Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บางระจัน

บางระจัน

Published by Janchai Yamcharoen, 2022-01-14 13:48:18

Description: บางระจัน

Search

Read the Text Version

บางระจัน

ประวัติหมู่บ้านบางระจัน หสกมจยูปั่รบงาุ้ทรงหมอาะศาวโนวใาัวดัอทตันรณดบไ2ตีตยวอิาศอส้3่าศานิงอยดางง0ุ“จาีเาตธสัตหรเหส้ก8นน์ยตาะบนตร–กนเจุาใืรัม์ออรรน2วนขีก์ี่สอยย3วจาัอุาหัแมนวธนตะ1รงััมต5ส้ไย0ยูเน่รงี่ปมคีุบถห้าท่ก)อคู้ีเรไย่กืาดบไรยดอะซตืูเท้นึ่หาอด่ปทเเองาีท็ปยนแมน”ำาูน็มเ่กหศปขนบงเ่เท็้จภำแีงอไมจตน่าืทบะลตอนงอรนอััจี่ย้ิยงุนคดชงเงบนดู่กปทาไทาเห็เสกาปึหทำินวยห้กัลงนอพมสพททบนัวเืรีง้สื่ององมเจุงาอะ่ทคดคานหจงาขัดขัไลพขรรนืวมอวจอ่่(้ออาะาพใขงดำงพมจนเนงใมวัร.ืน่เนศพ่ปาอาพง.ลนรงเะำมรอาาาว

สงครามที่เกิดขึ้นกินระยะเวลาเพียง 5 เดือน นับตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2308จนถึงปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2309 แถมกองทัพพม่าทางเหนือยังติดอยู่ที่พิษณุโลกในภาคกลางตอนเหนือของสยาม ตามที่พม่าได้เคยอ้างว่าพบกับกองทหารที่พยายามมาถ่วงเวลาการเดินทัพ มันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแม่น้ำวัง ที่ไม่ได้อยู่ใกล้กับกรุงศรีอยุธยาเลย ในช่วงฤดูฝน ช่วงสิงหาคม – ตุลาคม พ.ศ. 2308 นายพลชาวพม่าที่อยู่ใกล้กับกรุง ในตอนนั้นไม่ใช่เนเมียวสีหบดี แตศ่เรปีอ็นยุมธังยมาหานรธาผู้ที่คุมกำลังทัพภาคใต้ ในตอนนั้นไม่ใช่เนเมียวสีหบดี แต่เป็นมังมหานรธาผู้ที่คุมกำลังทัพภาคใต้ กำลังรอให้กองทัพพม่าทางเหนือปรากฏตัว เพื่อเข้าโจมตีเมืองหลวงของสยาม

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ก า ร ร บ ทั้ ง 8 ค รั้ ง ก า ร ร บ ค รั้ ง ที่ ๒ เ น เ มี ย ว สี ห บ ดี จึ ง แ ต่ ง ใ ห้ ก า ร ร บ ค รั้ ง ที่ ๑ ท ห า ร พ ม่ า ที่ เ มื อ ง ง า จุ น ห วุ่ น คุ ม พ ล ๕ ๐ ๐ ม า ตี วิ เ ศ ษ ชั ย ช า ญ ย ก พ ล ม า ป ร ะ ม า ณ ๑ ๐ ๐ เ ศ ษ ม า ต า ม จั บ พั น เ รื อ ง เ มื่ อ ถึ ง บ้ า น บ า ง ร ะ จั น ก็ ค่ า ย บ า ง ร ะ จั น น า ย แ ท่ น ก็ ย ก พ ล อ อ ก ร บ ห ยุ ด อ ยู่ ณ ฝั่ ง แ ม่ น้ำ ( บ า ง ร ะ จั น ) น า ย แ ท่ น ตี ทั พ พ ม่ า แ ต ก พ่ า ย ล้ ม ต า ย เ ป็ น อั น ม า ก จั ด ค น ใ ห้ รั ก ษ า ค่ า ย แ ล้ ว นำ ค น ๒ ๐ ๐ ข้ า ม แ ม่ ทั พ พ ม่ า ไ ด้ เ ก ณ ฑ์ ท ห า ร เ พิ่ ม เ ป็ น ๗ ๐ ๐ แ ม่ น้ำ ไ ป ร บ กั บ พ ม่ า ท ห า ร พ ม่ า ไ ม่ ทั น รู้ ตั ว ยิ ง ปื น ไ ด้ เ พี ย ง นั ด เ ดี ย ว ช า ว ไ ท ย ซึ่ ง มี อ า วุ ธ สั้ น ค น ใ ห้ เ ย กิ น ห วุ่ น คุ ม พ ล ย ก ม า ตี ค่ า ย บ า ง ร ะ จั น ทั พ พ ม่ า ก็ ถู ก ตี แ ต ก พ่ า ย ทั้ ง นั้ น ก็ ก รู เ ข้ า ไ ล่ ฟั น แ ท ง พ ม่ า ถึ ง ขั้ น ต ะ ลุ ม บ อ น พ ล ท ห า ร พ ม่ า ล้ ม ต า ย ห ม ด เ ห ลื อ อี ก เ ป็ น ค รั้ ง ที่ ๒ แ ต่ ตั ว น า ย ส อ ง ค น ขึ้ น ม้ า ห นี ไ ป ไ ด้ ไ ป แ จ้ ง ค ว า ม ใ ห้ น า ย ทั พ พ ม่ า ที่ ค่ า ย แ ข ว ง เ มื อ ง วิ เ ศ ษ ชั ย ช า ญ ท ร า บ แ ล ะ ส่ ง ข่ า ว ใ ห้ แ ม่ ทั พ ใ ห ญ่ คื อ เ น เ มี ย ว สี ห บ ดี ซึ่ ง ตั้ ง ค่ า ย ใ ห ญ่ อ ยู่ ณ ป า ก น้ำ พ ร ะ ป ร ะ ส บ ท ร า บ ด้ ว ย กบเเแพาหาิ่็รตคงมนุรรมกเวบะ่ปพทา็จั่คันจพานระัย้คต๙งป่หรทอั๐ีร้่ลงไะ๐๓นาปีม้ยคชอาเีคนทามกื่รวักไ้องบใำม้ก่หลา้เไัอตนนงดิง้ขบงเทมัจจอาึีพงายงงเโพรชวกบะสมาี่ณจวหัาเนบฑตปบ้็์้มานีพอดนีงผลู้ ปื นค๒บสุกคุทขมี่ำ๐เวร่ิากคกบอลพน๐นจ้ัยึาเณรงางังลทจ้แกบรัชงพนพ็หอฑพรสบเา๒์าหมลยขชบ้่ทงวสุไ่วู่ั๐วปา้ดอรงนดคไพพย้แ๐รหะงทพนจรมีัใัไลจ้้ะเ่าัยงากหพผปมานะั่ท็กทเรีจคญกนน่ำาัไหื่ก(บงณอรดใ๔เนปเล้าหัปร่หะพืจืา้จร๑านั่สอกวรพัุยดอรจน,ีดุางนะา้๐มบทมบเมยเมรั่ัอดีต๐่ปาคพานิทแป็าาีืน๐ต่ขรนรอณีีงทัพน้พ่ยดยงคทยปคนู่คมีำ่มกาม่า๒ใ่อก่นเาขาดอกยนาปงัซบ-แอ็้นยฝนบ)เท๓ีนาศพงขกิๆม้เาหยฝืนพลไป่ตงทวอ็ัคาัาทาามุรนนอพค่รยมยบะยำา้กมนมจทแพ้าเหััรซาภไนางึลพล่ละ้ทตงอั๖ว้ามยงี๐ย ชั ย ช น ะ พ ม่ า อี ก เ ช่ น ค รั้ ง ก่ อ น ๆ ค่ค๑ฝาีก,รัย้๐มกงเอืบ๐กอหางา๐ณชรทนึงั่ราพงฑรคบ์วะพแนไมคจีัทบมเแรน่่ัศ้ยงางยอษนมทีจีย้หู่่ากอ็ปพล๕จัปอรงรา้ารพะจกอกามามมทพช่าุก่ัาาดกเยา้ณนเปัคยว้็ชว่้นนยาไนา๑จปยนมึวร้๐งเบาาะ-้แปแยย็า๑ตนทลนะ่๑ัไงคะพบมทอวน่ััานยาคพงปุวกรุมยรดธะ้มทกะตวจ่าัมมหยนาตาาีาเงแณกอรๆีตซกรึแ่กงงต่

ฝ่เามกืยคอาไรรัง้ทงรททยบีว่มคา๖ียชรััน้ีงย้คคทุชีืม่อน๖พจะนิลอกีากแ๑ยเ๐กทชั๐่ปพนเลเพศัคดมษย่า การรบครั้งที่ ๘ การที่พม่าส่งกองทัพมาปราบ ค่ายบางระจันถึง ๗ ครั้ง แต่ต้องแตกพ่ายยับเยินทุก พกขสมใุตกาลไนตรหคารว่าอรต้โาญา๑รยีคงทล่ยยค์,บเทค๐่ซกหเใกัึุาค่สืพน๐มงยาอทรรม๐ัรทพม็้บบีีงจา้่ไฝราลทเงหากีทีศข็บ่มงคถมื่๑ย๗รอูษคอากด,ใะงย๐แรชจัโอเพ้เั้บง๐มนอหนกา่นมา๐ีบกนเลอ้่างทมีืาราตกปอีเรำีืยปรศนระนทัใใบวนจอษาหหัาสแ้ยนค้ดคีองพุอหจบมหดตอยัามีนบำบพกลก่ยาัาดหเยตจงากลูีนห่ีคปโิไนเกทท่ันยปดจัานุว็อ้หพมดกยนแดคงาพลพสตทเพทยรั่ั่ชศีมวีกพปงเึหม้่ืนยกป่การนไ็าาแวนบคนอปรยคื้เัลงอนอพปแตงอั็ทะย้ไามนมัจงยล่มั่พน้ดท่แาแปอณัทถ้ใถใพมัมมึอูห่่นงหก้บททงคค้คย้ััต่ฆุขกัาพพาุม่ัร้กึนนงานย่งก็ เดือน ครั้งนั้น ทำให้แม่ทัพใหญ่ของพม่าวิตกมาก เนื่องจากชาวบ้านบางระจันมีกำลังเข้มแข็งขึ้นทุกที และทหารพม่าก็พากันเกรงกลัวฝีมือไทย ไม่มีใคร อาสาเป็นนายทัพ ขณะนั้นมีชาวรามัญผู้หนึ่งเคยอยู่ เมืองไทยมานาน รู้จักนิสัยคนไทยและภูมิประเทศดี ได้เข้าฝากตัวทำราชการอยู่กับพม่าจนได้รัย ตำแหน่งสุกี้ หรือพระนายกอง สุกี้เข้ารับอาสาจะขอ ไปตีค่ายบางระจัน เนเมียวสีหบดีจึงแต่งตั้งให้เป็น แม่ทัพคุมพล ๒,๐๐๐ พร้อมทั้งม้าและสรรพาวุธทั้ง ปวง สุกี้ดำเนินการศึกอย่างชาญฉลาด เมื่อเวลาเดิน ทัพไม่ตั้งทัพกลางแปลงอย่างทัพอื่น ให้ตั้งค่ายราย ไปตามทาง ๓ ค่าย และรื้อค่ายหลังผ่อนไปสร้างข้าง หน้าเป็นลำดับ (เป็นที่น่าสังเกตุว่าการเคลื่อนทัพ โดยตั้ง ๓ ค่ายของสุกี้นี้ เป็นวิธีเดียวกับการเดินทัพ ของกองทัพเล่าปี่ ที่มีขงเบ้งเป็นแม่ทัพในสงครามสา มก็ก ใช้ตั้งรับทัพที่เชี่ยวชาญการรบในท้องที่นั้นๆ

วีรชนที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ พระอาจารย์ธรรมโชติ พระอาจารย์ธรรมโชติ เดิมชื่อ โชติ ขณะบวชได้ฉายา ทางธรรมว่า ธรรมโชติรังษี พื้นเพเป็นชาวเมืองสุพรรณ ในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย บวชเรียนแล้วจำ พรรษา เป็นเจ้าอาวาสอยู่ ณ วัดเขาขึ้นหรือเขานางบวช ท่านมีความรู้ด้านวิชากสิณ ด้านวิชาอาคมที่แก่กล้า ด้วย ทั้งพรรษาและวิชาต่างๆที่ได้ศึกษาฝึกพร่ำร่ำเรียนมา ใคร เห็นล้วนแต่เกิดศรัทธา

เป็นชาวบ้านสีบัวทอง ถืออาวุธสั้น ถูกปืนของพม่าที่เข่าใน การ รบครั้งที่ ๔ เสียชีวิตเมื่ อการรบครั้งสุดท้าย นายแท่น คุมพลเข้าตีลวงพม่าก่อน และให้ทหารปีกขวาและปีกซ้ายตีโอบหลัง สนามรบคือฝั่ งคลองทุ่งห้วยไผ่สะตือสี่ต้น ในการรบครั้งนั้นท่านได้รับ ชัยชนะ และสามารถฆ่าแม่ทัพพม่าได้ คือ สุรินทร์จอข่อง แต่ท่านก็ได้รับ บาดเจ็บที่เข่า เนื่ องจากถูกอาวุธของข้าศึก

ที่มากับนายแท่น นายโชติ นายเมือง เป็นคนหนึ่งที่ร่วมกันฆ่าทหารพม่าในครั้งแรก แล้วมารวม รวมกำลังตั้งค่ายบางระจันขึ้น ณ วัดโพธิ์เก้าต้น ท่านเป็น 1 ใน 11 ผู้นำชาวบ้านที่ออกต่อสู้กับ ทหารพม่า ด้วยความกล้าหาญจนตัวตายในสนามรบ นายอิน เป็นชาวบ้านสีบัวทอง

เป็นชาวบ้านสีบัวทอง นายเมือง เมืองสิงห์บุรี ร่วมกับนายอิน นายโชติ นายแท่น และชาวบ้านอีกจำนวนหนึ่ง ลวงทหารพม่าไป ฆ่า และท่านเป็นคนไปนิมนต์พระอาจารย์ธรรมโชติ จากแคว้นเมืองสุพรรณ มาอยู่วัดโพธิ์เก้า ต้น ค่ายบางระจัน นายเมืองเป็น 1 ใน 11 ผู้นำชาวบ้านในค่าย ที่คุมคนออกต่อสู้กับพม่า จน กระทั้งเสียชีวิตในสนามรบ

เป็นชาวบ้านสีบัวทอง ถืออาวุธสั้น นายโชติ แขวงเขตเมืองสิงห์บุรีติดต่อเมืองสุพรรณบุรี นายโชติได้รวมชาวบ้านที่ถูกกองลาด ตะเวนของทหารพม่าข่มเหง และให้ส่งหญิงสาวให้ ในครั้งนั้นท่านกับพรรคพวกได้ลวง ทหารพม่าไปฆ่าได้กว่า 20 คน จากนั้นท่านและชาวบ้านจึงมาอยู่รวมกัน ณ บางระจัน ท่านได้ต่อสู้กับทหารพม่า จนเสียชีวิตในสนามรบ

เป็นชาวบ้านกลับ นายดอก อยู่เมืองวิเศษชัยชาญ เมื่ อกองทัพพม่ายกมาล้อมกรุงศรีอยุธยา แม่ทัพพม่าสั่งให้กองทัพออกตีหัว เมืองต่าง ๆ เมืองวิเศษชัยชาญจึงอยู่ในเป้าหมาย เมืองกองทัพพม่าเข้าตีเมืองวิเศษชัยชาญแตก นายดอกจึงชักชวนชาวบ้านไปอยู่บ้านตลับ คือบ้านตลับ ในปัจจุบัน กองทัพพม่าเที่ยวออกลาดตะเวน เป็นบริเวณกว้าง ทำให้ชาวบ้านเดือนร้อน เพราะถูกทหารพม่าข่มเหงจึงชักชวนมาอยู่ วัดโพธิ์เก้าต้น ค่ายบางระจัน นายดอกเป็นผู้นำชาวบ้าน ท่านได้ร่วมรบกับชาวบ้านบางระจัน กองทัพพม่าบุกเข้าได้ แล้ว ทำให้ท่านเสียชีวิตในสนามรบ

เป็นชาวบ้านโพทะเล นายทองแก้ว เป็นครูดาบบ้านโพธิ์ทะเล คาดมงคลไว้บนหัวด้วย

ท่านเป็น 1 ใน 11 ท่านที่เป็นผู้นำระดับแนวหน้า และท่านเป็น ผู้ที่คิดตั้งค่ายน้อยเพื่ อลวงทหารพม่า นายทองแสงใหญ่ ได้คัดชายฉกรรจ์จำนวนหนึ่ง ตั้งค่ายขึ้นอีกค่ายหนึ่ง ซึ่งห่างจากค่ายใหญ่ออกไป ใน ค่ายใหญ่เต็มไปด้วยคนแก่ทั้งชายหญิงเด็กเล็กและผู้ป่วยที่บาดเจ็บจากการสู้รบและมี การเสียชีวิตทุกวันท่านต่อสู้กับทหารพม่าด้วยกำลังที่มีอยู่ทั้งหมด

มีฝีมือเข้มแข็งมักถือปืนเป็นนิจ แม่นปืนจากเมืองสรรค์บุรี ท่านได้รวบรวมชาวบ้านต่อสู้กับ ทหารพม่าที่ยกทัพมาทางเมืองอุทัยธานี ท่านมีฝีมือในการยิงปืน เมื่ อท่านกับชาวบ้านต่อต้าน ทหารพม่าไม่ไหวจึงชักชวนชาวบ้านมารวมกันที่บางระจัน และได้ร่วมรบกับชาวบ้านศรีบัวทอง ชาวเมืองวิเศษชัยชาญ ชาวบ้านที่รวมตัวกันอยู่ วัดโพธิ์ ขุนสรรค์ เก้าต้นค่ายบางระจัน และท่านได้ให้ชาวบ้านรวบรวมอาวุธต่าง ๆ ที่ยึดได้จากทหารพม่าในการรบครั้ง ก่อน ๆ ที่ได้รับชัยชนะ ครั้งหนึ่งท่านได้รวมกับนายจันหนวดเขี้ยว ท่านได้คุมพล 100 คน ตีทัพของ อาคา บัญคญี แตกพ่าย และได้ร่วมรบอยู่ในค่าย จนกระทั้งเสียชีวิตในสนามรบ

เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน เมื่ อถูกพม่าเข้าปล้นหมู่นบ้าน ทั้งข้าวปลาอาหาร ส่วนชาวบ้าน ถูกทหารพม่ารังแก ข่มเหง จึงได้รับความเดือดร้อน นายพันเรือง นายทองแสง ใหญ่ และนายจันหนวดเขี้ยวปรึกษากันว่า ให้ชาวบ้านบางระจันทั้งหมดไปอยู่ที่วัด โพธิ์เก้าต้น เพื่ อหลบทหารพม่า นายพันเรือง เพราะมีคลองธรรมชาติล้อมรอบถึง 2 ชั้น และชายฉกรรจ์ในหมู่บ้านจำนวนหนึ่ง ซึ่งแบ่งกลุ่มกันออกลาดตะเวน หลอก ล่อทหารพม่าให้หลงทาง และนายพันเรืองยังเป็นผู้ออกความคิดหล่อปืนใหญ่ เพื่ อยิงทำลายค่ายพม่า จึงชวนชาวบ้านให้ เสียสละทองเหลือง ทองแดง หล่อปืนขึ้น 2 กระบอก

ประวัติศาสตร์หมู่บ้านบางระจันวีรบุรุษที่สำคัญ นายทองเหม็น ท่ า น เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ค่ า ย บ า ง ร ะ จั น แ ล ะ เ ป็ น อี ก ท่ า น ห นึ่ ง ที่ ร่ ว ม ว า ง แ ผ น ใ น การรบครั้งที่ 4 ท่านทำหน้าที่เป็นปีกขวา ร่วมกับนายโชติ นายดอก นายทองแก้ว คุมพล 200 คน ไปข้ามคลองบ้านขุนโลก ตีโอบหลัง ข้าศึก ผลทำให้พม่าแตกพ่ าย แ ล ะ ไ ด้ ฆ่ า ทั พ พ ม่ า คื อ สุ ริ น ท ร์ จ อ ข่ อ ง ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย พ ม่ า ทำ ก า ร ร บ แ ต่ ใ น ค่ า ย โ ด ย ยิ ง ปื น ใ ห ญ่ อ อ ก ม า น า ย ท อ ง เ ห ม็ น สุ ด ที่ จ ะ ท น ร่ ว ม กั บ พ ว ก ช า ว บ้ า น บ า ง ร ะ จั น จำ น ว น ห นึ่ ง น า ย ท อ ง เ ห ม็ น จึ ง ไ ด้ ขี่ ก ร ะ บื อ เ ผื อ ก ต ะ ลุ ย ฝ่ า ค่ า ย พ ม่ า จึ ง เ สี ย ที ถู ก พ ม่ า จั บ ฆ่ า ต า ย

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ห มู่ บ้ า น บ า ง ร ะ จั น วี ร บุ รุ ษ ที่ สำ คั ญ นายจันทร์หนวดเขี้ยว ท่านเป็นคนบางระจัน เดิมเป็นคนชื่อจัน ชอบไว้หนวดและแต่งหนวดให้งอนดูเหมือน เขี้ยว ชาวบ้านทั่วไปจึงเรียนท่านว่า นายจันหนวดเขี้ยว ท่านเป็นผู้กล้าหาญมีฝีมือใน การต่อสู้ เป็นเหมือนครูฝึกประจำหมู่บ้านให้เด็กหนุ่มสาว เมื่อทหารพม่ามาข่มเหงชาว บ้าน ท่านจึงออกช่วยชาวจึงเกิดการต่อสู้ เด็กหนุ่มที่ท่านฝึกให้รวมพลังกันรบทหาร พม่าได้รับชัยชนะ ท่านจึงให้พวกชาวบ้านไปรวมตัวกันอยู่ที่วัดโพธิ์เก้าต้น ครั้งหนึ่ง กองทัพพม่ายกกำลังมามาก ท่านให้กองสอดแนม ใ น ค่ า ย อ อ ก ไ ป ดู กำ ลั ง พ ล พ ม่ า ที่ ย ก ม า เ มื่ อ ท่ า น ท ร า บ ว่ า กำ ลั ง พ ล ไ ล่ เ ลี่ ย กั น จึ ง คุ ม กำ ลั ง 1 0 0 ค น แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 พ ว ก เ ข้ า ตี ก อ ง ทั พ พ ม่ า อ า ค า บั ญ ค ญี แ ม่ ทั พ พ ม่ า จ น เ สี ย ชี วิ ต ใ น ที่ ร บ ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย พ ม่ า เ ป ลี่ ย น วิ ธี ก า ร ร บ คื อ ส ร้ า ง ค่ า ย เ ป็ น ส า ม ค่ า ย ม า เ รื่ อ ย ๆ แ ล ะ ยิ ง ปื น ใ ห ญ่ อ อ ก ม า ไ ม่ ต้ อ ง อ อ ก ม า ร บ จึ ง ส ร้ า ง ค ว า ม ก ด ดั น ใ ห้ ช า ว บ้ า น บ า ง ร ะ จั น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก น า ย จั น ห น ว ด เ ขี้ ย ว พ ร้ อ ม กั บ ช า ว บ้ า น เ ข้ า ตี ค่ า ย พ ม่ า ใ น ค่ า ย พ ม่ า มี สุ กี้ เ ป็ น แ ม่ ทั พ ท่ า น ถู ก ท ห า ร พ ม่ า ฆ่ า ต า ย ใ น ส น า ม ร บ

เหตุการณ์ในระยะเวลา ๕ เดือนที่ชาวบ้านบางระจันและชาวบ้านใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็น ชาวเมืองสิงห์ เมืองสรรค์ เมืองวิเศษชัยชาญได้รวมตัวกันร่วมแรงร่วมใจ เข้าต่อต้านกองทัพพม่าที่มีกำลังมากกว่าในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นจำนวนไพร่พล อาวุธยุทธโธปกรณ์ ชาวบางระจันใช้ประโยชน์จากชัยภูมิที่มีความชำนาญในท้องที่กว่าใช้การรบแบบ กองโจร ซุ่มโจมตีกองทัพพม่า ฆ่าฟันทหารพม่าตายรวมแล้วหลายพันคน เข้ารบพุ่ง โรมรันโดยมิเกรงว่าจะเสียชีวิต ทำให้พม่าครั่นคร้ามในฝีมือรบของชาวไทย โดยแท้ชาวบ้านบางระจันแตกพ่ายทัพพม่าในการรบครั้งสุดท้าย หาใช่ด้วยสติปัญญาชาวพม่าไม่ ชาวเราแพ้ชาวรามัญที่อยู่ในไทยมานานและไปฝากตัวรับราชการในกองทัพพม่า จนได้ตำแหน่งสุกี้ วางแผนคุมกองทัพพม่ายกมาตีค่าย บางระจันในครั้งที่ ๘ ทั้งหมดเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ที่ ชาวสิงห์บุรี และชาวไทยทุกคนต้องภาคภูมิใจ ในความกล้าหาญ และความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน

ต่อจากเมื่อกี้ เหตุการณ์ ในระยะ5เดือน เพื่อปกป้องมาตุภูมิ จากการข่มเหง แม้แต่ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ของชาวชาติอื่น แม้ชาวบ้านบางระจัน พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย ยังทรง จะพ่ายแพ้ในที่สุด แต่ชื่อเสียงและ เกียรติคุณยังคงอยู่แม้เวลาล่วงเลยมา พระนิพนธ์ไว้ในหนังสือไทยรบพม่า ตอน ๒๐๐ กว่าปีแล้ว เรื่องราวของวีระกรรม วีรชนชาวบ้านบางระจัน เป็นเรื่องเล่าจาก ชาวค่ายบางระจันยังคงอยู่เปรียบดังผู้ ปากผู้คนจากรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จาก เป็นอมตะ แม้ตัวจะตายไปชื่อยังคงอยู่ พ่อสู่ลูก เป็นนิทานก่อนนอนของปู่เล่าสู่ลูก แม้จะไม่มีชื่อวีรชนทั้งหมดแต่วีระ หลาน ให้เด็กๆได้จินตนาการถึงภาพความ กรรมยังคงอยู่ ปรากฏอยู่ในหน้าหนึ่ง กล้าหาญ ภาพชาวค่ายบางระจันรุกรบกับ ของประวัติศาสตร์ กองทัพพม่า เป็นอุทาหรณ์แก่อนุชนรุ่น คโไ่ดดา\"้สยยนาเบาฉมนาัพคงถึครางีะะคืจอ๕อันยพ่ไาเลมดงั่ืงยสอิ่\"งานคมไัดวถค้้อาาคียมไก่มัาส่นงสาไแามมัน่มค่มัแีคคททีค้ีาปกเงัปรน็ในดาย่ศเเอลรืจ่มอยางเทกีปท่ี็จข่น้พอะิไสตสปู้จางไนมสน่ั์กยไคดอำ้ทหกีง่จทาลั่ะกพาชชวพนาทีม่วะ่ว่าา กองทัพพม่าถึง ๗ ครั้งติดต่อกัน หลังให้ตระหนักถึงความกล้าหาญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook