Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนงานฝึกฝีมือ

แผนการสอนงานฝึกฝีมือ

Description: แผนการสอนงานฝึกฝีมือ

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ ม่งุ เน้นฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ชือ่ วิชา งานฝึกฝีมือ รหัสวิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม จัดทาโดย นายชุติเทพ มาดีตีระเทวาพงษ์ วิทยาลยั การอาชพี ขุนหาญ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

บนั ทึกการขออนมุ ัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 / 2564 รหสั วิชา 20100 – 1003 วชิ า งานฝึกฝีมือ หลักสตู รหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562 ประเภทวชิ า ช่างอตุ สาหกรรม ขออนมุ ัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ลงชอ่ื ...........................................................ครูผสู้ อน ( นายชตุ เิ ทพ มาดตี รี ะเทวาพงษ์ ) ความเหน็ หวั หนา้ แผนกวชิ า ............................................................................................................................. .............. ลงชอ่ื ............................................................หน.แผนกฯ ( นายชุติเทพ มาดีตีระเทวาพงษ์ ) ความเห็นของหัวหนา้ งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน ............................................................................................................................. .............. ลงชือ่ ......................................................หน.งานหลกั สูตรฯ ( นายธนวนิ สายนาค) ความเห็นของรองผู้อานวยการฝุายวิชาการ เหน็ ควรพจิ ารณาอนุมตั ิ ให้ใช้ประกอบการเรยี นการสอนได้ ลงช่อื ....................................................รองฝุายวิชาการ ( นายชาตรี สารีบตุ ร ) ความเหน็ ของผู้อานวยการ อนมุ ตั ิ ไม่อนุมัติ เพราะ................................................................................................................................ ลงช่ือ................................................ ( นายลาปาง พันธเ์ พชร) ผู้อานวยการวทิ ยาลยั การอาชีพขนุ หาญ

คานา แผนการจัดการเรยี นรู้ มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา งาน ฝึกฝีมือ รหัสวิชา 20100–1003 เล่มน้ีได้จัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน หรือเป็นแนวทางการ สอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การจัดทาได้มีการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 11 หน่วย การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรม จริยธรรม ไว้ในหน่วยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน พร้อมเฉลย มีใบงาน กิจกรรมปฏิบัติ และสื่อการเรียนการสอนต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน มากย่งิ ขนึ้ ผู้จัดทาหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อครู -อาจารย์และ นกั เรียน หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผ้จู ัดทายนิ ดนี ้อมรบั ไวเ้ พอื่ ปรบั ปรุงแก้ไขในคร้ังต่อไป ลงช่อื ชตุ เิ ทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์ (ชุติเทพ มาดตี รี ะเทวาพงษ์)

สารบัญ หนา้ คานา ................................................................................................................................................ ค สารบญั ............................................................................................................................................. ง หลกั สูตรรายวิชา .............................................................................................................................. จ หน่วยการเรียนรู้ ............................................................................................................................... ฉ การวดั ผลและประเมนิ ผล ................................................................................................................. ช โครงการจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................... ซ-ฏ สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ ........................................................................................ ฐ-ฟ ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวชิ า ...................................................................................................... ภ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เครอ่ื งมือกลท่ัวไปและเคร่ืองมือกลเบื้องต้น ......................................... 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เครื่องมือวดั และเครื่องมือตรวจสอบ ..................................................... 6 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน ........................................................... 11 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 งานตะไบ .............................................................................................. 17 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 งานรา่ งแบบ .......................................................................................... 22 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 งานลบั คมตัด ......................................................................................... 27 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 งานเจาะ .............................................................................................. 33 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 งานเลอ่ื ยและงานสกัด ........................................................................... 38 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 งานตกแต่งและประกอบ ....................................................................... 43 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 งานทาเกลยี ว...................................................................................... 48 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 งานหลอ่ เบอื้ งต้น .................................................................................. 54 ภาคผนวก แบบฝกึ หัดทา้ ยบท

หลักสตู รรายวิชา ช่อื วิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.1 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. รูแ้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกับการใช้ การบารุงรกั ษาเครอ่ื งมือและเคร่อื งมือกลเบ้ืองตน้ 2. ปฏบิ ัติงานโดยใช้เครื่องมอื ได้อยา่ งถูกต้องและปลอดภัย 3. มีเจตคติและกิจนิสัยท่ีดีในการทางานด้วยความอดทน ปลอดภัย ผลงานประณีตเรียบร้อยละเอียด รอบคอบ เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลามีความซอ่ื สัตย์ รบั ผิดชอบ และรกั ษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. เตรียมเครอ่ื งมือและเครอ่ื งมือกลเบื้องตน้ ตามคู่มือ 2. วัดและรา่ งแบบช้นิ งานโลหะ 3. แปรรปู และประกอบชนิ้ งานโลหะดว้ ยเครื่องมอื กลท่ัวไป 4. ลบั คมตดั เครื่องมือกลทั่วไป คาอธิบายรายวิชา ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ การบารุงรักษาเครื่องมือและเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น งานวัดและตรวจสอบ งานร่างแบบ งานเล่ือย งานสกัด งานตะไบ งานเจาะ งานลับคมตัด งานทาเกลียว งานเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น งานหล่อเบอ้ื งต้นและการประกอบช้นิ งาน ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

หน่วยการเรยี นรู้ ช่อื วิชา งานฝึกฝีมือ (Bench Works) รหัสวิชา 2100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.1 หน่วย ชือ่ หนว่ ย ทม่ี า ที่ A BCDE F G 1 เครื่องมอื กลท่ัวไปและเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้    2 เครือ่ งมอื วัดและเคร่ืองมือตรวจสอบ    3 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน    4 งานตะไบ   5 งานร่างแบบ   6 งานลบั คมตดั   7 งานเจาะ   8 งานเลื่อยและงานสกัด   9 งานตกแต่งและประกอบ   10 งานทาเกลยี ว   11 งานหลอ่ เบ้อื งตน้    หมายเหตุ A = หลักสูตรรายวชิ า B = ประสาน คงจนั ทร.์ งานฝกึ ฝีมือ 1. ศูนยห์ นังสอื เมอื งไทย. C = อานาจ ทองแสน. งานฝึกฝมี อื 1. ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย. D = ฝาุ ยวชิ าการ. งานฝึกฝีมือ 1. ศูนย์หนังสอื สจพ. E = ประสบการณผ์ ้สู อน F= G=

การวัดผลและประเมินผล ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.1 แผนการวดั ผลและประเมินผลทัง้ รายวชิ า - พทุ ธิพิสยั 1) แบบฝกึ หัด 5% 2) ทดสอบหลังเรยี น 10 % 3) วัดผลสมั ฤทธ์ิ 5% รวม 20 % - ทักษะพิสัย 1) ใบงาน/งานท่ีมอบหมาย(ช้ินงาน) 30 % 2) วดั ผลสัมฤทธิ์(สอบกลางภาค) 10 % 3) วดั ผลสัมฤทธิ์(สอบปลายภาค) 20 % รวม 60 % - จติ พิสัย 20 % (คะแนนทดสอบก่อนเรียนไวส้ าหรบั เปรียบเทียบกบั คะแนนทดสอบหลังเรียน)

โครงการจดั การเรียนรู้ ชื่อวิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช.1 สปั ดาหท์ ี่ หน่วยท่ี ชื่อหนว่ ย/รายการสอน จานวนคาบ 1 1 2 2 2 เคร่ืองมือกลทั่วไปและเคร่ืองมอื กลเบ้ืองต้น 4 1.1เครื่องมอื ทัว่ ไป 2 3 3 1.2เครื่องมือกลเบื้องตน้ 4 แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 2 ใบงานท่ี 1 งานตะไบปรบั ผวิ 4 เคร่อื งมือวัดและเคร่อื งมือตรวจสอบ 2.1ความหมายของงานวดั 2.2หนว่ ยการวดั 2.3เครือ่ งมือวดั 2.4ความหมายของงานตรวจสอบ 2.5เครอ่ื งมอื ตรวจสอบ แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 2 ใบงานที่ 2 งานตะไบปรบั ขนาด สง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน 3.1ส่งิ แวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ าน 3.2ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ตั ิเหตุ 3.3สาเหตุของการเกิดอบุ ตั เิ หตุ 3.4ผลกระทบทเี่ กิดจากอบุ ัตเิ หตุ 3.5ประโยชน์ของความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน 3.6การปูองกันอุบัตเิ หตุ 3.7เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณ์ความปลอดภยั 3.8ความปลอดภยั ในโรงงาน 3.9ความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องจกั ร แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 3 ใบงานท่ี 3 งานรา่ งแบบ สัปดาห์ที่ หน่วยที่ ชอ่ื หนว่ ย/รายการสอน จานวนคาบ 2 4 4 งานตะไบ 4.1ตะไบและชนิดของตะไบ 4.2ชนิดของคมตะไบ 4.3หลกั ของการตะไบ 4.4ทา่ ตะไบ 4.5การกาหนดความถ่ี–หยาบของตะไบ

4.6ขอ้ ควรระวังในการตะไบและบารุงรักษา 4 แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 4 2 ใบงานที่ 4 งานลบั คมตดั ดอกสว่าน 4 5 5 งานรา่ งแบบ 2 5.1 ความหมายของการร่างแบบ 5.2ชนดิ ของเครื่องมือรา่ งแบบ 4 5.3การระวงั รกั ษาและความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องมือ ร่างแบบ แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 5 ใบงานท่ี 5 งานเจาะ 6 6 งานลบั คมตัด 6.1เครอื่ งเจยี ระไน 6.2ชนิดของเครื่องเจยี ระไน 6.3การลับมดี กลึง 6.4การลบั มดี กลงึ ปาดหนา้ 6.5การลับมดี กลงึ ปอกผิว 6.6การลบั ดอกสว่าน แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 ใบงานท่ี 6 งานขึ้นรูป สัปดาห์ที่ หนว่ ยที่ ชอ่ื หนว่ ย/รายการสอน จานวนคาบ 2 7 7 งานเจาะ 4 7.1เครื่องเจาะ 2 7.2ชนดิ ของเครื่องเจาะ 4 7.3ดอกสว่าน 7.4การจบั ช้นิ งานเจาะ 7.5การเลือกใชค้ วามเร็วตดั 7.6การระวังรักษาและความปลอดภัยในงานเจาะ แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 7 ใบงานที่ 7 งานตกแต่งและประกอบ 8 8 งานเลือ่ ยและงานสกัด 8.1งานเล่ือย 8.2การเลือกใช้ใบเลือ่ ย 8.3การประกอบใบเลอ่ื ย 8.4การปฏบิ ตั งิ านเลอ่ื ย 8.5งานสกดั แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 8 ใบงานท่ี 8 งานตะไบปรบั ผิวซแี คลมป์

9 9 งานตกแต่งและประกอบ 2 9.1งานประกอบมลี ักษณะการสวม 4 9.2การประกอบช้นิ สว่ นใหเ้ ปน็ ผลติ ภัณฑ์ แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 9 ใบงานท่ี 9 งานตะไบปรับขนาด สปั ดาหท์ ี่ หน่วยที่ ช่ือหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ 2 10 10 งานทาเกลยี ว 4 10.1 ชนดิ งานทาเกลียว 2 10.2 การทาเกลยี วดว้ ยมือ 4 6 10.3 เครอื่ งมอื ทาเกลยี ว 6 6 10.4 การทาเกลียวนอก 6 6 10.5 การทาเกลยี วใน 6 6 แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 10 108 ใบงานท่ี 10 งานร่างแบบ เจาะ เลอ่ื ยและสกดั 11 11 งานหล่อเบ้ืองต้น 11.1 หลักการของการหลอ่ โดยใช้ทรายทาแบบหล่อ 11.2 เครือ่ งมือและอุปกรณ์พน้ื ฐาน 11.3 กระสวน 11.4 ระบบจา่ ยน้าโลหะ 11.5 การหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหลอ่ แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 11 ใบงานท่ี 11 งานขน้ึ รูปและเจาะรู 12 ใบงานที่ 12 งานลับมดี กลึง 13 ใบงานที่ 13 งานกลึงสลัก 14 ใบงานท่ี 14 งานทาเกลียว 15 ใบงานที่ 15 งานกลึงแขนหมุน 16 ใบงานที่ 16 งานปากหมนุ ซีแคลมป์ 17 ใบงานท่ี 17 งานตกแตง่ และประกอบ 18 วัดผลและประเมนิ ผลปลายภาคเรียน รวม หมายเหตุ เวลาอาจเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม 1. ใบงานที่ 1-7 ปฏบิ ตั งิ านทาค้อนเดินสายไฟ 2. ใบงานที่ 8-17 ปฏบิ ตั งิ านทาซีแคลมป์

สรุปโครงการจดั การเรยี นรู้ ชือ่ วิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหัสวิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช.1 สัปดาห์ที่ หน่วยที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ จานวน คาบ 1 1 หนว่ ยท่ี 1 เครอื่ งมือฯ ใบงานที่ 1 งานตะไบปรบั ผิว 6 6 2 2 หน่วยที่ 2 เครอื่ งมือวดั ฯ ใบงานที่ 2 งานตะไบปรับขนาด 6 6 3 3 หน่วยท่ี 3 ความปลอดภยั ฯ ใบงานที่ 3 งานรา่ งแบบ 6 6 4 4 หน่วยท่ี 4 งานตะไบ ใบงานท่ี 4 งานลับคมตัดดอกสว่าน 6 6 5 5 หนว่ ยที่ 5 งานร่างแบบ ใบงานที่ 5 งานเจาะ 6 6 6 หนว่ ยที่ 6 งานลับคมตัด ใบงานท่ี 6 งานขึน้ รปู 6 7 7 หนว่ ยที่ 7 งานเจาะ ใบงานท่ี 7 งานตกแตง่ และประกอบ 6 6 8 8 หน่วยท่ี 8 งานเล่ือยและงานสกดั ใบงานที่ 8 งานตะไบปรบั ผวิ ซแี คลมป์ 6 6 9 9 หน่วยท่ี 9 งานตกแต่งและ ใบงานท่ี 9 งานตะไบปรับขนาด 6 ประกอบ 6 6 10 10 หนว่ ยที่ 10 งานทาเกลียว ใบงานที่ 10 งานร่างแบบ เจาะ 6 108 เลอ่ื ยและสกดั 11 11 หน่วยที่ 11 งานหล่อเบ้ืองต้น ใบงานที่ 11 งานข้นึ รปู และเจาะรู 12 ใบงานท่ี 12 งานลบั มดี กลงึ 13 ใบงานท่ี 13 งานกลึงสลกั 14 ใบงานที่ 14 งานทาเกลียว 15 ใบงานที่ 15 งานกลงึ แขนหมุน 16 ใบงานที่ 16 งานปากหมุนซีแคลมป์ 17 ใบงานที่ 17 งานตกแตง่ และประกอบ 18 วัดผลและประเมนิ ผลปลายภาค รวม หมายเหตุ เวลาอาจเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม 1. ใบงานท่ี 1-7 ปฏบิ ัตงิ านทาคอ้ นเดินสายไฟ 2. ใบงานที่ 8-17 ปฏิบัตงิ านทาซีแคลมป์

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ชอ่ื วิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1 ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ หน่วยท่ี 1 เครื่องมือกลทั่วไปและเครื่องมือกล สมรรถนะย่อย (Element of Competency) เบอื้ งต้น แสดงความรเู้ ก่ียวกับเคร่อื งมือทัว่ ไปและ 1.1เครือ่ งมือทวั่ ไป เคร่อื งมือกลเบอื้ งตน้ 1.2เครือ่ งมือกลเบอื้ งต้น แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1 จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) ใบงานที่ 1 งานตะไบปรบั ผิว - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายวธิ ีการใชเ้ ครื่องมือต่าง ๆ 2. บอกประโยชนข์ องเครื่องกลงึ 3. บอกชนิดของเครื่องกลงึ 4. อธบิ ายหนา้ ท่ีและส่วนประกอบของ เคร่อื งกลงึ 5. บอกขัน้ ตอนการใชเ้ ครื่องกลึงและการ บารุงรกั ษาเครือ่ งกลงึ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ตะไบปรับผวิ งานตามแบบ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ด้านทกั ษะ 1. เตรียมชน้ิ งานตะไบ 2. ตะไบปรับผิวงาน 3. บารุงรกั ษาตะไบ 4. ใช้ตะไบได้ถกู ต้องและปลอดภยั 5. ตรวจสอบผิวงานและความฉาก 6. ทาความสะอาดบรเิ วณพน้ื ที่ปฏบิ ัตงิ าน - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ เศรษฐกจิ -พอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏบิ ัติตนในแนวทางที่ดี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ ช่ือวิชา งานฝกึ ฝมี ือ (Bench Works) รหัสวิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับชัน้ ปวช.1 ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยที่ 2 เครือ่ งมอื วัดและเครื่องมอื ตรวจสอบ 2.1ความหมายของงานวดั แสดงความร้เู ก่ียวกบั เครอ่ื งมือวดั และตรวจสอบ 2.2หนว่ ยการวดั 2.3เครื่องมือวัด จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance 2.4ความหมายของงานตรวจสอบ Objectives) 2.5เครอ่ื งมือตรวจสอบ - ดา้ นความรู้ แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2 1. อธิบายความหมายของงานวดั 2. เปรียบเทียบหน่วยการวัดระหวา่ งระบบเมตริก กบั ระบบอังกฤษ 3. อธิบายขั้นตอนการใช้เครื่องมืองานวัดและ เครื่องมอื ตรวจสอบอยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัย 4. อธบิ ายความหมายของงานตรวจสอบ ใบงานท่ี 2 งานตะไบปรับขนาด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ตะไบปรับขนาดช้นิ งานตามแบบ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ตะไบปรับขนาดชน้ิ งาน 2. ตรวจสอบผิวงาน ความฉาก และขนาด ตามแบบที่ กาหนด 3. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนท่ีปฏิบัติงานให้สะอาด และเรียบร้อย - ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ - พอเพยี ง ตรงต่อเวลา มวี ินัย มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มเี หตุผล ประหยัด และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทดี่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ ช่อื วิชา งานฝกึ ฝมี ือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้นั ปวช.1 ชือ่ เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ หน่วยท่ี 3 สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภัยใน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) การปฏิบตั งิ าน แสดงความร้เู กยี่ วกับส่ิงแวดล้อมและความ 3.1ส่ิงแวดลอ้ มในการปฏบิ ัตงิ าน 3.2 ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน อุบตั เิ หตุ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance 3.3สาเหตุของการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ Objectives) 3.4ผลกระทบทเี่ กดิ จากอบุ ตั ิเหตุ 3.5ประโยชน์ของความปลอดภัยในการ - ดา้ นความรู้ ปฏิบตั งิ าน 1. บอกวิธกี ารปูองกนั อันตรายจากการใช้ 3.6การปอู งกันอุบตั เิ หตุ เครอื่ งมือทว่ั ไป 3.7เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ความปลอดภยั 2. บอกความปลอดภัยท่วั ไปท่ีเกิดจากการใช้ 3.8ความปลอดภยั ในโรงงาน เครื่องมือท่วั ไป 3.9ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจกั ร 3. บอกลกั ษณะเคร่ืองมือและอุปกรณ์ความ ปลอดภยั แต่ละชนดิ แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 3 4. บอกรปู แบบของสัญลกั ษณค์ วามปลอดภัย ใบงานที่ 3 งานร่างแบบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) วัดและรา่ งแบบชิน้ งานโลหะตามแบบ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทักษะ 1. เตรียมเครื่องมือรา่ งแบบและนาศนู ย์ 2. ร่างแบบและนาศนู ย์ 3. บารงุ รักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบได้ถูกต้องและปลอดภัย 5. ใช้เคร่ืองมอื ร่างแบบได้ถกู ตอ้ งและปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบรเิ วณพน้ื ท่ปี ฏบิ ัตงิ าน - ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ัย มีความรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซ่ือสัตย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ดี ี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ชอื่ วิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น ปวช.1 ชอื่ เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยท่ี 4 งานตะไบ 4.1ตะไบและชนิดของตะไบ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานตะไบ 4.2ชนดิ ของคมตะไบ 4.3หลักของการตะไบ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance 4.4ทา่ ตะไบ Objectives) 4.5การกาหนดความถ่ี–หยาบของตะไบ 4.6ข้อควรระวังในการตะไบและบารงุ รักษา - ดา้ นความรู้ 1. บอกวิธีการปูองกันอันตรายจากการใช้ แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 4 เครอื่ งมือ 2. อธบิ ายลักษณะตะไบและชนดิ ของตะไบ 3. บอกชนดิ ของคมตะไบ 4. อธบิ ายหลกั การทางานของตะไบ 5. อธบิ ายทา่ ทางการยืนตะไบ 6. บอกวิธกี ารกาหนดความถี่ หยาบของตะไบ 7. อธบิ ายขนั้ ตอนการใช้ตะไบและบารุงรกั ษา ตะไบอย่างถูกต้องและปลอดภัย ใบงานที่ 4 งานลับคมตัดดอกสวา่ น สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ลับคมตดั ดอกสว่าน จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ใช้เคร่อื งเจยี ระไนได้ถกู ต้องและปลอดภยั 2. ลับดอกสว่าน 3. ตรวจสอบมุมดอกสว่าน 4. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนท่ี ปฏิบัตงิ าน - ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง ตรงต่อเวลา มวี นิ ัย มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซื่อสตั ย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ ชอื่ วิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหัสวชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.1 ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยที่ 5 งานร่างแบบ 5.1 ความหมายของการร่างแบบ แสดงความรูเ้ ก่ียวกับงานรา่ งแบบ 5.2ชนดิ ของเคร่ืองมอื รา่ งแบบ 5.3การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในการ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) ใช้ เคร่อื งมือร่างแบบ - ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของการรา่ งแบบ แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 5 2. บอกชนดิ ของเคร่ืองมอื ร่างแบบ 3. อธบิ ายวิธกี ารใช้เคร่อื งมือร่างแบบอยา่ ง ถูกต้องและปลอดภัย 4. อธิบายขัน้ ตอนการใชเ้ ครื่องมือรา่ งแบบ 5. บอกการระวงั รกั ษาเคร่ืองมอื ร่างแบบ ใบงานท่ี 5 งานเจาะ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) วดั และเจาะชิ้นงานโลหะ จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ด้านทักษะ 1. เจาะรคู ้อนเดนิ สายไฟไดถ้ กู ต้องและปลอดภัย 2. ตะไบคอ้ นเดนิ สายไฟใหม้ ขี นาดตามท่ีกาหนด 3. ตรวจสอบขนาดรูคอ้ นเดินสายไฟตามแบบที่ กาหนด 4.ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนที่ปฏิบตั งิ าน - ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ - พอเพียง ตรงตอ่ เวลา มวี ินัย มีความรบั ผิดชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซ่ือสัตย์ มีเหตผุ ล ประหยัด และปฏบิ ัติตนในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ ชื่อวิชา งานฝกึ ฝมี ือ (Bench Works) รหสั วชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช.1 ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ หนว่ ยที่ 6 งานลับคมตัด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 6.1เครื่องเจียระไน แสดงความรู้เกยี่ วกบั งานลับคมตัด 6.2ชนดิ ของเครื่องเจียระไน 6.3การลับมดี กลึง จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance 6.4การลับมีดกลึงปาดหน้า Objectives) 6.5การลบั มดี กลึงปอกผิว 6.6การลบั ดอกสวา่ น - ดา้ นความรู้ แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 6 1. อธิบายการทางานของเครอื่ ง ใบงานท่ี 6 งานข้ึนรูป เจียระไน 2. จาแนกชนดิ ของเคร่ืองเจยี ระไน 3. อธิบายวิธกี ารลบั มดี กลึง 4. บอกขนั้ ตอนการลับมดี กลึงปาดหนา้ 5. บอกข้นั ตอนการลบั มีดกลงึ ปอกผวิ 6. บอกข้ันตอนการลับดอกสวา่ น สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ขน้ึ รูปชนิ้ งานตามแบบ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) - ด้านทักษะ 1. เล่ือยชนิ้ งานค้อนเดินสายไฟ 2. ตะไบปรบั ผิวหางค้อนเดินสายไฟ 3. ตะไบลบมมุ และลบคมหัวค้อนเดินสายไฟ 4. ตรวจสอบผิวงาน 5. ทาความสะอาดบรเิ วณพน้ื ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน - ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ - พอเพียง ตรงตอ่ เวลา มีวินัย มีความรบั ผิดชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ ชือ่ วิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหัสวิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั ปวช.1 ช่อื เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 7 งานเจาะ 7.1เครอ่ื งเจาะ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั งานเจาะ 7.2ชนดิ ของเคร่ืองเจาะ 7.3ดอกสวา่ น จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance 7.4การจับช้ินงานเจาะ Objectives) 7.5การเลอื กใชค้ วามเรว็ ตดั 7.6การระวังรกั ษาและความปลอดภัยในงาน - ดา้ นความรู้ 1. อธิบายลักษณะของเครื่องเจาะ เจาะ 2. บอกชนดิ ของเครอื่ งเจาะ แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 7 3. เลอื กขนาดและชนดิ ของดอกสว่านให้เหมาะสม กบั งาน 4. บอกวธิ ีการจับช้นิ งานเจาะอย่างถูกต้องและ ปลอดภยั 5. เลอื กใชค้ วามเรว็ ตัดที่เหมาะสม 6. อธบิ ายวิธีการระวงั รกั ษาใหเ้ กิดความ ปลอดภยั ในงานเจาะ ใบงานท่ี 7 งานตกแต่งและประกอบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ตกแตง่ และประกอบชิ้นงานโลหะ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) - ด้านทักษะ 1. ตะไบตกแตง่ ดา้ มคอ้ นเดนิ สายไฟ 2. ตะไบล่มิ 3. ประกอบดา้ มค้อนเดนิ สายไฟ 4. ทาความสะอาดบริเวณพื้นท่ี ปฏบิ ตั ิงาน - ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง ตรงตอ่ เวลา มวี ินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซื่อสัตย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ชื่อวิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหัสวิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.1 ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ หนว่ ยท่ี 8 งานเลื่อยและงานสกดั สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 8.1งานเลื่อย แสดงความรู้เกี่ยวกับงานเลอื่ ยและงานสกัด 8.2การเลือกใช้ใบเล่ือย 8.3การประกอบใบเลื่อย จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance 8.4การปฏิบตั ิงานเล่อื ย Objectives) 8.5งานสกัด แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8 - ดา้ นความรู้ 1. บอกลักษณะงานเล่ือย ใบงานที่ 8 งานตะไบปรบั ผิวซีแคลมป์ 2. เลอื กใช้ใบเลื่อยตามชนิดของวสั ดุ 3. อธิบายการประกอบใบเลื่อย 4. บอกลักษณะงานสกัด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ปรับผิวชน้ิ งานโลหะตามแบบ จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. เตรยี มช้ินงานตะไบ 2. ตะไบปรับผวิ ชน้ิ งานซีแคลมป์ 3. ปฏิบตั งิ านตะไบอยา่ งถูกต้องและ ปลอดภยั 4. ตรวจสอบผิวงานและความฉาก 5. ทาความสะอาดบริเวณพืน้ ที่ปฏิบัติงาน - ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ - พอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ัย มีความรับผดิ ชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซื่อสตั ย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ช่ือวิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับชัน้ ปวช.1 ช่อื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ หนว่ ยท่ี 9 งานตกแต่งและประกอบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 9.1งานประกอบมีลักษณะการสวม แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั งานตกแตง่ และประกอบ 9.2การประกอบชน้ิ สว่ นให้เปน็ ผลติ ภัณฑ์ ชิ้นสว่ น แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 9 จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ใบงานท่ี 9 งานตะไบปรบั ขนาด - ดา้ นความรู้ 1. อธิบายงานประกอบลักษณะการสวม 2. อธิบายขัน้ ตอนการประกอบชิ้นสว่ นใหเ้ ป็น ผลิตภัณฑ์ 3. อธิบายวธิ ีการตรวจสอบช้ินงานสาเร็จ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ปรับขนาดช้ินงานโลหะตามแบบ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) - ด้านทักษะ 1. ตะไบปรบั ขนาดชิ้นงานซแี คลมป์ 2. ปฏิบัตงิ านตะไบได้อย่างถูกต้องและปลอดภยั 3. ตรวจสอบผิวงาน ความฉาก และขนาดตามที่ กาหนด 4. ทาความสะอาดบรเิ วณพื้นทป่ี ฏิบัติงาน - ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง ตรงตอ่ เวลา มวี ินัย มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มีเหตุผล ประหยัด และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช.1 ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยที่ 10 งานทาเกลียว 10.1 ชนิดงานทาเกลยี ว แสดงความรู้เก่ยี วกบั งานทาเกลยี ว 10.2 การทาเกลียวด้วยมือ 10.3 เครอื่ งมอื ทาเกลยี ว จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance 10.4 การทาเกลียวนอก Objectives) 10.5 การทาเกลยี วใน - ดา้ นทกั ษะ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 10 1. อธบิ ายลักษณะชนดิ ของงานทา เกลยี ว 2. บอกวธิ ีการทาเกลยี วด้วยมอื 3. อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือทาเกลยี ว 4. อธิบายข้ันตอนการทาเกลียวนอก 5. อธบิ ายขั้นตอนการทาเกลยี วใน ใบงานท่ี 10 งานรา่ งแบบ เจาะ เลื่อยและสกัด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ร่างแบบ เจาะ เล่ือยและสกัดช้ินงานโลหะตาม แบบ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) - ดา้ นทักษะ 1. ร่างแบบและนาศูนย์ 2. เจาะรูตามตาแหน่งที่กาหนด 3. เลื่อยชน้ิ งานซแี คลมป์ 4. สกัดชน้ิ งานซแี คลมป์ 5. ปฏบิ ตั ิงานอยา่ งปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนที่ ปฏิบตั งิ าน - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ - พอเพียง ตรงต่อเวลา มวี ินยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มเี หตุผล ประหยัด และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางทด่ี ี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ชื่อวิชา งานฝกึ ฝีมือ (Bench Works) รหสั วชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช.1 ชอ่ื เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยท่ี 11 งานหลอ่ เบื้องต้น 11.1 หลกั การของการหลอ่ โดยใชท้ รายทา แสดงความรูเ้ กี่ยวกับงานหลอ่ เบอ้ื งตน้ แบบหล่อ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance 11.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณพ์ ้นื ฐาน Objectives) 11.3 กระสวน 11.4 ระบบจ่ายน้าโลหะ - ด้านทักษะ 11.5 การหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบหลอ่ แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 11 ใบงานท่ี 11 งานขนึ้ รูปและเจาะรู สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ข้นึ รปู และเจาะรูช้นิ งานโลหะตามแบบ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) - ดา้ นทักษะ 1. ตะไบปรบั ผวิ เรียบขาด้านในช้นิ งานตวั ซีตาม ขนาด ท่ีกาหนด 2. ตะไบปรับผิวโคง้ และผิวลาดเอียงชนิ้ งานตัวซี 3. ตะไบลายขน้ึ ลายปากจับชนิ้ งานตวั ซี 4. ตรวจสอบขนาดตวั ซี 5. เจาะรตู ามขนาดที่กาหนด 6. ปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย 7. ทาความสะอาดบริเวณพน้ื ทป่ี ฏบิ ัติงาน - ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง ตรงต่อเวลา มวี ินยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซ่ือสัตย์ มเี หตุผล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ ชอื่ วิชา งานฝึกฝีมือ (Bench Works) รหัสวชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.1 ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ใบงานท่ี 12 งานลับมีดกลงึ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ใบงานที่ 14 งานทาเกลียว ลบั มดี กลงึ ปอกและลับมีดกลึงปาดหนา้ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) - ด้านทกั ษะ 1. ลับมีดกลึงปอก 2. ลับมีดกลึงปาดหน้า 3. ตรวจสอบมุมมีดกลึงปอก 4. ตรวจสอบมมุ มดี กลึงปาดหน้า 5. ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างปลอดภัย 6. ทาความสะอาดบริเวณพนื้ ท่ีปฏบิ ตั งิ าน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) กลงึ สลกั ตามแบบ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. กลึงปอกสลักตามขนาดที่กาหนด 2. กลึงปาดหนา้ สลกั ตามขนาดท่ีกาหนด 3. ตรวจสอบขนาดตามที่กาหนด 4. ปฏบิ ตั ิงานอย่างปลอดภยั 5. ทาความสะอาดบริเวณพนื้ ทปี่ ฏิบตั ิงาน - ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ - พอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินยั มคี วามรบั ผิดชอบ ละเอียด รอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มเี หตผุ ล ประหยัด และปฏิบัติตนในแนวทางทด่ี ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ชื่อวิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหสั วชิ า 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช.1 ชอื่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ใบงานที่ 15 งานกลึงแขนหมุน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ใบงานท่ี 16 งานปากหมนุ ซีแคลมป์ ทาเกลยี วบนชนิ้ งานโลหะตามแบบ ใบงานที่ 17 งานตกแต่งและประกอบ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) - ด้านทักษะ 1. ทาเกลียวนอกบนสลกั 2. ทาเกลยี วในปลายสลัก 3. ทาเกลยี วในบนตัวซี 4. ตรวจสอบเกลียว 5. ปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งปลอดภัย 6. ทาความสะอาดบริเวณพืน้ ทป่ี ฏบิ ัตงิ าน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) กลงึ แขนหมนุ ตามแบบ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. กลงึ ปาดหนา้ แขนหมุนตามขนาดท่กี าหนด 2. กลงึ ปอกแขนหมนุ ตามขนาดที่กาหนด 3. กลึงขึน้ รูปรศั มีโค้งตามขนาดทีก่ าหนด 4. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานแขนหมนุ ตามขนาดที่ กาหนด 5. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนทป่ี ฏิบตั งิ าน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) รา่ งแบบและเจาะรูชิ้นงานตามแบบ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 1. ตะไบปรับผิวชิ้นงานปากหมุนซีแคลมป์ตาม ขนาด 2. รา่ งแบบและนาศูนยช์ ิ้นงานปากหมนุ ซแี คลมป์ 3. ตะไบข้ึนลายปากหมุนซแี คลมป์ 4. เจาะรูตามขนาดทก่ี าหนด 5. ตรวจสอบผวิ งานและขนาด

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวิชา ชื่อวิชา งานฝึกฝมี ือ (Bench Works) รหสั วิชา 20100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.1 พทุ ธิพสิ ัย (30%) พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจ ช่ือหนว่ ย ประ ุยกต์-นาไปใช้ 1. เครอ่ื งมอื ทัว่ ไปและเครื่องมอื วิเคราะห์ กล สูงก ่วา ทักษะพิสัย (50%) เบอื้ งตน้ ิจตพิสัย (20%) 2. เครอ่ื งมอื วดั และเครื่องมือ รวม (100%) ลา ัดบความสาคัญ ตรวจสอบ 3. ความปลอดภยั ในการ 1 21 46 ปฏบิ ตั ิงาน 4. งานตะไบ 1 51 75 5. งานร่างแบบ 6. งานลับคมตดั 12 42 93 7. งานเจาะ 8. งานเลอื่ ยและงานสกัด 11 2 5 2 11 1 9. งานตกแต่งและประกอบ 11 52 93 10. งานทาเกลียว 5 2 10 2 11. งานหลอ่ เบ้ืองตน้ 11 1 42 93 11 1 42 93 รวม 42 93 12 4 2 10 2 ลาดับความสาคัญ 12 32 84 11 2 11 1 50 20 100 5 9 16 13 30 2

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 หน่วยท่ี 1 รหสั วิชา 20100-1003 วชิ างานฝึกฝมี ือ เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย เครื่องมือทั่วไปและเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น สอนสปั ดาห์ท่ี 1/18 ช่ือเร่ือง เครอ่ื งมือทั่วไปและเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ จานวน 6 คาบ หัวข้อเรอ่ื ง 1.1 เครือ่ งมือทว่ั ไป 1.2 เครอ่ื งมอื กลเบ้ืองต้น - แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1 - ใบงานท่ี 1 งานตะไบปรับผิว 1. สาระสาคญั เครอ่ื งมือทวั่ ไปและเคร่ืองมือกลเบือ้ งตน้ เปน็ เครอ่ื งมอื พื้นฐานสาคญั ท่ีนักเรยี นต้องเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจ ถึงลกั ษณะและวิธกี ารใช้ให้ถูกตอ้ ง ดงั นนั้ จึงจาเป็นตอ้ งปรับพ้ืนความรู้ ความเขา้ ใจใหเ้ ปน็ ไปในแนวเดียวกนั และถูกตอ้ งตามหลกั การ เพ่ือเพิม่ อายกุ ารใชง้ านของเคร่ืองมือเคร่ืองจักร 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับเคร่ืองมือทว่ั ไปและเคร่อื งมือกลเบ้ืองตน้ 2. ตะไบปรับผวิ งานตามแบบ 3. จุดประสงค์การการเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายวธิ กี ารใช้เคร่ืองมือตา่ ง ๆ 2. บอกประโยชน์ของเครื่องกลงึ 3. บอกชนิดของเคร่อื งกลึง 4. อธบิ ายหน้าทแี่ ละส่วนประกอบของเคร่ืองกลึง 5. บอกขั้นตอนการใช้เครื่องกลึงและการบารุงรักษาเคร่ืองกลงึ - ด้านทักษะ 1. เตรยี มช้ินงานตะไบ 2. ตะไบปรบั ผวิ งาน 3. บารุงรกั ษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบได้ถกู ต้องและปลอดภยั 5. ตรวจสอบผวิ งานและความฉาก 6. ทาความสะอาดบริเวณพื้นท่ีปฏบิ ัตงิ าน 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ัย มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซ่ือสัตย์ มเี หตุผล ประหยัด และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทดี่ ี 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เคร่อื งมอื ทัว่ ไป 4.1.1 ไขควง (Screwdrivers)

ไขควงปากแบนหรือไขควงธรรมดา (Common Screwdrivers) ไขควงปากแฉก (Phillips Head Screwdriver) ไขควงหัวคลตั ซ์ (Clutch Head Screwdriver) ไขควงออฟเสท (Offset Screwdriver) ไขควงสตาร์ตติง (Starting Screwdriver) 4.1.2คอ้ น (Hammers) 1. คอ้ นหัวแขง็ (Hard Hammers) ค้อนหวั กลม (Ball Peen Hammer) คอ้ นหัวตรง (Straight Peen Hammer) ค้อนหัว ขวาง (Cross Peen Hammer) ค้อนตเี หลก็ คอ้ นเดินสายไฟ (Electrician Hammer) คอ้ นช่างไมห้ รือค้อนหัว แพะ (Claw Hammer) ค้อนขนาดใหญห่ รือค้อนพะเนนิ (Heavy Hammer) 2. ค้อนหัวอ่อน (Soft Hammer) ค้อนทองเหลือง (Brass Hammer) ค้อนพลาสติก (Plastic Hammer) ค้อนยาง (Rubber Hammer) ค้อนไม้ (Wood Mallet) 4.1.3 คมี (Pliers) คีมเลื่อน คีมตัด คีมตัดขา้ ง คีมปากจิ้งจก คีมล็อก คีมถอดแหวนลอ็ ก 4.1.4 ประแจ (Wrenches) ประแจปากตาย ประแจเลื่อน ประแจแหวน ประแจจบั ท่อ ประแจกระบอก ประแจแอล ประแจขอ 4.1.5กรรไกร (Snips) แบบใบมดี ตัดตรง แบบใบมดี ตัดผสม 4.1.6ปากกาจับงาน (Bench Vises) 4.2 เครื่องมอื กลเบ้ืองตน้ 4.2.1 เคร่ืองกลงึ (Lathe Machines) 4.2.2 ชนดิ ของเคร่ืองกลงึ 4.2.3 ขนาดของเครื่องกลึง 4.2.4 หนา้ ท่ีและสว่ นประกอบของเคร่ืองกลึง 4.2.5 การบารุงรักษาเครอ่ื งกลงึ 4.2.6 ความปลอดภัยในการใชเ้ ครือ่ งกลงึ 4.2.7 ประโยชน์ของเคร่อื งกลึง 4.2.8 การใชเ้ ครื่องกลงึ 5.กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 1 คาบท่ี 1–6/108) ข้นั เตรียม 1. ครูขานช่อื ผเู้ รยี น 2. ครแู นะนารายวชิ า วธิ ีการเรยี นการสอน การวัดผลและประเมนิ ผล ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น 3. ครใู หน้ ักเรียนทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยท่ี 1 4. ครตู ้ังคาถามเพือ่ นาเขา้ สู่บทเรยี นเร่ือง เคร่อื งมอื ทั่วไป 5. นกั เรียนตอบคาถามท่คี รูถาม ขั้นเรยี นรู้ 6. ครอู ธบิ าย ถาม-ตอบเนือ้ หาเก่ียวกับเครอื่ งมือท่วั ไปและเครื่องมือกลเบ้ืองต้น 7. นักเรียนจดบนั ทกึ สาระสาคญั ทคี่ รูอธิบาย

8. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 9. ครสู าธิตการตะไบและให้นกั เรยี นปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 1 ข้ันสรปุ 10. ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปญั หาทั้งทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 1 12. ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 1 และใบงานท่ี 1 ใหเ้ สรจ็ สมบูรณ์ สง่ ในครั้งต่อไป 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสืองานฝึกฝมี อื รหัส 2100-1003 หนว่ ยท่ี 1 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยที่ 1 3. ใบงานที่ 1/เคร่ืองมอื วสั ดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ห้องสมดุ วทิ ยาลัย ศูนย์วิทยบริการ ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 1. ใบความรู้ 7.2 หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ผลการปฏบิ ตั ติ ามใบงานท่ี 1 งานตะไบปรับผวิ ประสาน คงจันทร.์ (2556). งานฝึกฝมี อื 1. นนทบรุ ี: ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย. 2. ผลจากการทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 1 8. การวัดผลและประเมนิ ผล 8.1 เครอื่ งมอื ประเมนิ กอ่ นเรียน - ใชส้ มุดบนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานช่ือผู้เรยี นและตรวจการตรงต่อเวลา - ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรยี น ประเมนิ ความพร้อม เช่น มีหนังสือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นต้น ขณะเรียน -ใช้แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ ต่อการปฏิบัติงาน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ หลงั เรียน - ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 50% - ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมนิ การฝกึ ปฏิบัติตามใบงานท่ี 1 ส่งงานตามข้อกาหนด 9. การขับเคลือ่ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมรรถนะ น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารงุ รกั ษาอุปกรณ์ - วัสดุ จดุ ประสงค์ทั่วไป จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี สงั คม เศรษฐกจิ วฒั นธรรม สงิ่ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ปรัชญา 1.บารุงรักษาอปุ กรณ์ - วัสดุ     ของเศรษฐกจิ 2.มีความอดทนในการ  พอเพยี งด้านมี ปฏิบัติงาน เหตุผลในการ 3.การเรยี นรู้โดยใชเ้ งอ่ื นไข    ดารงชีวิต สุภาพและประหยัด

10. บันทกึ หลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ................................................................ ..... ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... .................................................................... 10.3 แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................... (นายชตุ ิเทพ มาดีตีระเทวาพงษ์) ครูผู้สอน

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หน่วยท่ี 2 ช่ือวิชา งานฝกึ ฝีมอื รหัส 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย เครือ่ งมือวัดและเคร่ืองมือตรวจสอบ สอนสัปดาห์ที่ 2/18 ช่อื เรือ่ ง เครื่องมือวดั และเครือ่ งมือตรวจสอบ จานวน 6 คาบ หวั ข้อเร่ือง 2.1ความหมายของงานวดั 2.2หน่วยการวดั 2.3เครอ่ื งมอื วัด 2.4ความหมายของงานตรวจสอบ 2.5เคร่อื งมอื ตรวจสอบ - แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 2 - ใบงานท่ี 2 งานตะไบปรับขนาด 1. สาระสาคญั การวดั และตรวจสอบขนาดของงานที่ถูกต้อง จะทาให้งานมคี ณุ ภาพ ดงั น้ันผู้ปฏิบัติงานจงึ จาเป็นอยา่ ง ยง่ิ ทีจ่ ะต้องรจู้ กั วิธีการใช้และการอา่ นเครือ่ งมอื วัดใหถ้ กู ต้อง สาหรบั คา่ ความหยาบหรือความละเอยี ดท่ีไดจ้ าก การวัดน้ันขึ้นอย่กู ับการเลือกใช้ชนิดของเคร่ืองมือวดั ผู้ปฏบิ ตั ิงานจะต้องพิจารณาเลอื กใชเ้ คร่ืองมือวัดใหถ้ ูกต้อง กบั ความละเอียดของช้นิ งาน 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความร้เู กี่ยวกับเครื่องมือวัดและเคร่ืองมือตรวจสอบ 2. ตะไบปรบั ขนาดชิน้ งานตามแบบ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายความหมายของงานวัด 2. เปรียบเทียบหนว่ ยการวัดระหว่างระบบเมตริกกับระบบองั กฤษ 3. อธิบายข้ันตอนการใช้เคร่อื งมอื งานวดั และเครอื่ งมอื ตรวจสอบอย่างถูกต้องและปลอดภยั 4. อธิบายความหมายของงานตรวจสอบ - ดา้ นทักษะ 1. ตะไบปรับขนาดชิน้ งาน 2. ตรวจสอบผวิ งาน ความฉาก และขนาด ตามแบบที่กาหนด 3. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนทปี่ ฏบิ ตั ิงานให้สะอาดและเรียบร้อย 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงต่อเวลา มีวินยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซื่อสัตย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ัติตนในแนวทางท่ีดี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1ความหมายของงานวัด งานวัด หมายถงึ การวดั ความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน โดยตาแหน่งท่ีวัดขนาด สามารถอา่ นคา่ เปน็ หนว่ ยวัดในระบบต่าง ๆ ได้ 4.2หนว่ ยการวัด 4.2.1 ระบบเมตรกิ 4.2.2 ระบบองั กฤษ 4.3เครอ่ื งมือวัด 4.3.1 บรรทดั เหล็ก (Steel Rule) 4.3.2 บรรทดั วัดมมุ 4.3.3 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Calipers) 4.3.4 เวอรเ์ นียร์ดจิ ติ อล (Digital Vernier Calipers) 4.3.5 เวอรเ์ นียร์ไฮเกจ (Vernier High Gauge) 4.3.6 ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) 4.4ความหมายของงานตรวจสอบ งานตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบความเรียบของผิวช้ินงาน ความฉากของชิ้นงาน ขนาดความโต ของช้ินงาน ลักษณะตาแหน่งที่ตรวจสอบทาให้สามารถทราบขนาดของช้ินงานและมีผิวเรียบ ได้ฉาก ขนาดเล็ก หรือขนาดโตเกินไป ไมม่ ีหนว่ ยระบบในการวัดคา่ 4.5เครอ่ื งมือตรวจสอบ 4.5.1 ฉาก 4.5.2 บรรทัดเส้นผม 4.5.3 เกจวัดต่าง ๆ 4.5.4 ขอ้ ควรระวังและความปลอดภัยในการใชเ้ คร่ืองมือวดั และตรวจสอบ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 2 คาบท่ี 7–12/108) ขัน้ เตรยี ม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกบั เคร่ืองมือ การใช้ การบารุงรกั ษาและการปฏิบตั ิ เกีย่ วกับการตะไบชน้ิ งาน ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น 3. ครูให้นักเรยี นทดสอบก่อนเรยี น หน่วยท่ี 2 4. ครตู ้ังคาถามเพือ่ นาเขา้ สบู่ ทเรยี นเรื่อง เครื่องมือวดั และเครือ่ งมอื ตรวจสอบ 5. นักเรียนตอบคาถามท่ีครถู าม ขัน้ เรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเนื้อหาเกยี่ วกบั เครอ่ื งมือวัดและเครื่องมือตรวจสอบ 7. นักเรยี นจดบนั ทึกสาระสาคัญท่ีครอู ธิบาย

8. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 2 9. ครสู าธติ การวดั เพื่อปรับขนาดและใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติงานตามใบงานท่ี 2 (หากผลการปฏิบัติตามใบงานที่ 1 ยังไม่เรียบรอ้ ย ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติอย่างตอ่ เน่ืองต่อไป) ขน้ั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไขปญั หาท้งั ทฤษฎีและปฏิบัติ 11. ครูให้นกั เรียนทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 2 6. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสืองานฝึกฝีมอื รหัส 2100-1003 หน่วยที่ 2 ประสาน คงจันทร.์ (2556). งานฝกึ ฝมี ือ 1. นนทบรุ ี: ศนู ย์หนังสอื เมืองไทย. 2. แบบประเมินผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยท่ี 2 3. ใบงานที่ 1/เครือ่ งมอื วัสดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ัติงาน 4. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัย ศนู ยว์ ทิ ยบริการ ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรยี นรู้ 1. ผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 2 งานตะไบปรบั ผวิ 2. ผลจากการทาแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 2 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 2 8. การวัดผลและประเมนิ ผล 8.1 เครื่องมือประเมนิ ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรยี นฯ ขานชื่อผู้เรียนและตรวจการตรงตอ่ เวลา 2) ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เชน่ มเี ครือ่ งมอื หนังสือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้ ขณะเรยี น 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝรุ ู้ ความรับผิดชอบ ต่อ การปฏบิ ตั งิ าน 8.2 เกณฑก์ ารประเมิน หลังเรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 50% 2) ภาคปฏิบตั ิ ประเมินการฝึกปฏิบัติตามใบงานท่ี 2 ส่งงานตามข้อกาหนด 9. การขับเคลือ่ นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยบารุงรกั ษาอุปกรณ์ - วัสดุ จุดประสงค์ท่ัวไป จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งชี้ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ปรชั ญา 1.บารุงรกั ษาอุปกรณ์ - วสั ดุ     ของเศรษฐกิจ 2.มีความอดทนในการ  พอเพียงดา้ นมี ปฏบิ ัติงาน เหตผุ ลในการ 3.การเรยี นรู้โดยใชเ้ งื่อนไข    ดารงชีวติ สภุ าพและประหยัด

10. บนั ทึกหลงั การสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 10.2 ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาทีพ่ บ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... 10.3 แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ........................................ (นายชตุ เิ ทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์) ครผู ู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 หน่วยที่ 3 ช่อื วิชา งานฝึกฝีมอื รหัส 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย ส่งิ แวดล้อมและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน สอนสัปดาห์ที่ 3/18 ชอ่ื เร่อื ง ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน จานวน 6 คาบ หวั ข้อเรอ่ื ง 3.1สง่ิ แวดล้อมในการปฏิบัติงาน 3.2ความหมายของความปลอดภัยและอบุ ตั เิ หตุ 3.3สาเหตขุ องการเกดิ อุบตั เิ หตุ 3.4ผลกระทบท่ีเกิดจากอุบตั เิ หตุ 3.5ประโยชน์ของความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน 3.6การป้องกนั อุบตั เิ หตุ 3.7เครอื่ งหมายและสัญลกั ษณ์ความปลอดภยั 3.8ความปลอดภัยในโรงงาน 3.9ความปลอดภยั ในการใช้เครอื่ งจกั ร - แบบฝึกหดั หน่วยที่ 3 - ใบงานที่ 3 งานร่างแบบ 1. สาระสาคัญ อันตรายที่เกิดจากการปฏิบัติงาน มีสาเหตุมาจากหลายด้านด้วยกันท้ังจากเคร่ืองมือ อุปกรณ์ จาก สภาพแวดลอ้ ม และจากตัวผู้ปฏิบัติงานเอง แต่อันตรายที่เกิดข้ึนน้ันสามารถปูองกันได้ โดยศึกษาในเรื่องความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงานและมีมาตรการปูองกันให้ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยอย่าง เคร่งครัด ซึ่งบางคร้งั ผู้ปฏิบัติงานประมาท ไมม่ กี ารเตรยี มการปอู งกัน ดงั น้นั การปฏิบัติงานอย่างระมัดระวังและ มคี วามเขา้ ใจจะชว่ ยลดอุบตั เิ หตแุ ละลดความรนุ แรงท่ีเกิดขึ้นได้ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 2. วดั และรา่ งแบบชิน้ งานตามแบบงาน 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป - ดา้ นความรู้ 1. บอกวิธีการปูองกนั อันตรายจากการใชเ้ ครื่องมือทว่ั ไป 2. บอกความปลอดภยั ท่ัวไปทเ่ี กิดจากการใช้เคร่อื งมือทวั่ ไป 3. บอกลกั ษณะเคร่ืองมือและอุปกรณ์ความปลอดภยั แตล่ ะชนิด 4. บอกรูปแบบของสัญลกั ษณค์ วามปลอดภยั - ด้านทกั ษะ 1. เตรียมเครื่องมือร่างแบบและนาศูนย์

2. ร่างแบบและนาศนู ย์ 3. บารงุ รักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบได้ถูกต้องและปลอดภัย 5. ใชเ้ ครือ่ งมอื ร่างแบบได้ถูกต้องและปลอดภัย 6. ทาความสะอาดบรเิ วณพ้นื ทีป่ ฏิบตั งิ าน 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม - ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงตอ่ เวลา มวี นิ ัย มีความรบั ผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซือ่ สตั ย์ มเี หตุผล ประหยัด และปฏิบัตติ นในแนวทางทีด่ ี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1สิง่ แวดล้อมในการปฏิบัติงาน 4.1.1 ความหมายของสงิ่ แวดลอ้ มในการปฏิบตั งิ าน สิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น เครื่องจักร ความเป็นระเบยี บของโรงงาน การจัดสภาพงาน เป็นต้น 4.1.2การควบคมุ ส่งิ แวดล้อมในการปฏบิ ัตงิ าน 1. ควบคุมแหล่งที่เป็นอนั ตรายต่อการปฏิบตั งิ าน 2. ควบคุมสง่ิ แวดล้อมที่เปน็ อันตราย 4.2ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ตั ิเหตุ 4.2.1 ความปลอดภัย (Safety) คือ การพ้นจากเหตุอันตรายหรือการปราศจากภัยใด ๆ ที่จะ สง่ ผลใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ สญู เสยี ชวี ิต และทรพั ย์สิน 4.2.2 อุบตั เิ หตุ (Accident) คอื เหตกุ ารณ์ทเี่ กิดข้นึ โดยไมม่ ีใครคาดคดิ มาก่อน โดยไม่ไดต้ ้ังใจ ซึง่ ทาใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ สูญเสยี ชวี ติ สูญเสียทรพั ย์สิน หรอื ส่งผลเสียหายตอ่ สังคม 4.3สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุ 1. การใช้เครือ่ งมอื เครื่องจกั ร หรืออปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ควรไดร้ บั อนญุ าตก่อนทกุ คร้ัง 2. ความประมาท เลินเล่อ ขาดความต้ังใจในการทางาน 3. ขาดทกั ษะและความชานาญในการปฏบิ ตั ิงาน 4. สภาพรา่ งกายไม่มคี วามพรอ้ ม 5. ไม่ใส่ใจต่อคาเตือนต่าง ๆ 4.4ผลกระทบทเี่ กดิ จากอุบัติเหตุ 1. ผู้ประสบอุบัติเหตุและครอบครัวเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง เกิดการสูญเสียเก่ียวกับค่า รักษาพยาบาล คา่ เงินทดแทน คา่ ทาศพ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อกี มากมาย 2. เพอ่ื นรว่ มงานต่ืนตระหนกและเสียขวญั กาลังใจในการทางาน 3. เจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเคร่ืองจักรเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ ท่ไี ด้รบั ความเสียหาย 4.5ประโยชน์ของความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน 1. ลดค่าใชจ้ า่ ยในการซอ่ มแซม เคร่อื งมอื เครื่องจักร อุปกรณ์ ท่ีได้รับความเสียหาย และเป็นการ ประหยัดค่ารักษาพยาบาล ค่าเงินเข้ากองทุนทดแทน ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้ เป็นส่วนหน่ึงของต้นทุน ในการผลติ สนิ ค้า 2. ผลผลิตเพ่ิมข้ึน ซึ่งเกิดจากความม่ันใจและขยันในการทางานด้วยความรับผิดชอบสูงทาให้ ผลผลิตโดยรวมเพมิ่ สูงขึ้นทง้ั ในเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ

4.6การปอู งกันอุบัติเหตุ 1. วางแผนจัดอบรมการปูองกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์ ในการ ปฏิบตั ิงานใหพ้ นกั งานหรือบคุ คลทีเ่ กยี่ วข้อง 2. วางแผนในการตดิ ต้งั อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการปูองกันอบุ ัติภัย ใหม้ จี านวนมากพอในการใชง้ าน 3. กระตุน้ ใหท้ ุกคนตระหนักในความปลอดภัยและปฏบิ ตั ิตามบทบาทและหนา้ ท่ขี องตนเอง 4.7เครื่องหมายและสัญลกั ษณค์ วามปลอดภยั 3.7.1 เคร่อื งหมาย 1. เคร่ืองหมายห้าม 2. เครือ่ งหมายบังคบั 3. เครอ่ื งหมายเตือน 4. เครือ่ งหมายสารนิเทศเก่ียวกับภาวะปลอดภัย 3.7.2 สญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั 4.8ความปลอดภัยในโรงงาน 1. บารุงรักษาเครอื่ งมอื เคร่อื งจักร และอปุ กรณ์ ใหม้ สี ภาพพร้อมท่จี ะใชง้ าน 2. สวมแว่นนิรภัยเพื่อปอู งกันอนั ตรายจากงานเจียระไน และอุบัติเหตุท่อี าจเกิดข้ึนกับดวงตา 3. จัดโรงงานใหเ้ ป็นระเบียบ ไม่รกรงุ รัง เพอ่ื ปอู งกันอุบตั เิ หตุ 4. เกบ็ และตรวจสอบเครือ่ งมือเขา้ ท่ีใหเ้ รียบรอ้ ยเม่อื เลิกใชง้ าน 4.9ความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่ืองจกั ร 1. มีการแนะนาในการใชเ้ คร่ืองจักรใหเ้ หมาะสมกบั งาน 2. มกี ารแนะนาใหร้ จู้ ักการซ่อมบารงุ เครอื่ งจักรให้อยู่ในสภาพดี 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 3 คาบที่ 13–18/108) ข้นั เตรยี ม 1. ครขู านช่ือผเู้ รยี น 2. ครูทบทวน ให้ข้อมลู ย้อนกลับเก่ยี วกบั เคร่ืองมือ การใช้ การบารุงรักษาและการปฏิบัติ เกี่ยวกับการวัดขนาดชิ้นงาน ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน 3. ครใู หน้ ักเรียนทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 3 4. ครูต้ังคาถามเพ่ือนาเข้าสู่บทเรียนเร่ือง ส่ิงแวดล้อมและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (โดยม่งุ เนน้ ส่ิงทเ่ี ปน็ อยูใ่ นแผนกวิชาและสิง่ ท่ีควรแก้ไขเพื่อความปลอดภัย) 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครถู าม ขน้ั เรียนรู้ 6. ครอู ธบิ าย ถาม-ตอบเนื้อหาเกย่ี วกับส่งิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน 7. นักเรยี นจดบนั ทึกสาระสาคญั ท่คี รอู ธบิ าย 8. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 3 9. ครสู าธติ การรา่ งแบบลงบนชิ้นงานและใหน้ ักเรียนปฏิบัติงานตามใบงานท่ี 3 (หากผลการปฏิบัติตามใบงานท่ี 1-2 ยงั ไม่เรยี บรอ้ ย ให้นักเรียนปฏิบตั อิ ย่างต่อเน่อื งต่อไป) ขัน้ สรปุ 10. ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไขปัญหาทง้ั ทฤษฎีและปฏิบัติ

11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 3 6. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สืองานฝกึ ฝมี อื รหสั 2100-1003 หน่วยที่ 3ประสาน คงจันทร์. (2556). งานฝกึ ฝมี ือ 1. นนทบรุ ี: ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย. 2. แบบประเมินผลการเรียนรูแ้ ละแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 3 3. ใบงานที่ 3/เคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏบิ ัตงิ าน 4. ห้องสมดุ วิทยาลยั ศูนยว์ ิทยบรกิ าร ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรียนรู้ 1. ผลการปฏิบตั ติ ามใบงานที่ 3 งานรา่ งแบบ 2. ผลจากการทาแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 3 3. ผลจากการทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 3 8. การวัดผลและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน ก่อนเรยี น 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรยี นฯ ขานช่ือผูเ้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใชแ้ บบสังเกตความพร้อมในการเรยี น ประเมนิ ความพร้อม เชน่ มีเคร่ืองมือ หนงั สือ สมุด ปากกา การแตง่ กาย เป็นต้น ขณะเรยี น 1) ใช้แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรับผดิ ชอบ ตอ่ การปฏิบัติงาน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ หลังเรยี น 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรผู้ ่านเกณฑ์การประเมิน 50% 2) ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมินการฝึกปฏิบัตติ ามใบงานที่ 3 ส่งงานตามขอ้ กาหนด 9. การขับเคลือ่ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สมรรถนะ น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารุงรกั ษาอุปกรณ์ - วัสดุและสภาพแวดลอ้ มโรงฝกึ งาน จดุ ประสงค์ท่ัวไป จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม ประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญา 1.บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ - วสั ดุ     ของเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอ้ มโรงฝกึ งาน   พอเพียงดา้ นมี 2.มีความอดทนในการ เหตุผลในการ ปฏิบตั งิ าน    ดารงชีวิต 3.การเรียนรโู้ ดยใชเ้ ง่ือนไข สภุ าพและประหยัด

10. บันทึกหลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... .................................................................... 10.3 แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................... (นายชตุ ิเทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์) ครูผ้สู อน

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 หนว่ ยท่ี 4 ช่อื วิชา งานฝึกฝีมอื รหสั 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ สัปดาหท์ ่ี 4/18 ชอ่ื หน่วย งานตะไบ จานวน 6 คาบ ชอ่ื เรอ่ื ง งานตะไบ หัวข้อเร่อื ง 4.1 ตะไบและชนดิ ของตะไบ 4.2 ชนดิ ของคมตะไบ 4.3 หลักของการตะไบ 4.4 ทา่ ตะไบ 4.5 การกาหนดความถ่ี–หยาบของตะไบ 4.6 ขอ้ ควรระวังในการตะไบและบารุงรักษา - แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 4 - ใบงานที่ 4 งานลบั คมตัดดอกสว่าน 1. สาระสาคัญ งานตะไบเป็นงานข้ันพื้นฐาน ซึ่งนักเรียนที่เริ่มเรียนช่างอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องเรียนรู้และ ให้ความสาคัญ ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีเคร่ืองจักรท่ีทันสมัย ในการทาให้ผิวเรียบแต่ก็ยังมี ความจาเป็นต้องใช้ ตะไบในการทางานเป็นประจา ตะไบเป็นเครอื่ งมอื ใช้สาหรบั ลดขนาดของช้นิ งาน ตกแต่งผวิ งานให้เรียบเพ่ืองาน ประกอบช้ินสว่ นเข้าดว้ ยกนั ซ่งึ การตดั เฉอื นของตะไบจะอาศัยคมตัดท่ีเรียกว่าฟันตะไบ ในการปฏิบัติงานแต่ละ ครงั้ ความปลอดภัยเปน็ สิง่ สาคญั ที่สุดสาหรับชา่ งทุกคน 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับงานตะไบ 2. ลับคมตดั ดอกสว่าน 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป - ดา้ นความรู้ 1. บอกวิธกี ารปูองกันอันตรายจากการใช้เคร่ืองมอื 2. อธบิ ายลักษณะตะไบและชนดิ ของตะไบ 3. บอกชนิดของคมตะไบ 4. อธิบายหลักการทางานของตะไบ 5. อธบิ ายทา่ ทางการยนื ตะไบ 6. บอกวธิ กี ารกาหนดความถ่ี หยาบของตะไบ 7. อธบิ ายขนั้ ตอนการใช้ตะไบและบารุงรักษาตะไบอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย - ดา้ นทกั ษะ 1. ใชเ้ ครอื่ งเจียระไนได้ถกู ต้องและปลอดภยั

2. ลับดอกสวา่ น 3. ตรวจสอบมุมดอกสว่าน 4. ทาความสะอาดบรเิ วณพนื้ ท่ีปฏิบัติงาน 6. ทาความสะอาดบริเวณพนื้ ที่ปฏบิ ัตงิ าน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ัย มีความรบั ผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มเี หตุผล ประหยัด และปฏบิ ัตติ นในแนวทางที่ดี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ตะไบและชนิดของตะไบ 4.1.1 ตะไบ (Files) ตะไบ คือ เครื่องมือสาหรับลดขนาดของวัสดุให้มีผิวเรียบได้ขนาดตามต้องการ โดยใช้ฟัน ตะไบตดั ช้นิ งาน ตะไบทามาจากเหล็กกล้าคาร์บอนสูง 4.1.2 ชนิดของตะไบ ตะไบแบน ตะไบท้องปลงิ ตะไบกลมหรือตะไบหางหนู ตะไบสเี่ หลี่ยม ตะไบสามเหลย่ี ม 4.2 ชนิดของคมตะไบ ลักษณะคมตดั เดีย่ ว ลกั ษณะคมตดั คู่และลักษณะคมตัดโค้ง 4.3 หลักของการตะไบ 4.3.1 วิธีจับตะไบ 4.3.2 วิธกี ารใช้ตะไบ 4.3.3 การใส่และถอดด้ามตะไบ 4.4 ท่าตะไบ 4.5 การกาหนดความถ่ี–หยาบของตะไบ 4.6 ข้อควรระวงั ในการตะไบและบารงุ รกั ษา 1. ควรใช้ตะไบท่ีมีด้าม เพราะตะไบท่ีไมม่ ีดา้ มทาใหเ้ กิดอันตรายแกผ่ ปู้ ฏิบตั ิงานได้ 2. ควรทาความสะอาดตะไบดว้ ยแปรงเหลก็ ตามแนวร่องฟันคมตะไบเสมอ 5. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 4 คาบที่ 19–24/108) ข้นั เตรยี ม 1. ครขู านชื่อผเู้ รยี น

2. ครูทบทวน ให้ข้อมูลย้อนกลบั เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครใู ห้นกั เรยี นทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี 4 4. ครูตั้งคาถามเพื่อนาเข้าสู่บทเรียนเร่ือง การตะไบ (โดยมุ่งเน้นส่ิงท่ีนักเรียนได้ปฏิบัติไปแล้ว ตามใบงานที่ 1) 5. นักเรยี นตอบคาถามท่ีครูถาม ขนั้ เรยี นรู้ 6. ครูอธบิ าย ถาม-ตอบเนอื้ หาเก่ียวกบั งานตะไบ 7. นกั เรียนจดบันทกึ สาระสาคัญทค่ี รูอธบิ าย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 9. ครูสาธติ การลับคมตัดดอกสวา่ นและใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 4 (หากผลการปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 1-2 ยงั ไมเ่ รียบรอ้ ย ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิอย่างต่อเนอื่ งตอ่ ไป) ขัน้ สรปุ 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดขึ้น และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครใู ห้นักเรยี นทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 6. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สืองานฝึกฝีมอื รหัส 2100-1003 หน่วยที่ 4 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละแบบประเมินพฤติกรรม หนว่ ยท่ี 4 3. ใบงานที่ 4/เคร่ืองมือ วัสดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ตั งิ าน 4. หอ้ งสมุดวิทยาลยั ศนู ย์วิทยบรกิ าร ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรยี นรู้ 1. ผลการปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 4 งานร่างแบบ 2. ผลจากการทาแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 4 3. ผลจากการทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 4 ประสาน คงจันทร์. (2556). งานฝึกฝมี ือ 1. นนทบุรี: ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย. 8. การวัดผลและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน กอ่ นเรยี น 1) ใชส้ มดุ บันทกึ เวลาเรยี นฯ ขานชื่อผู้เรียนและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใช้แบบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมินความพร้อม เชน่ มเี คร่ืองมอื หนงั สือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นต้น ขณะเรยี น 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝรุ ู้ ความรบั ผดิ ชอบ ต่อการปฏบิ ตั ิงาน หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรูผ้ า่ นเกณฑ์การประเมิน 50% 2) ภาคปฏิบตั ิ ประเมนิ การฝึกปฏิบตั ิตามใบงานที่ 4 สง่ งานตามข้อกาหนด

9. การขับเคลอ่ื นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารงุ รักษาอุปกรณ์ - วสั ดุ จุดประสงค์ทั่วไป จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี ประยุกต์ใชป้ รัชญา สังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม ของเศรษฐกิจ 1.บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ - วสั ดุ พอเพยี งดา้ นมี 2.มีความอดทนในการ    เหตุผลในการ ปฏบิ ัตงิ าน ดารงชีวติ 3.การเรยี นรู้โดยใชเ้ ง่อื นไข  สภุ าพและประหยัด   

10. บนั ทึกหลงั การสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ .................................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาท่พี บ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... .................................................................... 10.3 แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................... (นายชตุ ิเทพ มาดตี ีระเทวาพงษ์) ครูผู้สอน

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 5 หนว่ ยที่ 5 ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมอื รหสั 20100–1003 เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอื่ หน่วย งานร่างแบบ สอนสปั ดาหท์ ่ี 5/18 ชื่อเรื่อง งานรา่ งแบบ จานวน 6 คาบ หวั ข้อเรอ่ื ง 5.1 ความหมายของการรา่ งแบบ 5.2 ชนดิ ของเครอื่ งมือร่างแบบ 5.3 การระวงั รกั ษาและความปลอดภัยในการใช้เคร่อื งมือรา่ งแบบ - แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 5 - ใบงานที่ 5 งานเจาะ 1. สาระสาคัญ ในอุตสาหกรรมการผลิต จะมีการข้ึนรูปช้ินงานให้เป็นผลิตภัณฑ์และเครื่องมือต่าง ๆ ก่อนการข้ึนรูปให้ ได้รูปร่างและขนาดท่ีกาหนด สิ่งที่จะช่วยให้ทราบตาแหน่งท่ีแน่นอนได้จะต้องมีการร่างแบบก่อน ในงานเขียนแบบอาจใช้มาตราส่วนย่อหรือขยายก็ได้ สาหรับงานร่างแบบนั้นจะต้องร่างบนงานจริงและขนาด จรงิ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับงานร่างแบบ 2. ลับคมตดั ดอกสวา่ น 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ท่วั ไป - ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของการร่างแบบ 2. บอกชนิดของเคร่อื งมือรา่ งแบบ 3. อธิบายวิธกี ารใชเ้ ครอื่ งมือรา่ งแบบอย่างถูกตอ้ งและปลอดภัย 4. อธบิ ายขนั้ ตอนการใชเ้ ครื่องมอื รา่ งแบบ 5. บอกการระวังรักษาเคร่อื งมือรา่ งแบบ - ดา้ นทกั ษะ 1. เจาะรคู ้อนเดินสายไฟไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภัย 2. ตะไบคอ้ นเดนิ สายไฟใหม้ ขี นาดตามท่กี าหนด 3. ตรวจสอบขนาดรูค้อนเดนิ สายไฟตามแบบที่กาหนด 4. ทาความสะอาดบรเิ วณพน้ื ที่ปฏบิ ตั งิ าน 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม - ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตรงตอ่ เวลา มวี ินยั มีความรับผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซอื่ สตั ย์ มีเหตุผล ประหยัด และปฏิบัตติ นในแนวทางทด่ี ี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความหมายของการร่างแบบ การร่างแบบ หมายถึง การเขียนแบบงานที่มีรายละเอียดเก่ียวกับลักษณะ รูปร่าง และขนาดของ ช้ินงานจากแบบสั่งงานลงบนพ้ืนผิววัสดุงาน เพื่อนาวัสดุงานไปทาการตัดเฉือน ข้ึนรูปให้เป็นช้ินส่วนของ ผลิตภณั ฑ์ 4.2 ชนิดของเคร่ืองมือร่างแบบ 4.2.1 โต๊ะระดับ (Surface Plate) 4.2.2 แทน่ ประคองมุมฉาก (Angle Plate) 4.2.3 เวอร์เนียร์ไฮเกจ (Vernier Height Gauge) 4.2.4 ฉากผสม (Combination Square) 4.2.5 เหลก็ ขดี (Scribers) 4.2.6 เหล็กตอกร่างแบบ (Prick Punch) 4.2.7 เหลก็ ตอกนาศนู ย์ (Center Punch) 4.2.8 วงเวียนเหลก็ (Dividers) 4.2.9 บรรทดั เหลก็ (Steel Rule) 4.2.10 แท่งวี–บลอ็ ก (V–Block) 4.3 การระวงั รกั ษาและความปลอดภยั ในการใช้เครื่องมือร่างแบบ 1. ศึกษาวิธกี ารใช้งานของเคร่ืองมอื อุปกรณ์ก่อนนาไปใชง้ าน 2. วางเครอื่ งมือร่างแบบแยกออกจากเคร่ืองมืออ่ืน ๆ 3. ไม่วางเครื่องมือหรืออุปกรณ์ร่างแบบอื่น ๆ บนโต๊ะระดับ ยกเว้นเครื่องมือท่ีเกี่ยวข้อง เช่น เวอรเ์ นียร์ไฮเกจ แทง่ ประคองฉาก แทง่ วี–บลอ็ ก เพราะจะทาให้ผวิ โต๊ะระดับเป็นรอยขีดขว่ น 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 5 คาบท่ี 25–30/108) ขน้ั เตรยี ม 1. ครขู านช่อื ผเู้ รียน 2. ครูทบทวนความร้เู ดมิ และให้ข้อมูลย้อนกลบั เก่ียวกับงานตะไบ ขน้ั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน 3. ครใู หน้ กั เรยี นทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 5 4. ครูตั้งคาถามเพ่ือนาเข้าสู่บทเรียนเรื่อง การร่างแบบ (โดยมุ่งเน้นสิ่งที่นักเรียนได้ปฏิบัติไป แลว้ ตามใบงานทผ่ี า่ นมา) 5. นักเรียนตอบคาถามทค่ี รถู าม ข้นั เรยี นรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเนื้อหาเก่ียวกับงานร่างแบบ 7. นกั เรยี นจดบันทึกสาระสาคญั ที่ครอู ธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5

9. ครสู าธติ การเจาะช้ินงานและใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 5 (หากผลการปฏิบัติตามใบงานท่ีผ่านมายังไม่เรียบร้อย ให้นักเรียนปฏิบัติงานนั้นอย่าง ตอ่ เนือ่ งต่อไป) ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไขปญั หาทั้งทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูให้นักเรยี นทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 5 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื งานฝกึ ฝีมอื รหัส 2100-1003 หน่วยที่ 5 2. แบบประเมินผลการเรยี นร้แู ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หนว่ ยที่ 5 3. ใบงานท่ี 4/เครื่องมอื วัสดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ตั งิ าน 4. ห้องสมดุ วทิ ยาลัย ศูนย์วิทยบริการ ห้อง Internet 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 1. ผลการปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 5 งานเจาะ (เจาะรูค้อนเดินสายไฟ) 2. ผลจากการทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5 ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝึกฝีมือ 1. นนทบุรี: ศูนย์หนังสอื เมืองไทย. 8. การวัดผลและประเมนิ ผล 8.1 เครอื่ งมือประเมนิ ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทึกเวลาเรียนฯ ขานช่ือผูเ้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใชแ้ บบสังเกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เชน่ มเี ครื่องมอื หนังสือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้ ขณะเรยี น 1) ใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรับผดิ ชอบ ตอ่ การปฏิบตั ิงาน 8.2 เกณฑก์ ารประเมิน หลังเรยี น 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน 50% 2) ภาคปฏิบัติ ประเมินการฝึกปฏิบัติตามใบงานท่ี 5 สง่ งานตามข้อกาหนด 9. การขบั เคล่ือนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยบารงุ รักษาอุปกรณ์ - วสั ดุ จดุ ประสงคท์ ั่วไป จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี สงั คม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม ประยุกต์ใชป้ รัชญา 1.บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ - วสั ดุ     ของเศรษฐกิจ 2.มีความอดทนในการ  พอเพียงด้านมี ปฏบิ ตั ิงาน เหตุผลในการ 3.การเรียนร้โู ดยใช้เง่ือนไข    ดารงชีวติ สภุ าพและประหยัด

10. บันทกึ หลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................. ........................................................................................... ...... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................. ....................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. 10.3 แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... ........................ ลงชื่อ............................................... (นายชตุ ิเทพ มาดีตีระเทวาพงษ)์ ครูผู้สอน

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 หน่วยที่ 6 ชอื่ วิชา งานฝึกฝีมอื รหัส 20100–1003 เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชือ่ หน่วย งานลับคมตัด สอนสัปดาหท์ ี่ 6/18 ช่ือเรื่อง งานลับคมตัด จานวน 6 คาบ หวั ข้อเรือ่ ง 6.1 เครอ่ื งเจยี ระไน 6.2 ชนดิ ของเครอื่ งเจียระไน 6.3 การลับมดี กลึง 6.4 การลบั มดี กลงึ ปาดหนา้ 6.5 การลบั มดี กลึงปอกผิว 6.6 การลับดอกสว่าน - แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 6 - ใบงานที่ 6 งานขึ้นรปู 1. สาระสาคัญ การขึ้นรูปชิ้นงานให้เป็นผลิตภัณฑ์ด้วยมือหรือการขึ้นรูปด้วยเคร่ืองมือกล ซึ่งจาเป็นต้องใช้เครื่องมือตัด เชน่ สกัด ดอกสวา่ นมีดกลงึ เปน็ ตน้ เครื่องมอื ตดั เหล่านเ้ี มอ่ื ใช้งานไปได้ระยะหนึ่ง คมจะทื่อ จึงต้องมีการลับคม ตดั ให้คมตัดมีมุมต่าง ๆ ทีถ่ กู ตอ้ ง เพราะหากลับมุมผิดพลาด จะทาให้ผิวงานไม่สวยและเกิดความร้อนมาก งาน เสร็จชา้ เพิม่ ต้นทนุ การผลติ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับงานลับคมตัด 2. ข้นึ รปู ชิ้นงานตามแบบ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายการทางานของเคร่ืองเจียระไน 2. จาแนกชนิดของเครอ่ื งเจียระไน 3. อธบิ ายวธิ ีการลบั มีดกลึง 4. บอกขัน้ ตอนการลบั มดี กลึงปาดหนา้ 5. บอกขน้ั ตอนการลับมดี กลึงปอกผวิ 6. บอกข้ันตอนการลบั ดอกสว่าน - ดา้ นทกั ษะ 1. เลื่อยชน้ิ งานคอ้ นเดนิ สายไฟ 2. ตะไบปรบั ผิวหางค้อนเดนิ สายไฟ

3. ตะไบลบมุมและลบคมหัวค้อนเดินสายไฟ 4. ตรวจสอบผวิ งาน 5. ทาความสะอาดบรเิ วณพ้ืนที่ปฏบิ ตั งิ าน 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม - ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มีวินัย มีความรบั ผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซ่ือสตั ย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ัตติ นในแนวทางทีด่ ี 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เครอ่ื งเจียระไน เครอื่ งเจียระไน เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีใชล้ บั คมตดั ของมีดกลึง มีดไส ดอกสว่าน และผวิ งานใหเ้ รียบ 4.2 ชนิดของเคร่อื งเจียระไน 6.2.1 เครือ่ งเจยี ระไนแบบต้ังโตะ๊ (Pedestal Grinder) 6.2.2 เครือ่ งเจียระไนแบบตั้งพน้ื (Bench Grinder) 6.2.3 ขนั้ ตอนการใชเ้ คร่อื งเจยี ระไน 4.3 การลับมดี กลงึ การลับมีดกลึงด้วยล้อหินเจียระไนน้ัน จะต้องจับมีดกลึงให้แน่นและในขณะลับมีดกลึงจะเกิด ความร้อนให้จุ่มน้าหลอ่ เย็นบอ่ ย ๆ การกดมดี กลงึ กับหน้าล้อหินเจียระไนมากเกินไปจะทาให้ผิวมีดกลึงไหม้เป็น สีดา ซ่ึงจะทาให้คมมีดกลึงอ่อน ในการลับมีดกลึงควรยืนให้ห่างจากเคร่ืองเจียระไนพอเหมาะไม่ห่างหรือชิด จนเกินไป 4.4 การลบั มีดกลงึ ปาดหนา้ ในการลบั มีดกลึงปาดหนา้ เพ่ือใช้กลึงปาดหน้าผิวงาน กลึงบ่าฉาก กลึงลบมุม มีดกลึงปาดหน้าจะ มีความแตกตา่ งไปจากมีดกลึงแบบอ่นื ๆ ตรงค่าของมุมคมตดั จะต้องลบั มุมคมตดั ให้ถูกตอ้ งตามแบบท่กี าหนด 4.5 การลบั มดี กลงึ ปอกผิว ในการลับมดี กลึงปอกผวิ เพอ่ื ใช้ในการกลึงปอกผิวชน้ิ งานใหม้ ขี นาดเลก็ ลง มีดกลึงปอกผิวต่างจาก มดี กลึงชนิดอื่น ๆ ทม่ี ุมคมตดั จงึ จาเป็นตอ้ งลับมุมตัดและมมุ อนื่ ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งตามแบบทกี่ าหนด 4.6 การลับดอกสวา่ น

การลบั คมตดั ดอกสวา่ นโดยท่ัวไปจะต้องเอียงคมตัดของดอกสว่านให้ทามุม 59 องศา กับหน้าล้อ หิน ทาการลับคมตัดทั้ง 2 ข้าง โดยลับทีละข้างจนกว่าจะได้มุมรวม 118 องศา และตรวจสอบด้วยเกจวัดมุม ดอกสว่านให้ได้มุม 59 องศา ทลี ะข้าง กา้ น ลาตวั ปลายจิก หนา้ คมตดั ผวิ ฟรี คมขวาง สนั คมตดั รอ่ งคายเศษ สนั คมตดั ลักษณะสว่ นสาคญั ของดอกสวา่ น 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 6 คาบที่ 31–36/108) ขั้นเตรียม 1. ครขู านช่ือผู้เรยี น 2. ครูทบทวนความรเู้ ดมิ และใหข้ ้อมูลย้อนกลบั เก่ยี วกบั งานเจาะ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 3. ครูใหน้ ักเรยี นทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยท่ี 6 4. ครูตง้ั คาถามเพ่ือนาเข้าสบู่ ทเรียนเร่ือง การลับดอกสวา่ น 5. นักเรียนตอบคาถามทีค่ รูถาม ข้นั เรยี นรู้ 6. ครอู ธบิ าย ถาม-ตอบเน้ือหาเก่ียวกบั งานลับคมตัด 7. นักเรียนจดบันทกึ สาระสาคัญที่ครอู ธบิ าย 8. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 9. ครสู าธติ การลบั ดอกสว่านและใหน้ กั เรียนปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 6 (หากผลการปฏิบัติตามใบงานท่ีผ่านมายังไม่เรียบร้อย ให้นักเรียนปฏิบัติงานนั้นอย่าง ตอ่ เนอ่ื งต่อไป) ขน้ั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปัญหาท้ังทฤษฎีและปฏิบัติ 11. ครใู หน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook