมชน 2. ให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นช่องทางการประกอบอาชีพหรือการต่อยอดอาชีพเดิมให้พัฒนา สามารถพงึ่ พา ตนเองได้ 3. ให้กลุ่มเป้าหมายดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนท่วั ไป กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทวั่ ไป จานวน 8 คน เปา้ หมาย การจดั การศึกษาต่อเน่ือง มีเปา้ หมายเพ่ือใหป้ ระชาชนได้พฒั นาความร้คู วามสามารถ และ ทักษะในการประกอบอาชีพ มีการใช้ความรู้จากภูมิปัญญาและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีทักษะชีวิตท่ีจาเป็น

สาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งมุ่งใช้กระบวนการศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาสังคมและ ชุมชนให้พ่งึ ตนเองไดต้ ามหลักปรัชญาคดิ เปน็ และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รปู แบบการจดั การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรม การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศกึ ษาเพือ่ พัฒนา ทกั ษะชีวติ และการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โดยมีวธิ ีการจัด 2 รูปแบบ คอื 1. รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง โดยมีผู้เรียนจานวน กลมุ่ ละ 6 คนข้นึ ไป 2. รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตร 31 ชั่วโมงข้ึนไป โดยมีผู้เรียน จานวนกลุ่มละ 11 คนขน้ึ ไป แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ คือ 2.1 ชั้นเรียนระยะสั้น เปน็ การจัดหลกั สูตรตง้ั แต่ 31 - 100 ชวั่ โมง 2.2 ชั้นเรียนระยะยาว เป็นการจดั หลักสตู ร 100 ช่วั โมงขึ้นไป งบประมาณ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จากเงินงบประมาณปี 2564 แผนงานยุทธศาสตร์เพอ่ื สนบั สนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาท่ียั่งยืนกิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจา่ ยอืน่ โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน จานวน 5,200 บาท (หา้ พนั สองร้อยบาทถ้วน) ลักษณะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอ พนม ทวน เปน็ ผู้จัด โดยให้ครู กศน.ตาบล เป็นผู้รบั ผดิ ชอบ โดยจัดเป็นกิจกรรม คอื รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพ ชีวิต และส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของประชาชน โดยหลกั สูตรมีความยดื หย่นุ ด้านเน้ือหา สาระ ระยะเวลาเรียน และ สถานที่ ตามความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย หรือชุมชน หรือนโยบายของทางราชการและ พัฒนาต่อยอด อันจะนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิต แก้ปัญหาของผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม การพ่ึงพา ตนเองอย่างยัง่ ยืน และชุมชนเขม้ แข็งตอ่ ไปและมขี ั้นตอนการดาเนินงานดงั นี้ ขนั้ ตอนการวางแผน (Plan) 1. สถานศึกษาเตรียมความพร้อมโดยกาหนดบุคลากรท่ีรับผิดชอบงานการศึกษาต่อเน่ือง กาหนดเปา้ หมาย หรอื วัตถปุ ระสงค์การดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาและงบประมาณทีใ่ ช้ในการดาเนนิ งาน 2. เตรียมผู้เรียนก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง โดยสถานศึกษาจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เรื่อง “คิดเป็น” หรือ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ตนเองว่า กิจกรรมใดในการศึกษา ตอ่ เน่ืองทต่ี อบสนองความตอ้ งการจาเปน็ รายบคุ คล 3. ประสานงานผูเ้ กีย่ วขอ้ ง สถานท่ี การขออนมุ ตั จิ ดั ต้งั กลุ่ม การเตรียมสอื่ วัสดอุ ปุ กรณ์ การ สอน ฯลฯ

ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิตามแผน (Do) 1. ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง ตามท่ีกาหนดไว้ใน 2 รูปแบบ คือ กลุ่มสนใจ และชน้ั เรยี นวชิ าชีพ 2. บันทึกผลการจัดกิจกรรมภายหลังการจัดเสร็จสิ้น เพ่ือรายงานสภาพปัญหา ผลการจัด พร้อมข้อเสนอแนะ แกผ่ ู้บริหารทราบ ขัน้ ตอนการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) 1. ประเมนิ ผลการจัดการศึกษาต่อเนอ่ื ง เปน็ รายกิจกรรม และในภาพรวมของโครงการ 2. รายงานการประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งเปน็ รายไตรมาส และรายปี ขัน้ ตอนการปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act) นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นาการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง แนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ ง การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรม การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งสถานศึกษาสามารถเลือกจัดใน รปู แบบกลุ่มสนใจ และช้ันเรยี นวชิ าชีพ ไดต้ ามความเหมาะสมโดยใช้หลกั สตู รจากแหลง่ ตา่ งๆ ดังน้ี 1. หลกั สตู รทีส่ ถานศึกษาจัดทาขึ้นเอง 2. หลกั สตู รกลางทีส่ านักงาน กศน. จัดทาขึ้น สอ่ื การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. สื่อบุคคล,วิทยากรผชู้ านาญ 3. อปุ กรณ์ประกอบการฝึกทักษะอาชีพ ขอบเขตของการประเมิน ดา้ นหลักสตู รเน้อื หา เป็นการประเมินผลเก่ียวกับความเหมาะสมของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ ของโครงการ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร กิจกรรมท่ีจัดมีความเหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตรและเนื้อหา มีสื่อ ประกอบการเรียนรู้ วิทยากรผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน มีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลาย โดยเน้นที่การปฏิบัติจริง รวมท้ังความพึงพอใจของผู้เรียน เพื่อบรรลุเป้าหมายสาคัญ ของการจัดการศึกษา คอื 1. ความรคู้ วามเขา้ ใจ 2. ปฏบิ ตั ไิ ด้ นาไปใช้ได้ 3. ความพงึ พอใจ 4. ดา้ นระยะเวลา

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ผลจากการประเมินคร้ังนี้ จะเป็นแนวทางในการจัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ของ กศน.ตาบลหนองโรง ให้สามารถดาเนินโครงการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมครง้ั ต่อไป 1. ควรมีจติ อาสาประจาตาบลเพือ่ จะไดป้ ระสานงานและประชาสมั พันธ์ งาน กศน.ไดอ้ ย่างทัว่ ถึง 2. กาหนดกลุ่มเปา้ หมายใหช้ ดั เจน พรอ้ งทัง้ การจดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ ในการฝึกอบรม ที่ เหมาะสมกบั ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม อย่างทั่วถึง 3. เตรียมความพร้อมด้านวัสดุอุปกรณ์เพื่อท่ีจะได้สะดวกในการจัดการเรียนการสอนในการ จัดกจิ กรรมในครง้ั ต่อไป โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลกั สูตร 21 ช่วั โมง โครงการ/กิจกรรม วัน/เดอื น/ปที ่ีจดั กจิ กรรม สถานทีจ่ ดั กิจกรรม แผน(คน) ผล(คน) งบประมาณท่ใี ช้ 1.ศลิ ปะประดิษฐ์จากกระปอ๋ ง 22 ม.ค – 29 ม.ค 2564 บ้านห้วยสะพาน 78 5,200

หลักสูตรตอ่ เน่อื ง หลักสูตรอาชีพ ศลิ ปะประดิษฐ์ จานวน 21 ช่วั โมง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนมทวน ความเปน็ มา เหตุผล การจดั การศึกษาอาชีพในปัจจบุ ันมีความสาคญั มาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ เขม้ แข็งให้แก่เศรษฐกจิ ชุมชน ปัจจุบันคนส่วนมากมีวิธีหรือกระบวนการในการทามาหากินในรูปแบบท่ีแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็น การทางานในหนว่ ยงานของภาครฐั หรือเอกชน ไปจนกระทั่งธรุ กิจสว่ นตัว เพือ่ สรา้ งรายได้ใหก้ บั ครอบครัว ซึง่ มี การแข่งขันกันมากในธุรกิจใหญ่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจแฟชั่นต่าง ๆ ซ่ึงคนไทยให้ความนิยมมาก เน่ืองจากนิยม ตามกระแส ยึดหลักค่านิยมแบบผิด ๆ แต่เม่ือย้อนกลับมาทบทวนหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการ ดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด โดยเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงจากปัญหาค่านิยมต่าง ๆ ส่งผลให้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนมทวน เห็นความสาคัญในการจัดหาอาชีพ โดย การจัดทาหลักสูตรวิชาศิลปะประดิษฐ์จากกระป๋องซ่ึงสามารถทาให้คนไทยหันมานิยมของไทยได้อีกทางหนึ่ง เพอ่ื ใหร้ ายได้กลบั มาหมุนเวียนภายในชุมชน หรือภายในประเทศตอ่ ไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนมทวน ได้ตระหนักถึงการมีอาชีพของ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ จึงได้จัดทาหลักสูตรวิชาศิลปะประดิษฐ์จากกระป๋องเพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน พื้นท่ี ไดม้ อี าชีพหลกั เป็นการสร้างพนื้ ฐานทางอาชพี สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต หลกั การของหลักสูตร 1. เป็นการจัดหลักสูตรดา้ นพาณิชยกรรมและการบริการ ที่มีความยดื หยนุ่ ดา้ นการจัดกระบวนการ เรียนรแู้ ละการวดั ผลประเมินผล โดยบูรณาการให้สอดคล้องกบั ศักยภาพของชมุ ชนใน 5 ด้าน คอื ศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพน้ื ที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของพ้ืนทีต่ ามลักษณะภูมิ ประเทศ ศกั ยภาพดา้ นศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี และวิถชี ีวิต และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์ 2. การจัดการศึกษาตามหลักสตู รวิชาศลิ ปะประดษิ ฐ์จากกระป๋องมงุ่ เน้นกลุ่มเป้าหมายประชาชนผู้ไม่มี อาชพี หรือผู้ที่ทอี าชีพแต่ต้องการพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมั่นคงย่ิงขน้ึ 3. เป็นการสง่ เสรมิ ความร่วมมือในการดาเนนิ งานรว่ มกบั เครอื ข่าย 4. เป็นการส่งเสริมให้มีการเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณเ์ ขา้ สู่หลักสตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 5. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ม่งุ เน้นการอบรม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน การฝึกปฏิบตั ิ การเรียนร้ดู ้วย ตนเอง เพื่อพฒั นากลมุ่ เป้าหมายให้มคี วามพรอ้ มในการประกอบอาชพี ใหเ้ กดิ ความเข้มแข็ง มั่นคง

จุดม่งุ หมาย 1. เพ่ือเพิม่ พูนความรปู้ ระสบการณ์และทักษะอาชีพ 2. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถทาตะกร้าจากกระป๋องเบยี ร์ได้ คนละ 1 แบบ 3. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปตอ่ ยอดเปน็ อาชีพเสรมิ 4. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสามารถทาใชเ้ องในครวั เรอื นได้ 5. กลุ่มเป้าหมาย 1. ผทู้ ี่ไมม่ ีอาชีพ 2. ผทู้ ม่ี ีอาชีพและต้องการพฒั นาอาชพี 3. ผู้ทม่ี อี าชีพและต้องการเปล่ยี นอาชพี ระยะเวลา รวมท้ังหมด 21 ช่วั โมง - ภาคทฤษฎี 4 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ 17 ชวั่ โมง

โครงสรา้ งหลักสูตร ท่ี เรือ่ ง รายละเอยี ดเนอ้ื หา จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 ค ว า ม รู้ ท่ั ว ไ ป วัสดุ อุปกรณ์ในการ 1. ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม รู้ 1. วิ ท ย า ก ร บ ร ร ย า ย เ ร่ื อ ง 1 - ข อ ง ก า ร ท า ทาศิลปะประดิษฐ์ พื้นฐานเกี่ยวกับการทา ความสาคัญในการประกอบอาชีพ ศิลปะประดิษฐ์ จากกระปอ๋ ง ศิลปะประดิษฐ์จาก ความเป็นไปได้การประกอบอาชีพ จากกระป๋อง ก ร ะ ป๋ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง และการตัดสินใจในการเลือกอาชีพ ถูกตอ้ ง ศิลปะประดิษฐจ์ ากกระป๋อง 2. ผู้เรียนสามารถบอก 2. ผู้เรียนและวิทยากรแลกเปล่ียน วัสดุ อุปกรณ์ในการทา เรียนรู้และวิเคราะห์อาชีพท่ีจะ ศิลปะประดิษฐ์จาก สามารถเลือกประกอบอาชีพได้ใน - ก ร ะ ป๋ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ชมุ ชน ถูกต้อง 2 ข้ั น ต อ น วิ ธี ก า ร ท า ศิ ล ป ะ 1. ผู้เรียนสามารถทา 1. วิทยากรบรรยายและสาธิต 2 17 กระบวนการทา ประดิษฐ์จากกระป๋อง ศิลปะประดิษฐ์จาก วิธีการทาศิลปะประดิษฐ์ จาก ศิลปะประดิษฐ์ ก ร ะ ป๋ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง กระปอ๋ ง และใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ัตติ าม จากกระปอ๋ ง ถกู ต้อง 2. วิทยากรประเมินความรู้ผู้เรียน จากชิน้ งานและการสังเกต 3. ผู้สอนสรุปผลการจัดการเรียน การสอน 3 ก า ร จัดการการตลาดการ 1. ผู้เรียนสามารถเพ่ิม 1. วิ ท ย า ก ร บ ร ร ย า ย จั ด ก า ร 1 - ประชาสมั พนั ธ์ ประชาสัมพันธ์และ มู ล ค่ า สิ น ค้ า ก า ร การตลาดการประชาสัมพันธ์และ การส่งเสริมการขาย ออกแบบ การสง่ เสริมการขายและบริการได้ และบริการ การประยกุ ต์ใช้ 2. ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ จัดการการตลาดการ ประชาสัมพนั ธแ์ ละการ ส่งเสริมการขายและ บรกิ ารได้ รวมชั่วโมง 4 17 สอื่ การเรยี นรู้ ในการจัดการเรยี นรู้ ใช้ส่ือการเรยี นรู้หลากหลาย ไดแ้ ก่ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน

การวดั ผลประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ 2. การประเมินผลงาน เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1. มีการเรียนและฝึกปฏิบตั ิตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผา่ นตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 3. ผลงานผา่ นการประเมนิ ทดสอบที่มีคุณภาพตามหลกั เกณฑ์ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 1. ใบสมัคร 2. หลกั ฐานการวดั ผลประเมนิ ผล 3. วุฒิบัตร ออกโดยสถานศึกษา ลงชอ่ื .................................................. (นางจริ าภา วชิ าชาญ) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอพนมทวน

สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รระยะสัน้ กลุ่มสนใจ วชิ าศิลปะประดษิ ฐ์กระปอ๋ ง จานวน 21 ชั่วโมง ปงี บประมาณ 2564 ศูนยก์ ารศึกนอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนมทวน ****************************************** 1. ความม่งุ หมายของการทาแบบประเมินความพึงพอใจผเู้ รยี น/ผู้รับบรกิ ารการจดั กจิ กรรม เพ่ือรวบรวมความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้รับบริการการจัดกิจกรรมในประเด็นต่าง ๆ เพ่ือทราบ ข้อมูลการบริหารการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา และนาข้อมูลที่ได้รับมาสรุปเพ่ือปรับปรุง พัฒนาการ เกย่ี วกับการจดั กจิ กรรม ต่อไป 2. วธิ ีการประเมินความพึงพอใจผู้เรียน/ผู้รับบริการการจัดกจิ กรรม 2.1 แบบสารวจความคดิ เหน็ เก่ยี วกับการจัดกจิ กรรมจาก ผู้เรยี น ผู้รบั บริการ และประชาชน 2.2 เครอื่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู เป็นแบบประเมนิ ความพงึ พอใจผู้เรยี น / ผรู้ ับบรกิ าร การจดั กจิ กรรมสอบถามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการให้บรกิ ารโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป 1. เพศ - เพศชาย - เพศหญงิ 2. อายุ - อายุ 15 – 39 ปี - อายุ 40 – 59 ปี - อายุ 60 ปขี ึ้นไป 3. การศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดบั ปริญญาตรี 4. อาชีพ - รบั จ้าง - คา้ ขาย - เกษตรกรรม - รบั ราชการ - อน่ื ๆ

สว่ นท่ี 2 สรปุ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ เกณฑก์ ารตดั สนิ ความพึงพอใจ 5 ระดับ ดีมาก 4 ระดบั ดี 3 ระดบั พอใช้ 2 ระดบั ควรปรบั ปรุง 1 ระดับ ตอ้ งปรบั ปรุง แบง่ ประเดน็ การประเมินแบง่ ออกเปน็ 4 ตอน 15 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1. ความพึงพอใจด้านเน้ือหา 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 3. ความพงึ พอใจต่อวิทยากร 4. ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล มอบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจผเู้ รยี น / ผ้รู บั บริการการจดั กิจกรรมแก่ ผ้เู รยี น ผูร้ บั บริการ และประชาชน จานวน 8 คน ตอบแบบแบบประเมนิ ความพึงพอใจผ้เู รยี น / ผรู้ บั บริการการจดั กิจกรรม แล้วนามาเก็บรวบรวม สรปุ ผลขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ใชส้ ถติ ิร้อยละทาการวเิ คราะห์ สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าร้อยละและความถี่ คา่ รอ้ ยละ = จานวนระดับความคิดเห็น x 100 8

สรปุ ผล จากการวเิ คราะหข์ ้อมูลแบบประเมินความพงึ พอใจผ้เู รียน / ผรู้ ับบรกิ ารการจดั กจิ กรรม สรปุ ผลการ ประเมินได้ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม 1 เพศ เพศ จานวน รอ้ ยละ รวม ชาย 1 คน 12.50 12.50 หญงิ 7 คน 87.50 87.50 รวม 8 คน 100.00 100.00 2 อายุ อายุ จานวน รอ้ ยละ รวม อายุ 15–29 ปี - - - อายุ 30–39 ปี - - - อายุ 40–49 ปี - - - อายุ 50–59 ปี 12.50 อายุ 60 ปีข้นึ ไป 1 คน 12.50 87.50 7 คน 87.50 100.00 รวม 8 คน 100.00 รวม 3 การศกึ ษา จานวน รอ้ ยละ 100.00 8 คน 100.00 100.00 ระดับ 8 คน 100.00 ประถมศกึ ษา รวม จานวน รอ้ ยละ 100.00 รวม 8 คน 100.00 100.00 8 คน 100.00 4 อาชีพ อาชพี เกษตรกร รวม

สว่ นท่ี 2 สรปุ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ เกณฑ์การตดั สนิ ความพงึ พอใจ 5 ระดบั ดมี าก 4 ระดับ ดี 3 ระดบั พอใช้ 2 ระดบั ควรปรบั ปรงุ 1 ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ ๑ ๒๓ ๔ ๕ ประเด็นวดั ความพึงพอใจ น้อยท่สี ุด นอ้ ย ปานกลาง ดี ดีมาก ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1.เนื้อหาตรงตามความต้องการ 5 คน 3 คน 62.50 % 37.50 % 2. เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 6 คน 2 คน 75.00 % 25.00 % 3. เนื้อหาปจั จุบนั 3 คน 5 คน 37.50 % 62.50 % 4. เน้ือหามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการ 2 คน 6 คน พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 25.00 % 75.00 % ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5. การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 5 คน 3 คน 62.50 % 37.50 % 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 3 คน 5 คน 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 37.50 % 62.50 % 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 5 คน 3 คน 62.50 % 37.50 % 9. วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 5 คน 3 คน 62.50 % 37.50 % 5 คน 3 คน 62.50 % 37.50 %

ประเดน็ วดั ความพงึ พอใจ 1 2 3 4 5 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ต้อง ควร พอใช้ ดี ดีมาก ปรับปรงุ ปรบั ปรงุ 10. วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องท่ี 2 คน 6 คน ถา่ ยทอด 25.00 % 75.00 % 11. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้สือ่ และ ซักถาม 7 คน 1 คน 12. วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม 87.50 % 12.50% ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 4 คน 4 คน 13. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อานวยความ 50.00 % 50.00 % สะดวก 14. การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ให้เกดิ 4 คน 4 คน การเรยี นรู้ 50.00% 50.00 % 15. การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 3 คน 5 คน 37.50 % 62.50 % 4 คน 4 คน 50.00 % 50.00 % จากตาราง พบว่าการประเมินความพึงพอใจผ้เู รยี น/ผู้รบั บริการการจดั กิจกรรม โดยต้ังประเด็นไว้ 4 ตอน 15 ประเดน็ ผลปรากฏ ดังน้ี

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา ประเด็นที่ 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ ส่วนใหญอ่ ย่ใู นระดับดี จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.50 รองลงมาระดบั ดีมาก จานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 ประเด็นที่ 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดบั ดี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 และ ระดับดีมาก จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ประเดน็ ท่ี 3 เนื้อหาปจั จุบัน ส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ดีมาก จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 62.50 รองลงมา ระดับดี จานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 37.50 ประเด็นที่ 4 เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.00 รองลงมาคือระดับดี จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 25.00 สรุปผลการประเมนิ เกณฑ์ท่ี 1 ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา ระดบั ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 ระดบั ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 ระดับน้อย คดิ เป็นร้อยละ 0.00 ระดบั นอ้ ยที่สดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.00

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ประเด็นที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับดีมาก จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.50 และระดับดี จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.50 ประเดน็ ที่ 2 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ส่วนใหญ่อยใู่ นระดับดมี าก จานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 62.50 รองลงมาคือระดบั ดี จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ประเดน็ ที่ 3 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา สว่ นใหญ่อย่ใู นระดบั ดี จานวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 62.50 ระดบั ดมี าก จานวน 3 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 37.50 ประเด็นที่ 4 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย สว่ นใหญ่อยใู่ นระดับดี จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อย ละ 62.50 รองลงมาคือระดบั ดีมาก จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ประเดน็ ท่ี 5 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับดี จานวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.50 รองลงมาคือระดบั ดมี าก จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 สรปุ ผลการประเมินเกณฑท์ ่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม ระดบั ดมี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 47.50 ระดับดี คดิ เป็นร้อยละ 52.50 ระดบั ปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.00 ระดบั นอ้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 ระดับนอ้ ยท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.00

ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร ประเด็นท่ี 1 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรือ่ งท่ีถ่ายทอด สว่ นใหญ่อยใู่ นระดบั ดีมาก จานวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 รองลงมาคือระดับดี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ประเด็นท่ี 2 วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอื่ และซกั ถาม ส่วนใหญอ่ ยูใ่ นระดบั ดีมาก จานวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.50 รองลงมาคือระดับดี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.50 ประเดน็ ท่ี 3 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซักถาม ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ดีมาก จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.00 รองลงมาคือระดับดี จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 สรุปผลการประเมินเกณฑท์ ่ี ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร ระดับดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 70.83 ระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 29.17 ระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 ระดับนอ้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 ระดับน้อยท่ีสุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.00

ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ประเดน็ ที่ 1 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสิง่ อานวยความสะดวก วัตถปุ ระสงค์ สว่ นใหญ่อยู่ในระดับดี จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาคือระดับดมี าก จานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 ประเด็นท่ี 2 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ใหเ้ กดิ การวตั ถุประสงค์ สว่ นใหญ่อยู่ในระดับดีมาก จานวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 62.50 ระดบั ดี จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.50 ประเดน็ ที่ 3 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา วตั ถปุ ระสงค์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดบั ดีมาก จานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 ระดบั ดี จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 สรุปผลการประเมินเกณฑ์ที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก ระดับดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 54.17 ระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 45.83 ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.00 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 ระดับน้อยทีส่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 0.00



คณะผู้จัดทา ทป่ี รึกษา ผู้อานวยการ ศูนย์ กศน.อาเภอพนมทวน 1.นางสาวจิราภา วชิ าชาญ ครู กศน.ตาบลหนองโรง คณะทางาน ครู กศน.ตาบลหนองโรง 1.นางสาวชิรตา แก้วพรายงาม รวบรวมและจดั ทารูปเล่ม 1.นางสาวชริ ตา แกว้ พรายงาม

วชิ า ศลิ ปะประดิษฐก์ ระปอ๋ ง หลกั สตู ร 21 ชั่วโมง วันท่ี 22 เดอื น มกราคม 2564 ถึงวันท่ี 29 เดอื น มกราคม 2564 ณ บ้านห้วยสะพาน ม. 2 ตาบลหนองโรง อาเภอพนมทวน จังหวดั กาญจนบรุ ี

วิชา ศลิ ปะประดษิ ฐก์ ระปอ๋ ง หลักสตู ร 21 ช่ัวโมง วนั ท่ี 22 เดือน มกราคม 2564 ถึงวนั ท่ี 29 เดอื น มกราคม 2564 ณ บา้ นห้วยสะพาน ม. 2 ตาบลหนองโรง อาเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ี