Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วรพัฒน์สาร ฉบับที่ 48 เดือนมิถุนายน

วรพัฒน์สาร ฉบับที่ 48 เดือนมิถุนายน

Published by Warraphat School, 2022-07-01 03:34:25

Description: วรพัฒน์สาร ฉบับที่ 48 เดือนมิถุนายน

Search

Read the Text Version

วรพฒั น์สารฉบบัท่ี48 63 ซอยพัฒโนอุทิศ ตำบลหำดใหญ่ อำเภอหำดใหญ่ Website : www.warraphat.ac.th จังหวัดสงขลำ 90110 E-mail : [email protected] Facebook : โรงเรียนวรพัฒน Warraphat School แผนกประถมศึ กษา 074-236020 แผนกเตรียมอนุบาลและอนุบาล 074-221142 โทรสาร: 074-246677 มือถือ: 089-0162260, 0980166712

“Gotcha!!!” ภาพ: หวำนเจี๊ยบ วรพัฒน์สาร #48 ฉบับเดือ์มิถ์ุ าย์ ภาคการศึกษา 1/2565 ท่ีปรึกษา: ดร.พัฒน มำศนิยม ผู้อำนวยกำรโรงเรียนวรพัฒน ภาพ: นำงสำวปิ ยะวรรณ อรุณรักษ บรรณาธิการ: นำยภำณุวัฒน เส้งสกูล และ บิวกิส หละสั น นำยจรูญฤทธิ์ เพ็ชรจำรัส กองบรรณาธิการ: ทีมงำนแผนกเนอสเซอรี่ อนุบำล และ ประถมศึ กษำ นำยทวีศั กดิ์ ดำเมือง ออกแบบและจัดทา: นำงสำวปิ ยะวรรณ อรุณรักษ และ นำยจรูญฤทธ์ิ เพ็ชรจำรัส

3 วรพฒั น์สาร”48 ประชำธิปไตยไม่ ใช่ แค่ กำรเลื อกตั้ ง… โดย ครูพ่ีหยก นายวุฒิ ริสกีสกุล หัวหน้างานกิจกรรมนั กเรียน หากพูดถึงประชาธิปไตยในโรงเรียน มนั ก็คงไม่ใช่แค่การเปิ ดให้มีระบบเลือกตง้ั ประธาน นกั เรียนเท่านน้ั แต่เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ครูและนกั เรียน ไดต้ ง้ั คาถาม อธิบาย อภิปราย โตต้ อบ แสดงความคิ ดเห็ นอย่ างอิ สระ “ทำไมเรำยงั ปลูกฝั งบำงอย่ำงโดยใชว้ ิธีเดิม ๆ ทงั้ ที่โลกมนั เปล่ียนไปแลว้ ” ประโยคนี ค้ ิดได้ในขณะท่ีกาลงั คิดเก่ียวกบั การจดั กิจกรรมการเลือกตงั้ คณะกรรมการ นกั เรียน และนี่ เป็ นประโยคที่ครูเอากลบั มาถามตวั เองว่า เรายงั จะเป็ นครูแบบเดิม หรือว่าจะเป็ น ครูเพื่อนาพาเด็กไปสู่อนาคตท่ีพวกเขาตอ้ งการ หลายๆ กิจกรรมที่จดั ขนึ้ ในโรงเรียน ต่างมีจุดประสงคแ์ ละจุดมุ่งหมายต่างกนั แต่เมื่อพูด ถงึ คาว่า “การเลือกตงั้ ” แน่นอนว่าเราทุกคนคงคาดหวงั ว่าสุดทา้ ยแลว้ กิจกรรมนี ค้ งเป็ นกิจกรรมที่ สามารถฝึ กให้เด็ก ๆ เรียนรูเ้ ก่ียวกบั ประชาธิปไตยไดด้ ีท่ีสุด เพราะครูหลาย ๆ คนจะสอนเก่ียวกบั บทบาทหนา้ ที่พลเมืองและบอกกบั นกั เรียนเสมอว่า เธอตอ้ งมีประชาธิปไตยนะ เธอตอ้ งเขา้ ใจมนั เธอตอ้ งยอมรบั และเคารพผูอ้ ื่นเพียงแค่การร่วมกิจกรรมนี เ้ พียงกิจกรรมเดียว เป็ นเร่ืองที่แปลก แต่เกิดขึน้ จริงในปั จจุบนั ท่ีคุณครูไปเฝ้ ารอกิจกรรมนี เ้ พื่อจะรออธิบายคาว่าประชาธิปไตยแบบ เป็ นรูปธรรม ทงั้ ๆ ที่ในหอ้ งเรียนหรือกิจวตั รประจาวนั เขายงั ไม่มีโอกาสมีส่วนร่วมในการออกแบบ มนั เลย ซ่ึงการมีส่วนร่วมมนั คือหวั ใจของประชาธิปไตย เขายงั ไม่มีสิทธิท์ ่ีจะพูดเลย เมื่อเราอยาก เห็ นการเปลี่ ยนแปลง แต่ ห้องเรี ยนยงั เหมื อนเดิ ม ครู ไม่ เคยเปล่ี ยนการสอน มนั ก็ ไม่ มี อะ ไร เปล่ียนแปลง ดงั นนั้ ครูจงึ คิดว่าถา้ อยากใหเ้ ด็กเปลี่ยนแปลง ห้องเรียนก็ตอ้ งเปล่ียน โดยเกิดจาก นักเรี ยนร่ วมออกแบบ เป็ นการนาหลกั ประชาธิปไตยเขา้ มาอยู่ ในวิ ถี ชี วิ ตของเด็ ก ความ เป็ น ประชาธิปไตยจงึ จะสามารถเกิดไดจ้ ากจุดท่ีเราไม่เคยมองเห็ นมนั การมีประชาธิปไตยในโรงเรียน คือ การเอากระบวนการประชาธิปไตยมาใส่ ไว้ในห้องเรียน มนั คือวิธีการการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม ขนาดย่อม เมื่อเขาออกจากหอ้ งเรียนนี ้ไป ใหเ้ ขามีทศั นคติท่ีดีต่อเพื่อน ไม่มีการบูลล่ี และสามารถ ใชช้ ีวิตในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข เกิดจิตสานึกในบทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองอย่างถูกตอ้ ง

4 วรพฒั น์สาร”48 ประชาธิปไตยไม่ ใช่แค่การเลือกตั้ง… กิจกรรมง่าย ๆ ที่คุณครูทุกคนสามารถทาไดเ้ พ่ือปลูกฝั งการเป็ นประชาธิปไตยในโรงเรียน คือ การให้นักเรี ยนเขี ยนแสดงวามคิ ดเห็ น ว่าอยากให้ห้องเรี ยนท่ี เราจะอยู่ ร่ วมกนั ตลอด 1 ปี การศึกษานี ้ เป็ นอย่างไร จากนน้ั ครูจะเอาความคิดเห็ นและขอ้ เสนอต่าง ๆ มาออกแบบการเรียน การสอนให้เป็ นไปตามท่ี เด็ก ๆ ตอ้ งการ สรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกนั การเขา้ มาเรี ยนในห้องนี ้ มนั จะ เหมือนเป็ นการมาแลกเปล่ียนกนั ใชส้ ิทธิของตวั เองในการพูดคุย กลา้ พูด กลา้ แสดงความคิดเห็ น และรบั ฟั งกนั บนพืน้ ฐานหลกั สิทธิมนุ ษยชน และตอ้ งมาพรอ้ มกบั เหตุผล มนั ไม่มีเหตุผลถูกหรือผิด แต่อยู่ที่ว่า ใครสามารถสนบั สนุ นเหตุผลนนั้ ไดด้ ี เพียงแค่นี ้ ประชาธิปไตยที่แทจ้ ริงก็จะเกิดขนึ้ จาก สิ่ งรอบตวั และจะซึมซบั ติ ดตวั เด็ก ๆ ไปตลอด และในฐานะของการเป็ นหัวหน้างานกิ จกรรม นกั เรียนในปี นี ้ คุณครูอยากจะเห็นการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ อย่างในโรงเรียนท่ีนกั เรียนเต็มใจและมี ส่ วนร่ วมในการออกแบบการเปลี่ ยนแปลงในครง้ั นี ้ผ่ านกิจกรรมที่ กาลงั จะเกิ ดขึน้ ตลอดทงั้ ปี การศกึ ษา “เพรำะประชำธิปไตยไม่ใช่แค่กำรเลือกตงั้ แต่คือกำรรบั ฟั งซ่งึ กนั และกนั ”

5 วรพฒั น์สาร”48 Implementation of Real Time Diagnostic Assessment By Mrs. Raquel Fernandez Saso Assistant Director of Dual Language Program Pre-development problem. In previous years’ assessments, ad grading usually occurred at the end of the theme, semester, and after a month. Only then are the teachers able to collect or record the individual performance of every learner and rated them according to their achievements. However, most of the results showed that after a month or two some kids in certain levels encountered problems such as can’t identifying alphabets, basic vocabulary, phonics, the ability to apply the acquired sound, etc. Design of Works for Development. After the gathered data of kids reaching kindergarten 3 with problems of alphabet recognition, reaching primary 1 with problems in blending sounds, reaching primary 3 and 4 with problems in writing etc. With the help of Professional Learning community and consistent onservation on how kids response in every activities both duting thematic and ILP, keep tracking the daily performance record of every learner, the educators have found challenges the each learner encounter and able to modify the activites and provide each learner an appropriate practice and level of difficulty. Development process. After developing the ILP and implementing them in class with close assessment. The team has come up with a Real-Time Diagnostic Assessment tool that will track the individual performances of every learner in Kindergarten. First, the team developed a pre-assessment guided by the language competency standards we set to evaluate each learner’s baseline and the team tried a daily journal for each child such as; 1. What each child are interested in? (speaking, phonics, writing, vocabulary, etc., sequencing of event, cutting, arts, etc) 2. How do each child start their work (observing peers, exploring, asking for instructions every time, etc.?) 3. The process of completing their task (independent, with peer assistance, struggling with sorting or organization, writing in a reversed manner, spending time on playing much more than completing the task) 4. Which skills do each learner need to improve (fine and gross motors, speech development, social interaction, independence, learning style, and strategies) Second, after observing the efficacy of real-time assessment, the team has come up with a tool in which the month is stated along with the competency standard for each skill and level. Recommendation for each learner to improve their learning abilities and note to teachers on what needs to be modified in the lesson plan and what specific support can be given to each learner with learning difficulties. Third, there will be a week reporting on how the real-time assessment went during the Professional Learning community to summarize the assessment and come up with a solution as a team. Result. The implementation of the real-time assessment helped the educators achieve an accurate assessment, closely allowing them to understand each learner’s behavior, learning style, and needs as a learner and human being.

6 วรพฒั น์สาร”48 ควำมสุ ขจำกร่องรอยของกำรเรียนรู้ โดย คุณบุญทิวา จันทรเจริญ คุณแม่ ด.ช. บรรณ จันทรเจริญ อนุ บาล3/6 หลงั จากที่โรงเรียนเปิ ดเทอมลูกบรรณไดก้ ลบั ไปเรียนท่ีโรงเรียนในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ที่ เกิดขึน้ ในยุค COVID-19 นนั้ ทุกวนั ตอนเย็นที่กลบั มา บรรณจะกลบั มาดว้ ยสภาพมอมแมม และไดแ้ ผล หกลม้ เล็ก ๆ นอ้ ย ๆ กลบั มาบ่อยครงั้ แต่ดว้ ยสีหนา้ ที่เป่ี ยมดว้ ยรอยยิม้ ในทุก ๆ วนั และเรื่องเล่ามากมายที่ พร่งั พรูออกจากปากลูกนนั้ ทาให้แม่เบาใจ ทุกอย่างดูเป็ นเรื่องที่น่ าตื่นเตน้ สาหรบั ลูก และเป็ นเร่ืองสนุ ก สาหรบั แม่ซ่งึ แม่รอฟั งหลงั จากทางานมาทงั้ วนั เร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีลูกเล่ามีทงั้ เนื อ้ หาท่ี ไดเ้ รียนและพบเจอ ในแต่ละวนั มีทงั้ ความสนุ กที่เล่ นกบั เพื่อน ๆ มีเพลงท่ีคุณครูพี่จุ๋มสอนใหร้ อ้ ง ลูกเล่าถงึ กิจกรรมที่ ไดท้ า เอาคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษใหม่ ๆ ท่ี Kru.Jay Jay สอนมาสอนแม่อีกที บรรณเล่าความสนุกของพ่ีบอล พ่ีแนทในวิชาดนตรี ความใจดีของเหล่ าซื อพ่ี แคร์ พ่ี เกา และคุ ณครู ท่ านอ่ืน ๆ บรรณจะเล่ าดว้ ยความ ต่ืนเตน้ ถงึ สถานท่ีที่ ได้ไปพบเจอในโรงเรียน เล่าแมก้ ระทงั้ แอรย์ ี่หอ้ ไหนติดอยู่ตรงไหนของตกึ ที่เดินผ่าน จนกระท่งั หอยทากจอมอดึ ท่ี ไต่ขนึ้ กาแพงโรงเรียนไดส้ ูงมาก แถมก่อนกลบั บา้ นในอุง้ มือเล็ก ๆ จะกาอะไร สกั อย่างกลบั มาฝากแม่ทุกวนั บรรณเรียกส่ิงนนั้ ว่า “เพชร” บรรณมีความสุขมากที่หาเพชร (ลูกปั ดหรือ เพชรปลอมประดบั ที่หล่นร่วงลงพืน้ ) จากเร่ืองที่ลูกเล่าแต่ละวนั ทาใหแ้ ม่รูส้ ึกว่า การได้ไปโรงเรียนในรูปแบบ Onsite นี ม้ นั คือวิถีการ เรียนรูข้ องเด็กท่ีถูกตอ้ ง แทจ้ ริง เพราะความสุขความสนุ กทงั้ หลาย จะดงึ ดูดใหเ้ ด็ก ๆ ไดเ้ รียนรูแ้ ละเกิด “ความรกั ในการเรี ยนรู ้” ความมอมแมมคื อร่ องรอยการเรี ยนรู ้โดยการปฏิ บตั ิ จริงในแต่ ละวนั แ ละ บาดแผลที่เกิดจากการลม้ การทะเลาะกบั เพื่อน ลว้ นเป็ นสิ่งที่ลูกแทบไม่เจอเม่ืออยู่บา้ น สิ่งเหล่านีท้ าใหล้ ูก ไดแ้ ก้ไขปั ญหาเม่ือเจอสถานการณท์ ่ี ไม่พงึ ประสงค์ ไดฝ้ ึ กปรบั ตวั เมื่ออยู่กบั ผูอ้ ่ืน การขอโทษ การใหอ้ ภยั ไม่ใชค้ วามรุนแรง ทงั้ หมดคือส่ิงท่ีลูกจะตอ้ งเจอและผ่านไปให้ ได้ ดว้ ยความสนุกและประสบการณท์ ่ีลูกได้ ของการไปเรียนท่ีโรงเรียนทาใหพ้ ่อแม่มองขา้ มความกงั วลใจเรื่อง COVID-19 ไปไดม้ าก แต่ก็ยงั สอนและ ฝึ กใหล้ ูกปฏิบตั ิตวั ใหถ้ ูกตอ้ งในยุคนี ้ ทุกอย่างคือการเรียนรูแ้ ละ ณ โรงเรียนวรพฒั น์ ลูกบรรณไดเ้ รียนรู ้ อย่ างมี ความสุ ขมากค่ ะ

7 วรพฒั น์สาร”48 กิจกรรมไหวค้ รูของโรงเรียนวรพฒั น์ในปี นี ไ้ ดเ้ ปลี่ยนไป…ดาเนิ นไปโดยนกั เรียนและครูร่วมสืบคน้ เกี่ ยวกบั พิ ธี ไหวค้ รู ของไทยตงั้ แต่ อดี ตถึงปั จจุ บนั ว่าความหมายของการมี พิ ธี ไหวค้ รู คื ออะไร ทาอะไร เพราะอะไร ครูกบั นกั เรียนตงั้ วงชวนกนั เล่าไปดว้ ยกนั ครูใชก้ ระบวนการ ชง เชื่ อม ใช้ ดว้ ย คลิ ปวี ดี โอ เรื่ องราวของคนที่ นิ ยามตวั เองว่าเป็ นครู แลว้ เสียสละไปจดั การเรียนรู ใ้ หก้ บั เด็กหลากหลายบริบท โดยเฉพาะเด็กที่ดอ้ ยโอกาส เชื่อมเขา้ หาตวั เองว่า ถา้ วนั หน่งึ ฉนั เป็ นครู ฉนั จะเป็ นครูแบบไหน...? เด็ก ๆ มีโอกาสแสดงความรกั และบอกเล่าสิ่งที่อยากบอกผ่านการเขียนหรือภาพวาด อะไรก็สุ ด แลว้ แต่ โดยเราจะมีซองของครูแต่ ละคนทุกคนติดไวใ้ ห้นกั เรียนนามาใส่ หากใครอยากนาดอกไม้หรือสิ่ง ใดมามอบใหค้ รู หรือครูจะมอบใหเ้ ด็กก็ ได้ เพราะเราเป็ นครูซ่ึงกนั และกนั สุดทา้ ย ม่มีการจดั พานไหวค้ รู ไม่ตอ้ งเลือกใครมาถือพาน ไม่ตอ้ งกราบครูแต่ถา้ รกั กนั ปฏิบตั ิตวั ดว้ ยความเคารพซ่งึ กนั และกนั

8 วรพฒั น์สาร”48 ร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนำ ในวนั ท่ี 10 มิถุนายน 2565 ทางโรงเรี ยนวรพฒั นม์ ี โอกาสไดต้ อ้ นรบั คณะครูและผู บ้ ริหาร สถานศึกษาอาเภอสิงหนคร ท่ีเขา้ มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ แลกเปลี่ยนประสบการณด์ า้ น การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนวรพฒั น์ เพ่ือสามารถนาไปต่อยอดและร่วมกนั พฒั นาการจดั การศกึ ษาภายในโรงเรียนในไดด้ ีมากยิ่งขนึ้

9 วรพฒั น์สาร”48 สะท้อนผลกำรเปิ ดเรียน แบบ on-site เด็ ก ๆ กลับมาโรงเรี ยนรอบนี ้ครู ต้องมี ตัวช่ วย โรงเรี ยนวรพัฒน์ ได้รับความ อนุ เคราะหจ์ ากท่าน ผศ.ดร.ยุวดี วิริยางกูร ที่ ไดเ้ ขา้ ร่วมสงั เกตพฒั นาการนกั เรียนอนุ บาล และประถมฯ ในชนั้ เรี ยนทงั้ ระบบ นามาซ่งึ วิธีการดูแล แกป้ ั ญหา หนุนเสริมการเรียนรูเ้ ด็ก รายบุคคลหลงั ยุค COVID-19 หรือดาเนินชีวิตร่วมกบั COVID-19 หลงั จากเด็ก ๆ อยู่บา้ น นานแสนนานกบั ห้องเรี ยน online และเด็กหลายคนอยู่ กบั ตวั เองคนเดี ยวไม่ มี สงั คมวยั เดียวกนั

10 วรพฒั น์สาร”48 เลือกต้ังคณะกรรมการนกั เรียน ในปี การศกึ ษา 2565 ทางโรงเรียนวรพฒั น์ ไดจ้ ดั ใหม้ ีกิจกรรมการเลือกตงั้ คณะกรรมการนกั เรียน โดยใน กิจกรรมครงั้ ไดม้ ีนกั เรียนลงสมคั รคดั เลือกคณะกรรมการนกั เรียนทงั้ หมด 3 ทีม ทกุ คะแนนเสียง มคี ุณคา่

11 วรพฒั น์สาร”48 Exclusive Talk ผู้ปกครองสร้ำงมัธยมเพ่ือลูก ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนวรพฒั นร์ ่ วมพู ดคุ บกบั คณะกรรมการห้องเรี ยนระดบั ชนั้ ป.3-6 และผู ้ที่ สนใจ ในการร่ วมพู ดคุ ย ในหัวขอ้ การเปิ ดมธั ยมเพื่ อลู ก โดยวตั ถุ ประสงคเ์ พื่ อ ตอ้ งการใหก้ ารเปิ ดมธั ยมในอนาคต สามารถตอบโจทย์ในทุกดา้ นใหก้ บั เด็ก ๆ เป็ นเสน้ ทางสู่ อนาคตของนกั เรียนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และนกั เรียนไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพมากท่ีสุด

12 วรพฒั น์สาร”48 แผนกเนอสเซอรี่ ห้องเรียนพ่อแม่ ชีวิตคือเรียนรู ้ ถา้ ตงั้ เป้ าหมายชีวิตไดแ้ บบนี ้ สิ่งที่ ไดล้ งมือทาให้ดีท่ีสุดเพ่ือการเรียนรูน้ น้ั คือ กาไรของชีวิต ห้องเรียนครูพ่ อแม่ลูกที่วรพฒั น์ Nursery สรา้ งความเขา้ ใจในวิถีทางของโรงเรียนเพ่ื อต่อ ยอดการเรียนรู ้ไปที่บา้ น แลว้ ก็เปิ ดโอกาสให้โรงเรียนไดเ้ ขา้ ถึงศกั ยภาพการเรียนรูแ้ ละพฒั นาการ ของนอ้ ง ๆ แต่ละคน เพ่ือช่วยให้โอกาสเด็ก ๆ ไดเ้ รียนรูแ้ ละมีพฒั นาการครบดา้ นอย่างมีความสุขเป็ น ตวั ของตวั เอง มีจริยธรรม เคารพกฎ กติกา และมีมารยาทสงั คมอย่างไทยและสากล

13 วรพฒั น์สาร”48 แผนกอนุ บาล กำรตรวจสุ ขภำพนักเรียนระดับช้ันอนุบำล 1 ในวนั ท่ี 10 มิ ถุ นายน 2565 ทางโรงเรี ยนวรพัฒน์ ได้จดั ให้มี การตรวจสุ ขภาพนักเรี ยน ระดบั ชนั้ อนุ บาล 1 การตรวจครงั้ นีท้ างโรงเรียนวรพฒั นต์ อ้ งขอขอบคุณบุคลลากรจากโรงพยาบาล กรุงเทพ หาดใหญ่

14 วรพฒั น์สาร”48 แผนกประถมฯ กำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร ในวนั ที่ 10-12 มิถุนายน 2565 ครูวีรยุทธ บุญนุ ย้ และนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ชน้ั ปี ที่ 6 ซ่งึ ตวั แทนครูและนกั เรียนของโรงเรียนวรพฒั น์ เขา้ ร่วมกิจกรรมที่จะช่วยพฒั นาศกั ยภาพ ดา้ นการสอน และการเรียนรูข้ องนกั เรียนในรายวิชาวิทยาการคานวณ ไดเ้ ขา้ ร่วมค่ายการจัดการ เรียนรูว้ ิทยาการคานวณและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) เพ่ือสรา้ งนวตั กรรม รุ่นที่ 1 สาหรบั ครูและ นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา ณ โรงแรมเดอะพาลาสโซ เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพฯ

15 วรพฒั น์สาร”48 DLP Grade 4 Thematic Integration: Theme 1 \"Me and the Universe\" กิจกรรมทศั นศกึ ษา ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี4 DLP ไดท้ ากิจกรรมนอกสถานท่ีเขา้ ชมทอ้ งฟ้ าจาลอง และศกึ ษาขอ้ มูลทางดารา ศาสตรเ์ พ่ือสอดคลอ้ งกบั วิชาบูรณาการ ในธีมท่ี 1 จกั รวาลและดวงดาวบนทอ้ งฟ้ า

16 วรพฒั น์สาร”48 แผนกประถมฯ ร่วมพู ดคุย แลกเปลี่ยน วนั ท่ี 6 มิถุนายน 2565 โรงเรียนวรพฒั นม์ ีโอกาสตอ้ นรบั ท่าน ผอ. สมปอง ยอดมณี โรงเรี ยนชัยมงคลวิ ทยแ์ ละคุ ณครู มาร่ วมพู ดคุ ย แลกเปลี่ ยนแนวทางการสอนโดยใช้ วรรณกรรมกบั กลุ่มสาระภาษาไทย โดยมาร่ วมพฒั นาการเรี ยนรู ภ้ าษาไทยไปกบั ทางที ม ภาษาไทยโรงเรียนวรพฒั น์

17 วรพฒั น์สาร”48 Program of WLS ศิลปะเบือ้ งตน้ โปรแกรม “ศิลปะเบือ้ งตน้ ” เป็ นอีกหน่ึงโปรแกรมท่ี ไดร้ บั ความ นิยมจากเด็ก ๆ และผูป้ กครอง โปรแกรมศิลปะเบือ้ งตน้ ไม่เพียงแต่เป็ น การวาดภาพระบายสี 2 มิ ติ เท่ านัน้ แต่ เป็ นโปรแกรมท่ี โค้ชมี ม่ี จะมี กิจกรรมการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะใหก้ บั นกั เรียนไดเ้ รียนรูเ้ ทคนิ คดา้ น ศิลปะที่หลากหลายผ่านการลงมือปฏิบตั ิ นกั เรียนจะสามารถออกแบบ ผลงานได้ด้วยตนเองอย่ างอิ สระ นอกจากนั้นเด็ ก ๆ จะ ได้ผลงาน กลบั ไปฝากคุณพ่อคุณแม่ สามารถเก็บไวเ้ ป็ นแกลเลอร่ีศิลปะของเด็ก ๆ เองไดท้ ี่บา้ น

18 วรพฒั น์สาร”48 Program of WLS Warraphat Learning Sphere โรงเรี ยนวรพฒั น์ เห็ นความสาคญั ของการจดั การเรียนรู ้ พฒั นา ศกั ยภาพนักเรี ยนอย่ างต่ อเนื่ อง และการเรี ยนรู ผ้ ่ านประสบการณต์ รง จึงไดจ้ ดั กิ จกรรมการเรี ยนรู น้ อก สถานที่ โดยมีวตั ถุ ประสงคเ์ พื่อใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึ กฝน เปิ ดประสบการณก์ ารเล่ นเซริ ฟ์ สเก็ตในสนามใหม่ และ สรา้ งความทา้ ทายใหก้ บั นกั เรียน เพื่อพฒั นาศกั ยภาพเตรียมเขา้ สู่สนามการแข่งขนั ซ่ึงเป็ นสว่ นหน่ึงของการ จดั การเรียนการสอนในคอรส์ เซิรฟ์ สเก็ต โดยกาหนดจดั กิจกรรมฯ ขึน้ ในวนั เสาร์ ที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 13.00–20.00 น. ณ สนาม CapetownTH (รา้ นอาหาร The Cape) จงั หวดั พทั ลุง ที่ผ่านมา

19

20

63 ซอยพัฒโนอุทิศ ตำบลหำดใหญ่ อำเภอหำดใหญ่ จังหวัดสงขลำ 90110 แผนกประถมศึ กษา 074-236020 แผนกเตรียมอนุบาลและอนุบาล 074-221142 โทรสาร: 074-246677 มือถือ: 089-0162260, 0980166712 Website : www.warraphat.ac.th E-mail : [email protected] Facebook : โรงเรียนวรพัฒน Warraphat School


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook