Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานธรุการและงานสารบรรณ

คู่มือปฏิบัติงานธรุการและงานสารบรรณ

Published by odett_v1, 2023-03-30 02:40:00

Description: คู่มือปฏิบัติงานธรุการและงานสารบรรณ

Search

Read the Text Version

คํานาํ องคการบริหารสว นตาํ บลวดั ไทรย เปนองคการบริหารสวนตําบลขนาดใหญ การติดตอ ประสานงานโดยใชหนังสือราชการและเอกสารตางๆ จึงมีปริมาณมาก กลาวคือ มีหนังสือรับในแตละป เฉล่ียไมต่ํากวา 2,000 กวาเรื่อง, หนังสือท่ีสงออกไปจากหนวยงานเฉล่ียไมตํ่ากวา 1,200 เร่ือง, บนั ทึกขอ ความเฉลีย่ ไมตาํ่ กวา 1,000 กวา เร่ือง นอกจากนีย้ งั มีคํารองและเอกสารตา งๆ ซึ่งมีปริมาณมาก ในแตล ะป หากการบรหิ ารจดั การงานธรุ การไมม ีประสิทธิภาพ อาจสงผลใหเ กดิ ความเสียหายแกหนว ยงาน เชน ประชาชนไมไดรับการตอบสนองในการแกไขปญหาหรือความเดือดรอนไดทันตอเหตุการณ การรายงานผลตางๆ สงไมทันภายในกําหนดระยะเวลา โดยเฉพาะหนังสือซึ่งมีช้ันความเร็วกําหนด หากเจาของเร่ืองไดรับหรือปฏิบัติลาชาจะสงผลเสียตอประโยชนราชการ จากปริมาณงานธุรการซ่ึงมี ปริมาณมากดงั กลา ว องคการบรหิ ารสว นตําบลวดั ไทรย จึงมีเจา หนา ทีร่ ับผิดชอบงานธุรการโดยเฉพาะใน แตละสวนราชการ ซ่ึงคูมือเลมน้ีจะขอกลาวเฉพาะในการปฏิบัติงานธุรการของสํานักงานปลัด เนื่องจากผูเขียนเองไดนําข้ันตอนการปฏิบัติงานจริงจากการปฏิบัติงานธุรการขององคการบริหาร สวนตําบลวัดไทรยที่ผา นมา และไดว ิเคราะหกระบวนงานธรุ การจากการไดป ฏิบตั งิ านจริง โดยนําระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 และความรูความสามารถดานงานเอกสารมาประยุกตปรับปรุงเพ่ือใชในการบริหารงานธุรการ เพ่ือให ผปู ฏบิ ัตงิ านและผูเกย่ี วขอ งไดใชเ ปนแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านรว มกนั ไดอยา งมีประสิทธภิ าพ หากขอ ความของคมู อื เลมน้ี มคี วามผดิ พลาดประการใด หรือหากมขี อ เสนอแนะทจี่ ะเปน ประโยชนต อการปรบั ปรุงคมู ือการปฏิบตั งิ านของหนวยงานธรุ การ ขอนอ มรบั ไวดว ยความยินดแี ละพรอมท่ี จะปรบั ปรงุ แกไข เพือ่ ความถกู ตองสมบรู ณต อ ไป งานธุรการ สิงหาคม 2561

สารบญั เร่อื ง หนา 1. กระบวนการจัดการงานธรุ การ 1 2. บทบาทหนาทค่ี วามรบั ผิดชอบ 2 3. งานสารบรรณและการปฏิบัตงิ านธรุ การในสาํ นักงาน 3–8 4. ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ านรบั หนงั สอื ราชการ 9 5. ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านสง หนงั สอื ราชการ 10 6. ขั้นตอนการเสนองาน (หนา หอง) 11 - 12 7. ความรูเ บ้ืองตน ทจี่ ําเปน ในการปฏบิ ัติงานพมิ พ 13 - 14 8. การพมิ พห นงั สอื ราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพมิ พในเครอื่ งคอมพวิ เตอร 15 – 19 9. แบบฟอรม ตา งๆ 10. ภาคผนวก

1 กระบวนการจดั การงานธุรการ 1. วตั ถุประสงค 1.1 เพื่อใชเปนคูมือประกอบการปฏิบัติงานธุรการของสํานักงานปลัด องคการบริหารสวน ตาํ บลวัดไทรย ใหม ีมาตรฐาน และถอื ปฏบิ ตั ใิ นแนวทางเดียวกนั 1.2 เพอ่ื เปน ประโยชนในการประเมินผลการปรบั ปรุงคณุ ภาพงานธุรการและงานสารบรรณของ หนวยงานใหเปนมาตรฐานเดียวกนั 1.3 เพอื่ ใหผูควบคุมระบบงานทราบความตองการของผูใชงานระบบเพ่ือนําไปปรับปรุงพัฒนา ระบบใหม ีความทันสมัย รวดเรว็ ถกู ตอง และมปี ระสิทธภิ าพ 2. ขอบเขต ครอบคลุมถึงขั้นตอนการรับ – การสงหนังสือ การเกษียณเรื่อง เพื่อนําเสนอผูบริหาร/ หวั หนา สว นราชการ การแจง เวียนหนังสือ การออกเลขหนังสือ การออกเลขคําสั่งตางๆ รวมทั้ง การจัดสงหนังสือทางไปรษณีย หรอื การจดั สง หนังสือโดยเจา หนาท่ี 3. หนาท่ีของงานธรุ การ 3.1 เปนหนว ยงานกลางที่ทาํ หนาทใ่ี นการเปน แหลงขอ มลู การรบั – สง หนงั สือราชการของหนว ยงาน 3.2 ควบคุม ดูแล ติดตามจดั เก็บรวบรวมขอ มูล และเปน แหลง สบื คนหลกั ฐาน และขอ มูลงานสาร บรรณของหนว ยงาน 3.3 คัดกรอง พิจารณาแยกหนังสือราชการขอแตละสว นราชการ เพื่อนาํ เสนอผูบริหาร 3.4 ตรวจสอบความถูกตอง เหมาะสมของการจัดทําหนังสือราชการ เพ่ือใหระบบงานเอกสาร ขององคก รเปน ไปอยางมีมาตรฐาน และเปนไปในแนวทางเดยี วกนั 3.5 รบั – สงหนงั สือราชการและนาํ แจง ใหผเู ก่ยี วขอ งรับทราบโดยเร็ว 4. ความรับผดิ ชอบ งานธรุ การ สํานกั งานปลัด องคการบรหิ ารสวนตําบลวดั ไทรย มหี นาท่ี 1) รับ – สง หนงั สือราชการ 2) ลงทะเบียนรบั หนังสือราชการ /บนั ทึก 3) นาํ เสนอผูท่ไี ดร บั มอบหมาย/รา งโตตอบหนังสือ 4) นําเสนอหนังสือ รบั – สง ใหแกห วั หนาสว นราชการ/ผบู รหิ าร 5) จัดทําหนงั สอื แจงเวียนหนวยงานทเ่ี กย่ี วของ 6) ออกเลขทหี่ นงั สอื กอ นจัดสง 7) จดั เกบ็ ขอ มลู หนงั สือรบั – สง ในระบบคอมพิวเตอรเ พอ่ื การคนหาหนงั สอื ราชการ ตา งๆ เปนหลกั ฐานในการอา งอิง 8) สง หนังสอื ราชการดวยวธิ กี ารตา งๆ เชน ทางไปรษณยี  หรอื โดยเจาหนา ท่ี 9) ใหบ รกิ ารอาํ นวยความสะดวกดา นงานเอกสารแกสว นราชการทีเ่ ก่ียวขอ ง และผูมาตดิ ตอ

2 บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ บทบาทหนาท่ี ลงนามพจิ ารณาสงั่ การ ผูรับผิดชอบ ผูบริหาร นายก อบต.วัดไทรย /ปลัด อบต.วัดไทรย หัวหนา สวนราชการ ผูอํานวยการกองคลงั ,ชา ง ,หวั หนา สํานักปลัด พจิ ารณากล่นั กรองเพ่ือนําเสนอ หนา หอ งนายกฯ พิจารณาตรวจสอบ, กลน่ั กรองเอกสารกอ น เจา พนกั งานธุรการชํานาญงาน นําเสนอ ระดับปฏิบัติงาน จดั ทําเอกสาร ลงทะเบยี นรบั -สง และรบั เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน เรอื่ งเพอ่ื ดาํ เนินการ และผชู วยเจา พนักงานธรุ การ

3 งานสารบรรณและการปฏิบัติงานธุรการในสํานกั งาน งานสารบรรณ งานสารบรรณ เปนงานเกี่ยวกับหนังสือ นับตั้งแตคิด ราง เขียน แตง พิมพ จดจํา ทําสําเนา รับ สง บนั ทกึ ยอ เรื่อง เสนอส่งั การ โตตอบ จัดเก็บ คน หา ทําลาย 1. ความสาํ คญั ของงานสารบรรณ 1. เปนเอกสารราชการ บนั ทกึ งาน หลกั ฐานราชการอน่ื ๆ ของหนว ยงาน 2. เปนเครื่องมอื ท่ใี ชใ นการอา งองิ 3. เปน เครอ่ื งมอื ท่ชี ว ยในการบริหารราชการ 4. เปนหลักฐานราชการมีคณุ คา 5. เปน เครื่องมอื ทใ่ี ชในการติดตอ สื่อสาร 2. สาระสําคัญของสารบรรณตามระเบียบงานสารบรรณ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 มีสาระสําคัญ ดงั น้ี 2.1 ความหมายของหนังสือราชการ เปนเอกสารทีห่ ลักฐานในราชการ ไดแก 1. สวนราชการถึงสว นราชการ 2. สวนราชการถงึ บุคคลภายนอก 3. หนวยงานอื่นถงึ สว นราชการ 4. เอกสารทที่ างราชการจัดทําขึน้ เพื่อเปน หลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจดั ทําข้นึ ตามกฎหมาย ระเบียบหรอื ขอบังคบั 2.2 ชนิดของหนังสือราชการ หนงั สือราชการมี 6 ประเภท ไดแ ก 1. หนงั สอื ภายนอก คอื หนงั สอื ตดิ ตอ ราชการท่ีเปนแบบพิธีการ ใชกระดาษ ครฑุ เปน หนังสอื ติดตอ ระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถงึ หนวยงานอื่นซง่ึ มิใชสว นราชการ หรอื มี ถึงบคุ คลภายนอก 2. หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือ ภายนอก เปน หนังสือติดตอ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดยี วกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ 3. หนังสือประทบั ตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงช่ือของหัวหนา สวนราชการ ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการ ระดับกองหรือผูไดรับมอบหมาย เปน ผรู บั ผดิ ชอบลงช่ือยอ กํากบั ใชใน กรณีทไ่ี มใชเรื่องสาํ คัญ ไดแ ก การขอรายละเอยี ดเพมิ่ เติม การสําเนา หนังสือ ส่ิงของ เอกสาร การตอบรับทราบที่ไม เก่ียวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน การแจงผลงานที่ ดําเนนิ การไปแลว การเตือนเรอ่ื งท่คี าง เร่อื งหัวหนาสว นราชการ ระดับกรมขนึ้ ไปกําหนดโดยทาํ เปนคําสั่ง 4. หนังสือสง่ั การ ไดแก (คาํ สั่ง ระเบยี บ ขอ บังคบั ) 1. คาํ สัง่ คอื บรรดาขอความท่ีผูบังคับบัญชาส่ังการใหปฏิบัติโดยชอบ ดวย กฎหมาย 2. ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาท่ีไดวางไวเพ่ือเปน หลักปฏิบัติงาน เปน ประจาํ 3. ขอ บังคบั คอื บรรดาขอความทผี่ ูมอี ํานาจหนาที่กําหนดไวใช

4 5. หนังสอื ประชาสัมพนั ธม ี 3 ชนดิ ไดแ ก 1. ประกาศ เพ่ือประกาศหรือชแ้ี จงใหทราบ 2. แถลงการณ เพอื่ ทําความเขา ใจ 3. ขาว เผยแพรใ หท ราบ 6. หนังสอื ท่ีเจา หนาทท่ี าํ ขน้ึ หรอื รบั ไวใ นราชการ มี 4 ชนดิ ไดแ ก 1. หนงั สือรับรอง ไดแ ก หนังสือท่ีสวนราชการออกใหเพ่ือรับรองแก บคุ คล นติ ิ บุคคลหรือหนว ยงาน เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคอ ยา งใดอยางหนง่ึ 2. รายงานการประชุม คือ บันทึกความคิดเห็นของผูท่ีมาประชุม ผเู ขารวม ประชมุ และมตทิ ี่ประชุมไวเปนหลักฐาน ระเบยี บวาระการประชมุ ประกอบไปดวย 5 วาระ ไดแก 1. วาระที่ 1 เรื่องประธานแจงใหทราบ 2. วาระที่ 2 เรอ่ื งรบั รองรายงานการประชุม 3. วาระท่ี 3 เรื่องเสนอใหท ่ปี ระชุมทราบ 4. วาระท่ี 4 เรือ่ งเสนอใหท ป่ี ระชมุ พจิ ารณา 5. วาระที่ 5 เร่ืองอ่ืนๆ (ถามี) การจดรายงานการประชุม สามารถกระทําไดหลายแบบ ไดแก จดละเอียดทุก คําพูดของผูเขาประชุมพรอมมติ จดคําพูดยอท่ีเปน ประเด็นสําคัญพรอมมติ หรอื จดแตเ หตุผล พรอ มมตทิ ป่ี ระชมุ 3. บันทกึ ใชกระดาษบันทึกขอความ มลี ักษณะ ดงั น้ี 1. ขอความทีผ่ ูใตบังคบั บัญชา เสนอตอ ผบู ังคับบัญชา 2. ผบู ังคบั บญั ชาสงั่ การใหผใู ตบ ังคบั บัญชา 3 . เจา หนา ทห่ี รอื หนว ยงานระดบั ต่าํ กวา กรมตดิ ตอกันในการปฏิบัติ 4. หนังสอื อื่น เชน ภาพถาย ฟลม แถบบันทึกเสยี ง แถบบันทกึ ภาพ หนงั สือ บุคคลภายนอกทเ่ี จาหนา ท่รี บั เขาทะเบยี นหนังสือราชการ สัญญา คาํ รอ ง เปน ตน 2.3 ช้ันความเรว็ ของหนังสอื ราชการ หนงั สอื ราชการท่ีตองปฏิบัติ ใหเ ร็วกวา ปกติ (รวดเร็วเปน พเิ ศษ) แบงเปน 3 ประเภท ไดแก 1. ดวนทสี่ ุด เปนหนงั สือใหเ จาหนา ทปี่ ฏบิ ตั ใิ นทนั ทที ี่ไดรับหนังสอื น้นั 2. ดว นมาก เปนหนังสือใหเจา หนาทป่ี ฏิบัตโิ ดยเร็ว 3. ดว น เปนหนังสอื ใหเจาหนา ท่ีปฏบิ ตั เิ รว็ กวา ปกตเิ ทา ที่จะทาํ ได 2.4 การรบั หนงั สอื 1. จัดเรยี งลําดับความสาํ คญั และความเรง ดว นกอน 2. ประทับตราหนงั สือ โดยตรารับมี ขนาด 2.5 * 5 ซ.ม. มรี ายการดังน้ี - เลขทรี่ บั - วัน เดอื น ป ทรี่ บั หนงั สือ - เวลา ใหล งเวลาทร่ี ับหนังสือ

5 2.5 การสง หนังสอื 1. เจาหนา ทต่ี รวจความเรียบรอ ย 2. เจา หนาทีส่ ารบรรณกลางรับเร่ืองและดําเนนิ การ 3. ลงทะเบียนรับสง หนงั สือ 4. ลงวนั เดอื นปร ับสงหนังสือ 2.6 การเก็บหนงั สอื 1. การเก็บหนังสือราชการแบง ออกเปน เกบ็ ระหวางปฏบิ ัติ เก็บเมือปฏิบัติเสร็จ แลว และ เก็บเพอ่ื รอการตรวจสอบ 2. การเกบ็ หนงั สือเม่ือปฏิบัติเสร็จสิ้นแลว แยกเปน 2 ลักษณะ ไดแกการเก็บ ระหวา งป และการจัดเกบ็ เม่ือสิน้ ป 3. การเก็บระหวา งป คือ การเก็บหนงั สือราชการที่ปฏิบัตสิ าํ เรจ็ ส้นิ แลว และยัง อยูระหวาง ปปฏิทินท้ังนี้เพ่ือใหเกิดความสะดวกและคลองตัวในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีสามารถ คน หาเร่ืองเดิมไดอยางงาย และรวดเร็ว ตลอดจนสะดวกในการควบคุม ติดตามงานของหวั หนาหนวยงาน 4. การจัดเก็บหนังสือระหวางป ใหเจาหนาที่ผูเปนเจาของเรื่องน้ันๆ เปนผูจ ัดเก็บโดยแยก เขา แฟม ตามรหสั หมวดหมูหนังสือ กลมุ เร่อื งและกลุมยอ ย 2.7 อายกุ ารเก็บหนังสือ โดยปกติใหเกบ็ ไว 10 ป ยกเวนกรณดี ังนี้ 1. หนังสือท่ีตองสงวนไวเปนความลับ ใหปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการรักษา ความ ปลอดภยั แหงชาติ หรอื ระเบียบวาดวยการรกั ษาความลับของทางราชการ 2. หนังสือที่เปนหลักฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาล พนักงานสอบสวน เกบ็ ตาม กฎหมายระเบียบแบบแผนนัน้ ๆ 3. หนังสือที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร ตอการศึกษาคนควา วินัย ใหเก็บ ตลอดไปหรือ ตามที่หอจดหมายเหตแุ หงชาตกิ ําหนด 4. หนงั สือทีป่ ฏิบัติเสร็จสนิ้ แลว และเปนคูสําเนาท่ีมีตนเรื่องจะคนไดจากท่ีอ่ืน เกบ็ ไวไม นอ ยกวา 5 ป 5. หนงั สอื ไมสําคัญเปน เร่ืองธรรมดาสามัญ เกิดข้ึนเปนประจําและดําเนินการ เสรจ็ แลว เก็บไวไ มน อ ยกวา 1 ป 6. หนังสือเก่ียวกบั การเงิน เม่อื สาํ นกั งานตรวจเงินแผน ดนิ ตรวจแลว ไมมีความ จําเปน ตอง ใชประกอบการตรวจสอบอกี หรอื เพ่อื การใดๆ ใหเ ก็บไวไ มนอยกวา 5 ป หรอื ซ่งึ หากเห็นวา ไม มคี วามตองเกบ็ 10 ป หรือ 5 ป ใหทาํ ความตกลงกับกระทรวงการคลัง 2.8 การจดั สงหนังสอื ครบอายกุ ารเกบ็ ทุกสิ้นป (ปปฏิทิน) ใหสวนราชกานจัดสงหนังสือที่อายุครบ 20 ป พรอมบัญชีให สาํ นกั หอ จดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร ภายในวันท่ี 31 มกราคมของปถ ัดไป 2.9 การยมื หนงั สือราชการ 1. การยืมระหวางสวนราชการ ผูยืมและผูอนุญาตจะตองเปนหัวหนาสวน ราชการระดบั กองหรอื ผูไ ดร บั มอบหมาย 2. การยืมภายในสวนราชการ ผูยืม ผูขออนุญาตใหยืมตองเปนหัวหนาสวน ราชการระดับ แผนกขน้ึ ไป

6 2.10 การทาํ ลายหนังสือราชการ 1. ภายใน 60 วัน หลังสิ้นปปฏิทินใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบทําบัญชี หนังสือทข่ี อทําลาย เสนอหัวหนาสวนราชการระดบั กรมเพ่ือพจิ ารณา 2. กรรมการทําลายหนังสือราชการ ประกอบดวย ประธานกรรมการ และกรรมการอกี อยา งนอย 2 คน 2.11 มาตรฐานวัสดุ ตามระเบยี บสารบรรณ 1. มาตรฐานครุฑ มี 2 ขนาด ไดแก ขนาดครุฑสูง 3 ซม. และขนาด ครุฑสูง 1.5 ซม. 2. มาตรฐานกระดาษ มี 3 ขนาด - ขนาด เอ 4 = 210 * 297 มิลลเิ มตร - ขนาด เอ 5 = 148 * 210 มิลลเิ มตร - ขนาด เอ 8 = 52 * 74 มิลลเิ มตร 3. ขนาดซอง มี 4 ขนาด ไดแก - ขนาด ซี 4 = 229 * 324 มลิ ลเิ มตร ไมตอ งพับหรือขยายขาง - ขนาด ซี 5 = 162 * 229 มิลลเิ มตร พับ 2 - ขนาด ซี 6 = 114 * 162 มลิ ลิเมตร พบั 4 - ขนาด ดแี อล = 110 * 220 มลิ ลิเมตร พับ 3 2.12 อ่นื ๆ ควรรู ไดแ ก 1. เรื่องราชการที่จะดําเนินการหรือสั่งการดวยหนังสือไมทัน ใหสง ขอ ความทางเครอื่ งมือ ส่อื สาร เชน โทรเลข โทรศพั ท วิทยุสอ่ื สาร ใหผรู บั ปฏิบัตเิ ชนเดียวกับไดรับหนังสือ ในกรณที ่ีตอ งยนื ยนั เปนหนงั สอื ให ท าหนงั สอื ยืนยันไปทันที 2. การสง ขอ ความทางเครอื่ งมอื สอ่ื สารซึ่งไมป รากฏหลกั ฐานชัดแจง ให ผสู งและผรู ับบันทึก ขอความไวเ ปน หลักฐาน สาํ เนาคฉู บบั ใหลงชื่อผูราง – ผพู ิมพ – ผูตรวจ (ไมม ีผทู าน) 3. ถาหนังสือที่เปนเอกสารสิทธิตามกฎหมาย หรือหนังสือสําคัญท่ี แสดง เอการสิทธิ สญู หาย ใหด ําเนินการแจงความตอ (พนกั งานสอบสวน) 4. หนังสอื เวียน คือหนังสือท่ีมีถึงผูรับเปนจํานวนมากมีใจความอยาง เดยี วกนั ใหเพ่ิมตวั พยญั ชนะ ว 5. หนังสือราชการปกติทํา 3 ฉบับ มีตนฉบับ 1 ฉบับ และสําเนา คูฉบบั 2 ฉบบั 6. ผูลงนามรับรองหนงั สือราชการทีเ่ ปนเจา ของเรือ่ ง จะตอ งมตี าํ แหนง ระดบั 2 ข้นึ ไป 3. ส า ร ะ สํ า คั ญ ข องร ะ เ บี ย บสํ า นั ก นา ย ก รั ฐ ม นต รี ว า ด วย งา นส า ร บร ร ณ (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548) มสี าระสําคัญ ดงั น้ี 1. เพิ่มนิยามศพั ท ของ อิเลก็ ทรอนิกสคอื การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คล่ืน แมเหล็กไฟฟาหรือวิธีอ่ืนใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึงการประยุกตใชวิธีการ ทางแสง วิธีการทาง แมเหล็ก หรืออุปกรณท่ีเกี่ยวของกับการประยุกตใชวิธีตาง ๆ เชนวาน้ัน ระบบสาร บรรณอิเล็กทรอนกิ ส คอื การรับสงขอ มลู ขาวสารหรอื หนังสอื ผา นระบบสือ่ สารดวยวิธีการ อิเลก็ ทรอนกิ ส

7 2. เพิ่มความหมายของหนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนงั สอื ทีม่ ีไปมาระหวา งสวนราชการ 2. หนังสือทส่ี ว นราชการมไี ปถงึ หนวยงานอ่นื ใดซึ่งมิใชสวนราชการหรือที่มีไป ถึงบคุ คลภายนอก 3. หนังสือท่ีหนวยงานอ่ืนใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึง สว นราชการ 4. เอกสารท่ที างราชการจดั ทาํ ขน้ึ เพ่ือเปน หลกั ฐานในราชการ 5. เอกสารท่ีทางราชการจดั ทําข้ึนตามกฎหมาย ระเบยี บ หรือขอ บังคบั 6. ขอมูลขาวสารหรอื หนังสอื ท่ีไดรับจากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส 3. การสงหนังสือที่มีชั้นความลับ ในชั้นลับหรือลับมาก ดวยระบบสารบรรณ อิเลก็ ทรอนิกสใ ห ผใู ชงานหรือผปู ฏิบตั ิงานท่ีไดร ับการแตง ต้งั ใหเขาถึงเอกสารลับแตล ะระดับ เปนผสู ง ผา น ระบบการรักษาความ ปลอดภัย โดยใหเ ปน ไปตามระเบยี บวาดว ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ 4. สาระสาํ คญั ของสารบรรณตามระเบียบงานสารบรรณ ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยงาน สารบรรณ (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2560) มสี าระดงั นี้ 1. สาํ เนาหนังสือ – ผูรบั รองสาํ เนาถกู ตอ ง คอื ขาราชการพลเรือนหรอื พนกั งานสวนทองถ่นิ ประเภทวชิ าการ ระดบั ปฏบิ ตั ิการ หรอื ประเภททั่วไป ระดบั ชํานาญงาน ขึ้นไป 2. คณะกรรมการทําลายหนังสอื – หัวหนาสวนราชการระดบั กรมแตง ต้ังคณะกรรมการทําลายหนงั สอื ประกอบดวยประธาน กรรมการ และกรรมการอกี อยา งนอ ย 2 คน ปกติแตงตง้ั จาก ขา ราชการพลเรอื นหรือ พนกั งาน สว นทองถน่ิ ประเภทวิชาการ ระดับปฏบิ ัตกิ าร หรือประเภทท่วั ไป ระดับชํานาญงาน ขึ้นไป ข. การปฏบิ ตั ิงานธุรการและงานสารบรรณ การปฏิบัตงิ านเกี่ยวกับงานธรุ การ (งานสารบรรณเปน สว นหน่งึ งานธุรการ) ในสํานักงาน ปลดั องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลวดั ไทรยไดด ําเนนิ การ ดังน้ี 1. สํานักงานปลัดจะเปนศูนยกลางการบริหารงานเอกสารราชการ เพราะกลุม อาํ นวยการจะเปน ศนู ยกลางของหนงั สอื ราชการทุกเร่ือง ในหนวยงานของกลุมตางๆ ควรมีผูรับผิดชอบ หนังสอื ราชการ 2. จัดใหมีการฝกอบรมผูรับผิดชอบงานดานนี้ ในเร่ืองเทคนิคการปฏิบัติในเรื่อง การรับ – สง การจัดทาํ การเกบ็ รักษา การยืม การท าลายหนงั สือราชการ 3. กลุมอํานวยการเปนศูนยประสานงานดานหนังสือราชการ งานธุรการของกลุมงาน ทุกกลุม 4. ควรใชร ะบบคอมพวิ เตอรด าํ เนินการจะเกดิ ความรวดเร็ว ตรวจสอบไดง าย 5. ควรมีการประเมินผลการทํางานเปนระยะๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานใหมี ประสิทธภิ าพขึน้ การปฏิบัตงิ านธรุ การในสํานักงานมีรายละเอียดกระบวนการดาํ เนินการ ดังนี้

8 1. การรบั – สง หนังสือราชการ การรบั – สง หนงั สือราชการ เปนเร่อื งความรวดเร็ว ถูกตอง เรียบรอย มีประสิทธิภาพ ควร จดั ระบบการรับสง ท่ที นั สมัย ปลอดภยั การใชระบบ E-mail หรือการใชคอมพิวเตอร สนับสนุนการ ดําเนินการ แตยึด หลักการระบบท่ีทันสมัย ลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลดกําลังคน มีหลักฐานการ ดําเนินงานท่ีถูกตองจําแนกความ เรงดวน ตรวจสอบได การรับ – สง หนังสือราชการ ถาจะดี ควรดาํ เนินการดังน้ี 1. การออกแบบการรบั สง ใหสอดคลองกับโครงสรางการบรหิ ารงาน ของหนว ยงาน หรอื สถานศึกษา 2. การจัดระบบ E-mail E-office E-filling สนับสนุนการดําเนินงานในหนวยงาน เพราะ รวดเรว็ 3. รบั – สง ตามระบบที่ออกแบบไว 4. ประเมินผลการทํางาน เปน ระยะเพื่อพัฒนาระบบงาน 2. การทําหนังสือราชการ การทําหนังสือราชการ หมายความรวมถึง การคิด ราง แตง พิมพ ทําสําเนา ผูจัดทําหนังสือราชการ ตองคิด ทําไปทํามา (ความจําเปน) ใครใชเอกสารนั้น อะไร (ควรใช เอกสารประเภทใด จดหมายราชการบนั ทกึ ขอ ความ) อยางไร (วิธีการจดั สง ทเี่ หมาะสม) ท่ีไหน (สง ไปที่ใด เพ่อื ปฏิบัติงาน หรือหลักฐาน) เม่ือใด (จดั ทําเสรจ็ เมือ่ ใด) การท าหนงั สือราชการแตละเรอ่ื ง ควรมหี ลกั ยึด ในการทํา การทําหนังสือราชการ มหี ลกั ใหค ิด มคี ุณคา นาอา น คอื 1. มคี วามถกู ตอง ตวั สะกด การนั ต วรรคตอน ไวยากรณ ถกู ความนยิ ม 2. ไดสาระสมบูรณท ุกใจความ ชัดเจน กะทดั รดั ไมว กวน 3. การจัดลําดบั ความดี แตละวรรคตอนมีเอกภาพ 4. เนอ้ื ความทง้ั หมด กลมกลืน สมั พันธก ัน ตรงประเด็นเนนจดุ ทีต่ องการ *******************************

9 ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านรับหนังสือราชการ รบั หนังสอื จากหนว ยงานภายนอก/ภายใน เอกสาร ท่วั ไป เอกสารลับ จากไปรษณียแ ละอน่ื ๆ ชนั้ ความเรว็ ตรวจสอบ คดั แยก ชนั้ ความลบั จดั หมวดหมูห นงั สอื และสงิ่ พมิ พ (สงนายทะเบียนหนงั สอื ลบั ) A B ลงทะเบียนออกเลขรบั เอกสาร ดวยระบบสารบรรณ หวั หนาสาํ นกั ปลัด ระบชุ ือ่ เจาหนาที่/ สวนราชการ ผเู ปนเจา ของเร่ืองนัน้ (บริเวณมุมซายดานบนของเอกสาร) ไมตอ งลงทะเบียน ตรวจสอบแลว ไมถ กู ตอง ไมค รบถว น เชน จดหมายสวนตวั เปน ตน จายหนังสือใหผ เู ก่ยี วของโดยตรง และให เสนอผูเกย่ี วของโดยตรง ประสานสง คืนเจา ของเรื่องแกไข ลงลายมือช่ือรับหนังสือในทะเบยี นหนังสือ หรอื ใหนาํ เอกสารท่ีขาดมาเพิม่ เตมิ ให รับ จัดสง หนังสอื ใหเจา หนาท่ี/ สว นราชการเจา ของเรื่อง ผูรบั ผดิ ชอบเกษียนหนังสอื เสนอผาน หัวหนาสว นราชการ เสนอผูบริหารพจิ ารณาสง่ั การ เสร็จสน้ิ

10 ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านสง หนงั สือราชการ หนงั สือราชการทผ่ี บู รหิ ารลงนามแลว ออกเลขหนงั สอื วนั /เดอื น/ป หนงั สอื ราชการ ปกติ/ระดบั ช้ันความเร็ว ชนั้ ความเรว็ ตรวจสอบ ความเรียบรอ ยของ หนงั สือ ระดับช้ันความเร็ว (ดว นท่ีสุด ดวนมาก ดวน) ช้ันความลบั (สง นายทะเบียนหนังสือลบั ) ระดับช้ันความเรว็ (ดว นที่สดุ ดวนมาก ดว น) หนังสือราชการปกติ หนังสือราชการ ระดับชัน้ ความลบั นาํ สงโดย นาํ สง ไปรษณยี  นําสงโดย นาํ สงไปรษณีย เจาหนา ท่ี ลงทะเบียน เจาหนาที่ ลงทะเบยี น เก็บใบนาํ สง เพอ่ื ตรวจสอบ เกบ็ รวบรวมใบนาํ สง เพอ่ื ตรวจสอบ ตรวจสอบใบแจง หนี้รายเดือน รวบรวมเพือ่ ประกอบการเบิกจา ย เสรจ็ สน้ิ

11 ข้นั ตอนการเสนองาน (หนาหอง) พิจารณากลัน่ กรองและตรวจทานหนงั สือราชการกอ นเสนอผูบรหิ าร ที่ ขน้ั ตอน : รายละเอยี ดของงาน มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน คัดแยก และจัดความสําคญั ของเอกสารตามความเรงดวน ปฏบิ ัติหนาทด่ี ว ยความถูกตอง รวดเร็ว และ 1 เพอ่ื ความรวดเรว็ กระชบั ฉับไว และทันตอเหตกุ ารณ คัดแยกประเภทของเร่อื งทมี่ คี วามเรง ดวนให เจาหนา ที่ทร่ี ับผิดชอบรบี ดาํ เนนิ การได ทันเวลา 2 กลัน่ กรองความถกู ตองของเอกสารตามรูปแบบเน้อื หา หลักภาษา เชน ตวั สะกด ช่ือบคุ คลชื่อตําแหนง ตลอดจนรูปแบบของหนังสือราชการตามระเบยี บ งานสารบรรณฯ ประสานสว นราชการเจา ของเร่อื งกรณีตองขอเอกสาร แนบเพ่ิมเตมิ เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาสง่ั การ หรอื 3 ขอเสนอแนะ ขอคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เอกสารกอ นนาํ เสนอ ผบู งั คบั บญั ชา 4 กรณเี อกสารไมถกู ตอง ครบถว น ตดิ ตอสวนราชการ เจา ของเรอ่ื งหรือเจาของเร่อื งทอ่ี อกหนงั สอื การปฏบิ ตั งิ านดานหนังสือราชการ เพ่ือดาํ เนินการใหถ กู ตอ ง 5 ประสานงานตดิ ตามเอกสารท่สี ง กลบั ไปแกไขเพมิ่ เตมิ สาํ นักนายกรฐั มนตรีวา ดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 เพื่อใหง านท่ปี ฏบิ ตั ิเกดิ ผลสําเร็จลลุ วงไปดวยดี และไดงาน (แกไ ขเพิม่ เตมิ ถงึ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2560) ทม่ี ีคุณภาพตามมาตรฐานทเ่ี ปนไปตามระเบียบขอกาํ หนด ตา งๆอยางรวดเร็วเปน การประหยัดเวลาและทรพั ยากรใน การปฏบิ ตั งิ าน 6 การตรวจสอบ (หลังนาํ เสนอหนังสอื )ตรวจสอบการ ลงนามเอกสารครบถวนถูกตองหรอื ไม - หากครบถว นจดั สง ใหส ว นราชการเจาของเรอ่ื ง เพื่อดาํ เนินการตอไป - หากลงนามไมค รบถวน บนั ทึกยอหนาแฟม และตดิ สลปิ โปรดลงนาม/โปรดพจิ ารณา เพอ่ื ความสะดวกในการพจิ ารณาลงนาม

12 ขัน้ ตอนการเสนองาน (หนา หอ ง) พิจารณากลัน่ กรองและตรวจทานหนงั สอื ราชการกอนเสนอผบู ริหาร แฟม เอกสารนําเสนอผบู ริหาร คดั แยก และจัดความสําคญั ของเอกสาร ตามความเรงดวนเพื่อความรวดเร็ว กลนั่ กรองความถกู กรณีเอกสารไมเรียบรอ ย ตอ งของเอกสาร สง คืนใหเ จาของเรือ่ งแกไข/ เอกสารเรียบรอย ประสานขอเอกสารเพมิ่ เตมิ ประสานงานติดตามเอกสารท่ี เสนอผูบรหิ ารลงนาม สง กลบั ไปแกไขเพิ่มเติม เพ่อื เสนอ ตรวจสอบผูบ ริหารลง ผูบริหาร นามครบถวนหรือไม ผูบ ริหารลงนามไมครบ กรณผี บู รหิ ารลงนามครบถวน สงคนื ใหส วนราชการเจา ของเรอื่ ง บันทึกยอ หนาแฟม และตดิ สลปิ โปรดลงนาม เสร็จสิน้

13 ความรูเบอ้ื งตน ที่จําเปนในการปฏิบัติงานพมิ พ เจาหนาที่ที่รับผิดชอบงานพิมพหนังสือในหนวยงานทุกหนวย โดยเฉพาะงานธุรการ ซึ่งปจจุบันจะพิมพหนังสือดวยโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร หรือดวยเคร่ืองพิมพดีด จําเปนตองมี ความรูเบอื้ งตน และจาํ เปน ในการปฏบิ ัติงาน ดงั น้ี 1. มีความรูเก่ียวกับระเบียบงานสารบรรณ 2. มีความรูภาษาไทยเปนอยา งดี 3. ผูพิมพควรมีความระมัดระวังในการพิมพ กลาวคือ พิมพไมตก มีความรูใน ตัวสะกด การันต ตัวยอ และควรมีความรูรอบตัวนอกเหนือจากการพิมพหนังสืออีก เชน เขาใจ ขอความในหนังสอื น้นั จัดวรรคตอนไดถูกตองเม่ือจําเปน รูหลักภาษา รูแบบหนังสือราชการ ช่ือสวน ราชการ ชื่อและตําแหนงในวงราชการ รูจักและอานลายมือผูรางที่เก่ียวของไดดี พิจารณาการใช กระดาษ วางรปู หนังสอื สามารถจัดลําดับและแบงงานใหเ หมาะสม และรูจกั รักษาเครื่องคอมพวิ เตอรให สะอาดอยูใ นสภาพท่ใี ชก ารไดอ ยูเสมอ การพิมพห นังสอื ราชการภาษาไทย มหี ลักเกณฑก ารพมิ พด งั นี้ ๑. การพิมพห นงั สอื ราชการที่ตองใชกระดาษตราครฑุ ถา มีขอความมากกวา ๑ หนา หนาตอ ไปใหใชกระดาษไมต องมตี ราครฑุ แตใ หมคี ณุ ภาพเชน เดยี วหรอื ใกลเคียงกับแผนแรก ๒. การพมิ พห ัวขอตา งๆ ใหเ ปนไปตามแบบหนังสอื ทีก่ ําหนดไวในระเบยี บ ๓. การพมิ พ ๑ หนา กระดาษขนาด เอ ๔ โดยปกติใหพิมพ ๒๕ บรรทดั บรรทัดแรก ของกระดาษควรอยหู างจากขอบกระดาษบนประมาณ ๕ เซนตเิ มตร ๔. การก้นั ระยะในการพมิ พ ๔.๑ ในบรรทดั หน่งึ ใหต้งั จังหวะเคาะของพิมพด ีดไว ๗๐ จงั หวะเคาะ ๔.๒ ใหก้ันระยะหางจากขอบกระดาษดานซายมือประมาณ ๓ เซนติเมตร เพื่อความ-สะดวกในการเกบ็ เขาแฟม ๔.๓ ตวั อกั ษรสุดทา ยควรหางจากขอบกระดาษดานขวาไมนอ ยกวา ๒ เซนติเมตร ๕. ถาคาํ สดุ ทายของบรรทัดมีหลายพยางคไมสามารถพิมพจบคําในบรรทัดเดียวกันได ใหใ ชเ ครอื่ งหมายยัติภังค ( - ) ระหวางพยางค ๖. การยอหนาซ่งึ ใชในกรณที ี่จบประเด็นแลว จะมีการขึ้นขอความใหมใหเวนหางจาก ระยะก้นั หนา ๑๐ จังหวะเคาะ ๗. การเวน บรรทดั โดยทว่ั ไปจะตองเวน บรรทดั ใหสวนสงู สดุ ของตวั พิมพ และสวนต่ําสุด ของตัวพิมพไ มทับกัน ๘. การเวนวรรค ๘.๑ การเวนวรรคโดยท่ัวไปเวน ๒ จังหวะเคาะ ๘.๒ การเวนวรรคระหวางหวั ขอเรื่องกับเรื่อง ใหเวน ๑ จังหวะเคาะ ถาเนื้อหา ตางกันใหเ วน ๒ จังหวะเคาะ ๙. การพิมพห นงั สือที่มหี ลายหนา ตอ งพมิ พเ ลขหนา โดยใหพิมพตัวเลขหนากระดาษ ไวระหวา งเครื่องหมายยัตภิ งั ค ( - ) ที่ก่งึ กลางดานบนของกระดาษ หางจากขอบกระดาษดานบนลงมา ประมาณ ๓ เซนติเมตร

14 ๑๐. การพิมพหนงั สอื ที่มคี วามสาํ คัญ และมจี ํานวนหลายหนา ใหพิมพคําตอเนื่องของ ขอความท่ีจะยกไปพิมพหนาใหมไวดานลางทางมุมขวาของหนาน้ันๆ แลวตามดวย ... (จุด ๓ จุด) โดยปกติใหเ วน ระยะหางจากบรรทัดสุดทา ย ๓ ระยะบรรทดั พมิ พ และควรจะตองมขี อ ความของหนงั สอื เหลือไปพิมพในหนาสุดทายอยางนอย ๒ บรรทัด กอนพิมพคําลงทาย ท้ังนี้ เพื่อปองกันการ เปล่ยี นแปลงเอกสารท่ีมีการลงนามแลว *********************************

15 การพิมพหนงั สอื ราชการ ภาษาไทยดวยโปรแกรมการพมิ พในเคร่ืองคอมพวิ เตอร ------------------------------------ การพิมพหนังสือราชการภาษาไทย การจัดทํากระดาษตราครุฑ และกระดาษบันทึก ขอความ โดยใชโ ปรแกรมการพิมพใ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร ใหจดั ทาํ ใหถ ูกตองตามแบบของกระดาษตราครุฑ และแบบของกระดาษบันทกึ ขอความ วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 โดยเฉพาะสวนหัวของแบบ กระดาษบันทึกขอความ จะตองใชจุดไขปลาแสดงเสนบรรทัดที่เปนชองวางหลังคํา ดังตอไปน้ี สวน ราชการ ท่ี วันท่ี เรื่อง และไมตองมีเสนขีดทึบแบงระหวางหัวกระดาษบันทึกขอความกับสวนที่ใช สาํ หรับการจดั ทําขอความ 1. การต้งั คาในโปรแกรมการพมิ พ 1 . 1 ก า ร ตั้ ง ร ะ ย ะ ข อ บ ห น า ก ร ะ ด า ษ ข อ บ ซ า ย 3 เ ซ น ติ เ ม ต ร ขอบขวา 2 เซนตเิ มตร 1.2 การต้งั ระยะบรรทดั ใหใ ชคา ระยะบรรทัดปกติ คอื 1 เทา หรอื Single 1.3 การก้นั คา ไมบรรทัดระยะการพิมพ อยูระหวาง 0 – 16 เซนติเมตร 2. ขนาดตราครุฑ 2.1 ตราครฑุ สงู 3 เซนตเิ มตร ใชสําหรับการจัดทํากระดาษตราครุฑ และตรา ครุฑสูง 1.5 เซนติเมตร ใชสาํ หรบั การจดั ทาํ กระดาษบนั ทกึ ขอ ความ 2.2 การวางตราครุฑ ใหว างหางจากขอบกระดาษบนประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร 3. ขนาดตัวอักษร 3.1 รูปแบบตัวพมิ พไ ทยสารบรรณ (Th Sarabun PSK) 3.2 ตวั อักษรขนาด 16 พอยท 3.3 หนงั สือราชการใหใ ชเลขไทยทง้ั ฉบบั ยกเวน ขอ ความทม่ี ศี พั ทเทคนิค หรือคําเฉพาะ 4. การพิมพ 4.1 หนงั สอื ภายนอก 4.1.1 การพมิ พเรอ่ื ง คําข้ึนตน อา งถึง ส่งิ ทส่ี งมาดวย ใหมรี ะยะบรรทดั ระหวางกันเทา กบั ระยะบรรทดั ปกติ และเพิ่มคากอ นหนา อกี 6 พอยท (1 Enter + Before 6 pt) 4.1.2 การพิมพข อความภาคเหตุ ภาคความประสงค และภาคสรปุ ใหม ี ระยะบรรทดั ระหวา งขอความแตล ะภาคหา งเทา กบั ระยะบรรทัดปกติ และเพิม่ คากอ นหนา อีก 6 พอยท (1 Enter + Before 6 pt) 4.1.3 การยอหนาขอความภาคเหตุ ภาคความประสงค และภาคสรุป ใหม รี ะยะยอ หนาตามคาไมบ รรทดั ระยะการพมิ พเทา กบั 2.5 เซนติเมตร 4.1.4 การพมิ พคําลงทา ย ใหมรี ะยะบรรทัดหา งจากบรรทัดสดุ ทา ยภาค สรปุ เทากบั ระยะบรรทัดปกติ และเพ่ิมคากอ นหนาอกี 12 พอยท (1 Enter + Before 12 pt)

16 4.1.5 การพิมพช่ือเต็มของเจาของหนังสือ ใหเวนบรรทัดการพิมพ 3 บรรทัด พอยท (4 Enter) จากคาํ ลงทาย 4.1.6 การพิมพชื่อสวนราชการเจาของเร่ือง ใหเวนบรรทัดการพิมพ 3 บรรทัด จากตาํ แหนงของเจาหนงั สือ (4 Enter) 4.2 หนังสือภายใน 4.2.1 สวนหัวของแบบบนั ทึกขอความกําหนดขนาดตัวอักษร ดังน้ี 3.2.1.1 คําวา “บันทกึ ขอความ” พิมพด ว ยอักษรตัวหนาขนาด 29 พอยท และปรบั คา ระยะบรรทัดจาก 1 เทา เปน คาแนน อน (Exactly) 35 พอยท 3.2.1.2 คาํ วา “สว นราชการ วนั ท่ี เรือ่ ง” พมิ พดวยอกั ษรตัวหนา ขนาด 20 พอยท 4.2.2 การพิมพค ําข้นึ ตน ใหมีระยะบรรทัดหา งจากเร่อื งเทา กับระยะบรรทัด ปกติ และเพิ่มคา กอ นหนาอีก 6 พอยท (1 Enter + Before 6 pt) 4.2.3 การพมิ พข อความภาคเหตุ ภาคความประสงค ภาคสรุป และการยอ หนา ใหถ อื ปฏิบตั เิ ชนเดยี วกบั การพิมพหนงั สอื ภายนอก 4.2.4 การพิมพชื่อเต็มของเจาของหนังสือ ใหเวนระยะบรรทัดการพิมพ 3 บรรทัด จากภาคสรุป (4 Enter) 4.3 จํานวนบรรทัดในการพิมพหนังสือราชการในแตละหนาใหเปนไปตามความ เหมาะสมกับจาํ นวนขอความ และความสวยงาม 4.4 การพิมพห นงั สือราชการแบบอ่ืนตามที่ระเบียบกําหนด ใหถือปฏิบัติตามนัย ดงั กลาวขางตนโดยอนุโลม โดยคํานงึ ถึงความเหมาะสมกับรูปแบบของหนังสอื ชนิดนน้ั *********************************

17 แบบฟอรมหนงั สอื ประทบั ตรา ท่ี นร ๐๑๐๔/ ถงึ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ภาคเหตุ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ภาคความประสงค กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ภาคสรปุ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก สาํ นกั งานปลดั สํานักนายกรัฐมนตรี (วนั เดือน ป) ศนู ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๗๓๖๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๖๗๒๒

18 แบบฟอรม หนังสอื ภายนอก ที่ นร ๐๑๐๔/ สํานักงานปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี ทาํ เนยี บรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐ (วัน เดือน ป) เร่อื ง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก เรยี น กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก อางถงึ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก (ถามี) สง่ิ ทีส่ งมาดวย กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก (ถา ม)ี ภาคเหตุ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก ภาคความประสงค กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกก ภาคสรุป กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ขอแสดงความนบั ถือ ( ชอ่ื เตม็ ) ปลดั สาํ นักนายกรฐั มนตรี ศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๗๓๖๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๖๗๒๒

19 แบบฟอรมหนงั สอื ภายใน บนั ทกึ ขอความ สวนราชการ ที่ นร ๐๑๐๔/ วันที่ เร่ือง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก เรียน กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ภาคเหตุ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกก ภาคความประสงค กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ภาคสรปุ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก (พิมพช่อื เตม็ ) ตําแหนง

แบบฟอรม ตา งๆ ขององคการบรหิ ารสวนตาํ บลวดั ไทรย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook