Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพื้นฐานงานไม้

แผนพื้นฐานงานไม้

Description: แผนพื้นฐานงานไม้

Search

Read the Text Version

1 แผนการจัดการเรยี นรู้ มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ชือ่ วชิ า พนื้ ฐานงานไม้ รหัสวิชา 20106-1001 ท–ป–น 0–6–2 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกอ่ สร้าง สาขางานก่อสรา้ ง จดั ทาโดย นายชุตเิ ทพ มาดตี รี ะเทวาพงษ์ วิทยาลัยการอาชีพขุนหาญ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใช้ ช่อื วชิ าพืน้ ฐานงานไม้ รหสั วิชา 20106-1002 ผสู้ อน นายชุติเทพ มาดตี รี ะเทวาพงษ์  ควรอนุญาตให้ใช้การสอนได้  ควรปรบั ปรุงเกีย่ วกับ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ..................................................... (.......................................................) หวั หนา้ แผนกวิชา ............../......................../....................  เหน็ ควรอนุญาตใหใ้ ช้การสอนได้  ควรปรบั ปรุงดังเสนอ  อ่นื ๆ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ลงชอ่ื ..................................................... (.......................................................) รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ ............../......................../....................  อนญุ าตให้ใช้การสอนได้  อื่น ๆ ........................................................................................................................................... ................. ลงช่ือ..................................................... (.......................................................) ผูอ้ านวยการ ............../......................../....................

3 คานา แผนการจดั การเรยี นรู้ มงุ่ เนน้ ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชาพ้ืนฐาน งานไม้ รหัสวิชา 20106–1002 เล่มน้ี ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน หรือเป็นแนวทางการสอน ในรายวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร การจดั ทาไดม้ กี ารพฒั นาเพื่อใหเ้ หมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 8 หน่วย การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรมจริยธรรม ไวใ้ นหน่วยการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา มีแบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน พร้อมเฉลย มใี บงาน และสอ่ื การเรยี นการสอนตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลแกผ่ ูเ้ รยี นมากยิ่งขึ้น ผู้จัดทาหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อครู -อาจารย์และ นักเรยี น หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผ้จู ดั ทายินดีนอ้ มรับไว้เพื่อปรบั ปรงุ แกไ้ ขในครัง้ ต่อไป ลงชอื่ (นายชุตเิ ทพ มาดตี รี ะเทวาพงษ์)

4 สารบญั หนา้ คานา .............................................................................................................................................. . ค สารบัญ ............................................................................................................................................ ง หลักสูตรรายวิชา ............................................................................................................................. จ หน่วยการเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกับสมรรถนะรายวชิ า .......................................................................... ฉ โครงการจดั การเรยี นรู้ ..................................................................................................................... ช สมรรถนะย่อยและวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ................................................................................. ซ การวัดผลและประเมนิ ผล ................................................................................................................ ณ ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า ..................................................................................................... ด แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เคร่อื งมือวดั .......................................................................................... 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 โต๊ะฝกึ งานไม.้ ....................................................................................... 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เครอื่ งมือตัดไม.้ .................................................................................... 8 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เครอื่ งมือไสไม.้ ..................................................................................... 11 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เครื่องมือเจาะไม.้ ................................................................................. 15 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เครื่องมือตอกและขันเกลียว................................................................. 19 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 เครือ่ งมือประกอบไม.้ ........................................................................... 23 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 การเข้าไม้............................................................................................. 27

5 หลักสตู รรายวิชา ช่ือวิชา พนื้ ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. เพือ่ ให้ 1. มีความเข้าใจหลกั การทางาน การลบั ปรับ แตง่ บารงุ รักษา ซ่อมแซมเครื่องมืองานไม้ การไส การตัด การเจาะ การเพลาะ และการประกอบชนิ้ งานไมไ้ ด้ถูกต้องปลอดภยั 2. สามารถลับ ปรบั แตง่ บารุงรกั ษา ซอ่ มแซมเคร่ืองมืองานไม้ ไส ตัด เจาะ เพลาะ ประกอบชิ้นงานไม้ ไดถ้ ูกต้องปลอดภยั 3. มกี ิจนสิ ยั ในการทางาน มวี ินัย มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ รักษาสิ่งแวดลอ้ ม 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการลับ ปรับแต่งและติดต้ังอุปกรณ์ประกอบเครื่องไส ตัด เจาะ เพลาะ ในงาน ไม้และประกอบชิน้ ไม้ 2. ลับ ปรับแต่งอปุ กรณเ์ ครื่องมืองานไม้ 3. วัดและร่างแบบ ไส ตดั เจาะ เพลาะ ชิน้ งานด้วยเครอ่ื งมอื งานไม้ 4. ประกอบชนิ้ งานตามรปู แบบตา่ งๆ ปฏิบัติเกี่ยวกับ การลับ ปรับ แต่ง บารุงรักษา ซ่อมแซมเคร่ืองมืองานไม้ งานวัดและร่างแบบลงบน ชิน้ งาน ไส เจาะ เพลาะ ตัด ประกอบและตกแต่งชิ้นงาน

6 ความสอดคลอ้ งของหนว่ ยกับสมรรถนะรายวิชา ชื่อวิชา พนื้ ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวช. ความสอดคล้องกับสมรรถนะ รายวชิ า หนว่ ย ช่อื หน่วย คาบ แสดงความ ู้รเก่ียวกับการ ัลบ ปรับแ ่ตง และ ิตด ้ัตง ุอปกร ์ณการประกอบ เค ่รืองไส ตัด เจาะ เพลาะ และในงานไ ้มและประกอบ ิ้ชนไ ้ม ลับ ปรับแต่งอุปกร ์ณเคร่ือง ืมองานไ ้ม วัดและร่างแบบ ไส ัตด เจาะ เพลาะ ้ิชนงานด้วยเครื่อง ืมองานไ ้ม ประกอบ ิ้ชนงานตาม ูรปแบบต่างๆ 1 เคร่ืองมอื วัด 6 //// 2 โตะ๊ ฝกึ งานไม้ 6 -/// 3 เครอ่ื งมือตัดไม้ 12 / / / / 4 เครือ่ งมอื ไสไม้ 18 / / / / 5 เครือ่ งมือเจาะไม้ 18 / / / / 6 เครื่องมือตอกและขนั เกลยี ว 12 / / / / 7 เครื่องมือประกอบไม้ 12 / - / / 8 การเข้าไม้ 18 / - / /

7 โครงการจดั การเรยี นรู้ ช่ือวิชา พน้ื ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. คร้ังที่ รายการสอน คาบ (ช่ัวโมง) 1 หนว่ ยท่ี 1 เคร่อื งมือวัด 6 2 หน่วยที่ 2 โต๊ะฝึกงานไม้ 6 3-4 หนว่ ยท่ี 3 เครอ่ื งมือตดั ไม้ 12 5-7 หนว่ ยท่ี 4 เครอ่ื งมือไสไม้ 18 8-10 หน่วยที่ 5 เครื่องมือเจาะไม้ 18 12 11-12 หนว่ ยท่ี 6 เครื่องมือตอกและขนั เกลยี ว 12 13-14 หนว่ ยท่ี 7 เคร่อื งมือประกอบไม้ 18 15-17 หนว่ ยที่ 8 การเขา้ ไม้ 6 18 วัดผลสัมฤทธป์ิ ลายภาคเรยี น 108 รวม สมรรถนะยอ่ ยและวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม ช่อื วิชา พ้ืนฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. ช่อื เรื่อง สมรรถนะย่อยและวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หน่วยท่ี 1 เครื่องมอื วดั สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1.1 ความหมายของเครือ่ งมอื วัด 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การใชเ้ ครื่องมอื วัดชนดิ ต่าง ๆ

8 1.2 ดินสอ 2. วดั และรา่ งแบบบนชิ้นงานไมต้ ามแบบกาหนด 1.3 ไมบ้ รรทดั 1.4 ฉาก วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1.5 ตลับเมตร 1. บอกความหมายของเครอื่ งมอื วัดได้ 1.6 ขอขดี 2. อธิบายลักษณะ รูปร่าง ขนาด และส่วนประกอบของ เครื่องมือวัดชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 3. ปฏบิ ัตกิ ารใช้เครื่องมอื วดั แต่ละชนิดในงานไมไ้ ด้ 4. บารุงรกั ษา ซอ่ มแซม เคร่อื งมอื วดั ชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 5. มีกิจนิสัยในการทางาน มีวินัย มีความคิดสร้างสรรค์ รักษาสิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต ความมนี ้าใจและแบง่ บนั ความร่วมมอื /ยอมรับความคดิ เห็นสว่ นใหญ่ สมรรถนะยอ่ ยและวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม ชอื่ วิชา พนื้ ฐานงานไม้ รหสั 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. ชอ่ื เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยที่ 2 โตะ๊ ฝึกงานไม้ 2.1 ความหมายของโต๊ะฝึกงานไม้ 1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั โต๊ะฝึกงานไม้ 2.2 สว่ นประกอบของโต๊ะฝึกงานไม้ 2. ปฏบิ ตั กิ ารใชพ้ ้นื โตะ๊ ฝกึ งานไม้ 2.3 การใช้โต๊ะฝึกงานไม้ 3. ใชป้ ากกาหนา้ ปากกาหลงั โต๊ะฝกึ งานไม้ 2.4 การบารุงรักษาโต๊ะฝึกงานไม้ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายของโต๊ะฝึกงานไม้ได้

9 2. บอกขนาด ส่วนประกอบของโตะ๊ ฝกึ งานไม้ได้ 3. ใชโ้ ต๊ะฝกึ งานไม้และใช้ตัวชว่ ยในการปฏบิ ตั ิงานไม้ได้ 4. อธิบายวิธีการบารุงรักษาโต๊ะฝึกงานไม้ให้อยู่ในสภาพ การใช้งานทด่ี ีได้ ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไมห่ ยดนงิ่ ที่จะแก้ปัญหา ความซ่ือสตั ย์ ความรว่ มมอื สมรรถนะย่อยและวตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม ชอ่ื วิชา พื้นฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวช. ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยท่ี 3 เครอ่ื งมือตดั ไม้ 3.1 ความหมายของเครอ่ื งมือตดั ไม้ ฉลุไม้ ตัดไม้ โกรกไมต้ ามแบบได้ 3.2 เลอ่ื ย 3.3 ม้ารองตดั ไม้ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายและชนดิ ของเครือ่ งมือตดั ไม้ได้ 2. บอกลักษณะ รูปร่าง ส่วนประกอบของเครื่องมือตัด ไมไ้ ด้ 3. ปฏบิ ัติการใชเ้ คร่ืองมอื ตดั ไม้แตล่ ะชนดิ ได้ 4. อธิบายวิธกี ารบารงุ รกั ษาเครื่องมือตัดไม้แต่ละชนิด ให้ มีสภาพการใช้งานอย่างมีประสทิ ธิภาพได้

10 ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความมีวนิ ัย ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ความรบั ผิดชอบ และความเช่ือม่นั ในตนเอง สมรรถนะยอ่ ยและวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม ชอ่ื วิชา พน้ื ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช. ช่ือเร่อื ง สมรรถนะย่อยและวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 4 เคร่อื งมอื ไสไม้ 4.1 ความหมายของเคร่ืองมือไสไม้ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการลบั ปรับ แต่ง เคร่ืองมอื 4.2 ประเภทเครื่องมือท่ีใชใ้ นการไสไม้ งานไส 4.3 กบล้าง 4.4 กบผิว 2. ลับ ปรับ แต่งอุปกรณ์เครื่องมืองานไม้ 4.5 กบบังใบ 4.6 กบกระด่ี วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 4.7 กบราง 1. อธบิ ายวิธีการใชเ้ ครอ่ื งมือไสไม้ได้ 4.8 หลักและวิธีการไสไม้ 2. ปฏิบตั กิ ารใช้เครือ่ งมือไสไมแ้ ต่ละชนดิ ในงานไม้ได้ 4.9 การบารงุ รกั ษาเคร่ืองมือไสไม้ 3. บารงุ รักษาซ่อมแซมเคร่ืองมือไสไม้ได้

11 ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ความมีวินัย ความมมี นุษยสมั พันธ์ ความรบั ผดิ ชอบและความเช่ือมัน่ ในตนเอง สมรรถนะยอ่ ยและวตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม ชื่อวิชา พ้ืนฐานงานไม้ รหสั 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช. ชอื่ เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 5 เคร่อื งมือเจาะไม้ 5.1 ความหมายของเครื่องมอื เจาะไม้ 1. แสดงความร้กู ารใช้สว่านมอื และสว่านขอ้ เสือ 5.2 ส่วิ 2. เจาะไม้ดว้ ยเคร่อื งมอื เจาะไมต้ ามขนั้ ตอน 5.3 สว่าน วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายของเคร่ืองมือเจาะไม้ได้ 2. อธิบายวิธกี ารใชเ้ ครือ่ งมอื เจาะไมไ้ ด้ 3. อธิบายวิธกี ารบารงุ รกั ษาเครื่องมอื เจาะไม้ได้ 4. อธิบายเทคนิคการใชเ้ คร่ืองมอื เจาะไม้ได้ ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ความมีวนิ ยั ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความรบั ผิดชอบและ ความเช่อื ม่ันในตนเอง

12 สมรรถนะยอ่ ยและวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ช่ือวิชา พน้ื ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช. ชือ่ เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและวัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 6 เครื่องมอื ตอกและขันเกลียว 6.1 เคร่ืองมอื ตอก สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 6.2 เครื่องมอื ขนั เกลียว ตอกตะปู ถอนตะปูด้วยค้อนหงอน ปรับแต่งเคร่ืองมือ ดว้ ยคอ้ นไม้ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. อธิบายลักษณะ ขนาด ส่วนประกอบของเคร่ืองมือ ตอกไมไ้ ด้ 2. ปฏิบตั ิการใช้เคร่ืองมือตอกไม้ได้ 3. อธบิ ายวธิ กี ารบารุงรกั ษาเครอื่ งมือตอกไมไ้ ด้ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความมีวนิ ยั ความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความรบั ผดิ ชอบ และความเชื่อมน่ั ในตนเอง

13 สมรรถนะยอ่ ยและวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม ช่ือวิชา พ้นื ฐานงานไม้ รหสั 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช. ช่อื เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หนว่ ยท่ี 7 เคร่อื งมอื ประกอบไม้ 7.1 แมแ่ รง 1. อดั ไม้ ประกอบไม้ด้วยแมแ่ รงยาว 7.2 เหลก็ สง่ 2. ตดั หัวตะปู ส่งหัวตะปูดว้ ยคีมและเหลก็ ส่ง 7.3 คมี ตดั 7.4 ตะไบ วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธิบายลักษณะ ขนาด ส่วนประกอบของเคร่ืองมือ ประกอบไม้ได้ 2. ปฏิบตั กิ ารใช้เครอื่ งมือประกอบไม้ได้ 3. อธิบายวิธกี ารบารุงรักษาเครือ่ งมอื ประกอบไม้ได้ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความมวี นิ ยั ความรกั สามัคคคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ และความพึงพอใจในผลงานท่ีทา

14 สมรรถนะยอ่ ยและวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม ชื่อวิชา พนื้ ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 8 การเขา้ ไม้ 8.1 ความหมายของการเข้าไม้ การประกอบและการตกแต่งชิน้ งานไม้ 8.2 การเข้าเดือยเดยี่ ว 8.3 การเข้าบ่าเดอื ยเด่ียว วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 8.4 การเข้าปากไมแ้ บบเดือยคู่ ปากชน 1. บอกความหมายและรูปร่างของการเข้าเดือยไม้แบบ 8.5 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยเดย่ี วปากกรวิ 8.6 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยหางเหยี่ยว ตา่ ง ๆ ได้ 8.7 การเพลาะไม้ 2. อธบิ ายขนาดช้ินงานตา่ ง ๆ ได้ 8.8 การประกอบตกแตง่ ช้ินงานไม้ 3. ปฏบิ ัติงานการเข้าไม้แบบตา่ ง ๆ ได้ 4. ประยุกต์ใช้ สร้าง ประกอบผลิตภัณฑ์เพ่ือใช้ ประโยชน์ได้ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความมวี ินัย ความสนใจใฝ่รู้ ความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ และความพงึ พอใจในผลงานที่ทา

15 การวัดผลและประเมนิ ผล ชอื่ วิชา พืน้ ฐานงานไม้ รหสั 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชั้น ปวช. 1. คะแนนการวดั ผล - พุทธิพสิ ยั 1) แบบฝึกหดั 10 % 2) ทดสอบหลงั เรยี น 10 % 3) วดั ผลสัมฤทธ์ิ (ปลายภาค) 20 % - ทกั ษะพสิ ยั 40 % - จติ พสิ ยั 20 % รวมทัง้ หมด 100 % (คะแนนทดสอบก่อนเรียนไวส้ าหรับเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบหลังเรยี น) คะแนนระหวา่ งภาค/ปลายภาค 60:40 ระหว่างภาค 1) ฝึกปฏิบตั ิ 40 % 2) ทดสอบหลงั เรียน 10 % 3) จติ พิสยั 10 % รวม 60 % ปลายภาค 1) วดั ผลสัมฤทธ์ิ (ปลายภาค) 20 % 2) คุณธรรมจริยธรรม 20 % 2. คะแนนการประเมนิ ผล (องิ เกณฑ์) 80 – 100 คะแนน ได้ผลการเรียน 4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ เี ยย่ี ม 75 – 79 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 3.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก 70 – 74 คะแนน ได้ผลการเรียน 3.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี 65 – 69 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ีพอใช้ 60 – 64 คะแนน ได้ผลการเรยี น 2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ 55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อน 50 – 54 คะแนน ได้ผลการเรียน 1.0 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก  50 คะแนน ได้ผลการเรยี น 0 หมายถงึ ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ขัน้ ต่า

16 ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รรายวิชา ชอ่ื วิชา พ้นื ฐานงานไม้ รหัส 20106–1002 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช. พทุ ธพิ ิสัย (40%) พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเข้าใจ ชอ่ื หน่วย ประยุกต์-นาไปใ ้ช ิวเคราะห์ 1. เคร่อื งมอื วดั สูงก ่วา 2. โต๊ะฝกึ งานไม้ ัทกษะพิ ัสย (40%) 3. เครือ่ งมือตัดไม้ จิตพิสัย (20%) 4. เคร่ืองมือไสไม้ รวม 5. เครื่องมือเจาะไม้ ลา ัดบความสา ัคญ 6. เครอ่ื งมือตอกและขนั เกลยี ว จานวนคาบ 7. เครือ่ งมอื ประกอบไม้ 8. การเขา้ ไม้ 121 4 2 10 2 6 ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียน 111 122 3 2 10 2 6 รวม 222 ลาดบั ความสาคญั 122 4 2 12 2 12 122 122 5 3 13 3 18 233 5 3 13 3 18 10 15 15 233 5 2 10 3 12 40 5 2 10 3 12 5 2 15 3 18 42 26 40 20 108 52 40 20

17 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 หนว่ ยท่ี 1 ชื่อวิชา พื้นฐานงานไม้ รหัสวิชา 2106-1001 เวลาเรียนรวม 102 คาบ ชื่อหน่วย เครือ่ งมือวดั สอนครัง้ ที่ 1/17 ช่อื เร่อื ง เครอ่ื งมือวดั จานวน 6 คาบ หวั ข้อเรอ่ื ง 1.2 ดนิ สอ 1.4 ฉาก 1.1 ความหมายของเคร่อื งมอื วัด 1.6 ขอขีด 1.3 ไมบ้ รรทดั 1.5 ตลับเมตร สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการใชเ้ ครอ่ื งมือวดั ชนดิ ตา่ ง ๆ 2. วดั และร่างแบบบนช้ินงานไม้ตามแบบกาหนด วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายของเครื่องมือวดั ได้ 2. อธบิ ายลกั ษณะ รูปรา่ ง ขนาด และสว่ นประกอบของเคร่ืองมือวัดชนิดตา่ ง ๆ ได้ 3. ปฏิบัติการใชเ้ ครื่องมอื วัดแตล่ ะชนิดในงานไม้ได้ 4. บารงุ รักษา ซอ่ มแซม เครือ่ งมือวัดชนดิ ต่าง ๆ ได้ 5. มกี ิจนสิ ยั ในการทางาน มีวินัย มีความคดิ สรา้ งสรรค์ รักษาสง่ิ แวดล้อม ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดนิ่งท่ีจะแกป้ ัญหา ความซ่ือสัตย์ ความรว่ มมือ เน้อื หาสาระ 1.1 ความหมายของเครื่องมือวดั 1.1.1 เครอ่ื งมอื ชา่ งไมท้ ว่ั ไป 1.1.2 เคร่อื งมือกล 1.2 ดินสอ 1.3 ไมบ้ รรทดั 1.4 ฉาก 1.4.1 ฉากตาย (Try Square) 1.4.2 ฉากเปน็ (Sliding Bevel Square) 1.5 ตลบั เมตร 1.5.1 ระบบเมตรกิ 1.5.2 ระบบองั กฤษ 1.5.3 การใช้งานตลับเมตร 1.5.4 การดูแลรกั ษาตลบั เมตร 1.6 ขอขดี

18 1.6.1 ส่วนประกอบของขอขีด 1.6.2 การใชข้ อขีด 1.6.3 การดูแลรักษาขอขีด 1.7 สรปุ สาระสาคญั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 1/17, คาบที่ 1–2/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 1 3. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรียน และแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน 4. ครูสอนเนือ้ หาสาระหวั ข้อ 1.1 ความหมายของเครอ่ื งมอื วดั 5. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดเป็นกลุม่ ขณะนักเรยี นทาแบบฝกึ หัดครจู ะสังเกตการทางานกลุม่ 6. ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรยี น กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 1/17, คาบท่ี 3–6/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. ครนู าเข้าสู่บทเรียน และครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรยี น 3. ครสู อนเนือ้ หาสาระหวั ขอ้ 1.2 - 1.6 4. นักเรียนทาแบบฝึกหดั เปน็ กลมุ่ ขณะนกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม 5. นกั เรยี นฝึกปฏิบตั ิการใช้เครื่องมือตามเน้ือหาสาระ 1.2-1.6 6. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หดั และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรียน 7. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 1 ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 1, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น และหลังเรียน 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนงั สือ วารสารเกยี่ วกบั เครื่องมือวดั , อินเทอร์เนต็ www.google.com การวัดผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใช้เครื่องมือ) เกณฑ์ผ่าน 60% 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยท่ี 1 เกณฑ์ผา่ น 50% 2. แบบสังเกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลุ่ม ตามเกณฑก์ ารวดั ผลและการประเมนิ ผล 3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 1 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. ใบประเมินผลการปฏิบัตงิ าน เกณฑผ์ ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หน่วยที่ 1 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทาแบบฝึกหดั ใหเ้ รียบร้อย ถูกต้อง สมบรู ณ์

19 ฝกึ ปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 1.1 ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 2. ช้นิ งานสาเรจ็ จากการปฏบิ ัตติ ามใบงาน 1.1 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 1

20 บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ..................................................................................................... ....................................................... .................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผ้สู อน

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 21 ชอื่ วิชา พน้ื ฐานงานไม้ รหสั วิชา 2106-1001 หนว่ ยที่ 2 ชอ่ื หน่วย โตะ๊ ฝึกงานไม้ เวลาเรียนรวม 102 คาบ สอนครงั้ ท่ี 2/17 ชอื่ เร่ือง โต๊ะฝกึ งานไม้ จานวน 6 คาบ หวั ขอ้ เรื่อง 2.1 ความหมายของโต๊ะฝกึ งานไม้ 2.2 สว่ นประกอบของโตะ๊ ฝึกงานไม้ 2.3 การใชโ้ ตะ๊ ฝกึ งานไม้ 2.4 การบารุงรักษาโต๊ะฝึกงานไม้ สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโตะ๊ ฝกึ งานไม้ 2. ปฏิบัติการใชพ้ น้ื โตะ๊ ฝกึ งานไม้ 3. ใชป้ ากกาหนา้ ปากกาหลงั โตะ๊ ฝกึ งานไม้ วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายของโต๊ะฝกึ งานไม้ได้ 2. บอกขนาด ส่วนประกอบของโต๊ะฝกึ งานไมไ้ ด้ 3. ใช้โตะ๊ ฝึกงานไมแ้ ละใชต้ ัวชว่ ยในการปฏิบตั ิงานไม้ได้ 4. อธบิ ายวธิ กี ารบารุงรักษาโตะ๊ ฝกึ งานไมใ้ ห้อยูใ่ นสภาพการใชง้ านที่ดีได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่งิ ที่จะแก้ปัญหา ความซื่อสตั ย์ ความร่วมมือ เน้อื หาสาระ 2.1 ความหมายของโต๊ะฝกึ งานไม้ 2.2 สว่ นประกอบของโต๊ะฝกึ งานไม้ 2.3 การใช้โตะ๊ ฝึกงานไม้ 2.3.1 การใช้รางวางเครื่องมอื อุปกรณ์ 2.3.2 การใช้เหล็กสลัก 2.3.3 การใช้ปากกาหน้า 2.4 การบารงุ รกั ษาโต๊ะฝึกงานไม้ 2.5 สรุปสาระสาคัญ กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 2/17, คาบท่ี 7–8/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 2 3. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี น และครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี น 4. ครูสอนเนอ้ื หาสาระหวั ขอ้ 2.1-2.2 ความหมายของโต๊ะฝึกงานไม,้ สว่ นประกอบโตะ๊ ฝกึ งานไม้

22 5. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเปน็ กล่มุ ขณะนกั เรียนทาแบบฝึกหัดครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม 6. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 2/17, คาบที่ 9–12/102) 1. ครูทบทวนเนื้อหาการสอน 2. ครูนาเข้าสู่บทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี น 3. ครสู อนเน้ือหาสาระหัวขอ้ 2.3 – 2.4 4. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดเป็นกลุ่ม ขณะนกั เรียนทาแบบฝกึ หัดครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม 5. นักเรยี นฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใชโ้ ตะ๊ ฝึกงานไม้และปฏิบัตติ ามใบงาน 2.1-2.2 เป็นรายบคุ คล 6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หัด และรว่ มอภปิ รายสรุปบทเรียน 7. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยที่ 2 ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 2, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อน เรยี น และหลงั เรียน 2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สือ วารสารเกย่ี วกับพ้ืนฐานงานไม้, อินเทอร์เน็ต www.google.com การวัดผลและประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 2 (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสังเกตการณท์ างานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 60% 3. แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 2 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ตามเกณฑ์วัดผลและประเมนิ ผล 5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 2 เกณฑ์ผา่ น 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60% งานทมี่ อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท้ าแบบฝึกหัดให้เรียบรอ้ ย ถกู ต้อง สมบรู ณ์ ฝึกปฏบิ ัตติ ามใบงานท่ีมอบหมาย ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเรจ็ ของผ้เู รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2 2. ชิ้นงานสาเร็จจากการปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 2.1, 2.2 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 2

23 บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................... ......................................... ...................................................................................................... ...................................................... .................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................................ 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (.............. ...............................) ตัวแทนนักเรียน ครผู ้สู อน

24 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 หนว่ ยท่ี 3 ช่ือวิชา พนื้ ฐานงานไม้ รหัสวชิ า 2106-1001 เวลาเรยี นรวม 102 คาบ ช่ือหน่วย เคร่ืองมือตดั สอนครงั้ ท่ี 3-4/17 ชื่อเรื่อง เครื่องมือตัด จานวน 12 คาบ หวั ข้อเรื่อง 3.1 ความหมายของเคร่ืองมือตัดไม้ 3.2 เลือ่ ย 3.3 มา้ รองตัดไม้ สมรรถนะย่อย ฉลุไม้ ตัดไม้ โกรกไมต้ ามแบบได้ วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความหมายและชนดิ ของเครือ่ งมือตัดไม้ได้ 2. บอกลกั ษณะ รปู ร่าง ส่วนประกอบของเครื่องมือตัดไม้ได้ 3. ปฏิบัตกิ ารใชเ้ ครือ่ งมอื ตัดไม้แตล่ ะชนิดได้ 4. อธบิ ายวิธีการบารุงรักษาเคร่ืองมือตัดไมแ้ ตล่ ะชนดิ ใหม้ ีสภาพการใชง้ านอยา่ งมีประสิทธิภาพได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไมห่ ยดน่ิงท่ีจะแก้ปัญหา ความซ่ือสัตย์ ความรว่ มมือ เน้อื หาสาระ 3.1 ความหมายของเครือ่ งมอื ตัดไม้ เคร่ืองมือตัดไม้เป็นเลื่อยมือชนิดต่าง ๆ ซ่ึงถูกออกแบบจากแผ่นเหล็กบางแข็ง และตัดแผ่นเหล็กให้เป็น ใบเลื่อยมีซี่ฟันเลื่อยขนาดต่าง ๆ ให้มีความคมตามลักษณะการใช้งาน โดยมีมือจับหรือโครงยึดแน่นติดกับใบ เลอื่ ย ซึง่ ทาให้เลอ่ื ยมีลกั ษณะรปู ร่างแตกตา่ งกันตามประโยชนใ์ ช้สอยเพ่ือการนาเลอ่ื ยไปใช้งานการเลื่อย ผ่า ตัด ซอย และแปรรูปไมใ้ ห้มีขนาดและรูปร่างตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการของผ้ใู ช้ 3.2 เลื่อย 3.2.1 เลอื่ ยฉลุ 3.2.2 เลอื่ ยลอ 3.2.3 เลอ่ื ยลันดา 3.3 มา้ รองตัดไม้ การใช้ม้ารองตัด ใช้เล่ือยลันดาชนิดฟันตัด ลักษณะการตัดให้ตัดขวางลายเส้ียนกาหนดการวัดระยะกะ ขีดบนผวิ ไม้ที่จะทาการตัด นาไม้ที่ต้องการตัดวางบนม้ารองตัดไม้ บังคับใบเลื่อยให้คมฟันเลื่อยตัดตรงเส้นแนว ตัดท่ีริมขอบไม้ โดยทามุม 90 องศา กับผิวหน้าไม้ขณะเลื่อยตัดไม้ เพื่อเป็นร่องในการเล่ือยจากน้ันบังคับให้ใบ เลอื่ ยตัดตรงเสน้ แนวตดั ท่ีริมขอบไม้ โดยให้ใบเล่ือยทามุม 45 องศา โดยประมาณ เร่ิมตัดไม้โดยใช้หัวแม่มือกัน เพื่อบังคับ ตัดไปเร่ือย ๆ จนไม้ขาดออกจากกัน ให้เอามือข้างหน่ึงรับไม้ท่ีถูกตัดออกไว้เพื่อป้องกันไม้อีกอัน ตกพืน้ 3.4 สรุปสาระสาคญั

25 กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 3/17, คาบที่ 13–18/102) 1. ครูทบทวนเน้อื หาการสอน 2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 3 3. ครนู าเข้าสู่บทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน 4. ครสู อนเนื้อหาสาระหวั ข้อ 3.1, 3.2, 3.3 5. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดเป็นกล่มุ ขณะนักเรยี นทาแบบฝึกหัดครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม 6. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หดั และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน 7. ฝึกปฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี 3.1 เปน็ รายบุคคล กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 4/17, คาบที่ 19–24/102) 1. ครทู บทวนเน้ือหาการสอน 2. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี น และครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียน 3. นักเรยี นปฏบิ ัติตามใบงานท่ี 3.2 และ 3.3 4. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 3 สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 3, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อน เรียน และหลังเรียน 2. แหลง่ การเรียนรู้ หนังสือ วารสารเกีย่ วกับพน้ื ฐานงานไม้, อนิ เทอร์เน็ต www.google.com การวัดผลและประเมินผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอ่ื งมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยที่ 3 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 60% 3. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 3 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. ใบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ตามเกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 3 เกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60% งานท่ีมอบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทาแบบฝึกหัดใหเ้ รียบร้อย ถูกต้อง สมบรู ณ์ ฝกึ ปฏิบตั ิตามใบงาน 3.1, 3.2, 3.3 ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 3 2. ชิ้นงานสาเรจ็ จากการฝกึ ปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 3.1, 3.2, 3.3 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 3

26 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................................... ........ .......................................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ........................................................................ 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............. ...............................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

27 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 หนว่ ยที่ 4 ชอ่ื วิชา พ้ืนฐานงานไม้ รหัสวิชา 2106–1001 เวลาเรียนรวม 102 คาบ ชื่อหน่วย เครื่องมือไสไม้ สอนคร้งั ที่ 5-7/17 ชอื่ เร่อื ง เครอ่ื งมือไสไม้ จานวน 18 คาบ หัวข้อเรอ่ื ง 4.2 ประเภทเคร่ืองมือท่ีใช้ในการไสไม้ 4.4 กบผิว 4.1 ความหมายของเคร่ืองมอื ไสไม้ 4.6 กบกระด่ี 4.3 กบลา้ ง 4.8 หลักและวิธกี ารไสไม้ 4.5 กบบังใบ 4.7 กบราง 4.9 การบารุงรกั ษาเคร่ืองมือไสไม้ สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การลบั ปรับ แตง่ เครอ่ื งมอื งานไส 2. ลบั ปรับ แต่งอุปกรณ์เคร่ืองมอื งานไม้ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. อธิบายวิธกี ารใช้เคร่อื งมือไสไมไ้ ด้ 2. ปฏบิ ตั ิการใช้เครื่องมือไสไม้แต่ละชนดิ ในงานไมไ้ ด้ 3. บารุงรักษาซอ่ มแซมเครอ่ื งมอื ไสไม้ได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไมห่ ยดน่ิงที่จะแกป้ ัญหา ความซื่อสตั ย์ ความรว่ มมือ เนื้อหาสาระ 4.1 ความหมายของเครื่องมอื ไสไม้ เครื่องมือไสไม้ในงานช่างไม้ ได้แก่ กบ กบถือเป็นเคร่ืองมือสาคัญและขาดไม่ได้สาหรับช่างไม้ เนื่องจาก กบเป็นเครื่องมือท่ีใช้แต่งไม้ให้เรียบได้ขนาดตามความต้องการ ตัวกบอาจทาด้วยไม้หรือเหล็ก ดังน้ัน กบที่ใช้ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ กบไม้และกบเหล็ก 4.2 ประเภทเครื่องมือทใ่ี ช้ในการไสไม้ กบ (Planers) เปน็ เคร่ืองมือชา่ งไม้ท่สี าคัญอกี อยา่ งหนึง่ มหี นา้ ที่ไสหรือตกแต่งผวิ ไม้ใหเ้ รียบเนยี นและ สะดวกในการตกแต่งผวิ ในขน้ั ต่อไป บางกรณีใช้ไสไม้ให้ได้ฉากหลงั จากประกอบโครงสรา้ งของช้นิ งานเสร็จแล้ว เพอื่ ความสวยงาม 4.2.1 กบไม้ 4.2.2 กบเหลก็ 4.3 กบลา้ ง 4.3.1 สว่ นประกอบของกบล้าง 4.3.2 การปรบั แตง่ กบล้าง 4.4 กบผิว

28 4.4.1 ลักษณะ รปู ร่าง ขนาดของกบผิว 4.4.2 ส่วนประกอบของกบผวิ 4.4.3 การปรับแต่งกบผิว 4.4.4 การใช้กบผวิ ไสตกแตง่ ผิวไม้ 4.4.5 การบารุงรกั ษากบผวิ 4.4.6 การลับแตง่ คมใบกบ 4.4.7 การใชง้ าน 4.5 กบบังใบ 4.5.1 ลักษณะ รูปร่าง ขนาดของบงั ใบ 4.5.2 ส่วนประกอบของกบบงั ใบ 4.5.3 การปรบั แตง่ กบบังใบ 4.5.4 การใชก้ บบังใบ 4.5.5 การบารงุ รกั ษากบบังใบ 4.6 กบกระดี่ 4.6.1 ลกั ษณะ รปู รา่ ง ขนาดของกบกระดี่ 4.6.2 การใชก้ บกระด่ี 4.6.3 การบารงุ รักษากบกระดี่ 4.7 กบราง 4.7.1 ลักษณะ รูปร่าง ขนาดของกบราง 4.7.2 สว่ นประกอบของกบราง 4.7.3 การใชก้ บราง 4.7.4 การบารงุ รักษากบราง 4.8 หลักและวิธีการไสไม้ กบไม้และกบเหล็กต่างก็มีการใช้งานท่ีเหมือนกัน คือต้องใช้แรงกดใบลากไปตามผิวไม้ การไสไม้จึงควร จบั ยึดชิ้นงานกับโต๊ะปฏิบัติงานด้วยปากกาจับไม้ หรือใช้วิธีตอกช้ินไม้ไว้ท่ีปลายโต๊ะด้านหน่ึง เพ่ือยันไม้ขณะไส การยืนให้วางเทา้ เย้ืองกนั บิดลาตวั เลก็ นอ้ ยให้หันเขา้ หาโต๊ะ จับด้ามจับด้วยมือท้ังสองข้างดันกบไปข้างหน้า ให้ น้าหนักอยู่ท่ีเท้า ออกแรงกดใหส้ ม่าเสมอตลอดการไส และหมั่นตรวจสอบพ้นื ผิวให้เรียบไดฉ้ ากอยู่เสมอ 4.9 การบารุงรกั ษาเคร่ืองมือไสไม้ 1. ถอดใบกบออกจากราง โดยใชค้ อ้ นไม้ค่อย ๆ เคาะท้ายตัวกบให้ล่ิมถอยออกจากราง ถอดประกับออก จากใบกบ แลว้ ทาความสะอาดด้วยผา้ แหง้ ชโลมนา้ มนั อเนกประสงคเ์ พอ่ื กนั สนมิ 2. ลับแตง่ ใบกบใหค้ มอยู่เสมอและหลีกเลี่ยงการใช้กบแต่งผิวไม้ท่ีมีทราย กรวด ฝุ่น หรือเศษปูน เพราะ สง่ิ เหล่านีจ้ ะทาให้คมกบทอื่ และบิน่ 3. การวางกบขณะรอใช้งาน ให้หงายท้องกบขึ้นหรือหาไม้รองตัวกบไว้ไม่ให้คมกบสัมผัสพื้นโต๊ะ เพ่ือ ป้องกันใบทอ่ื และบิ่นเสียหาย 4.10 สรุปสาระสาคญั

29 กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ่ี 5/17, คาบท่ี 25–30/102) 1. ครทู บทวนเน้อื หาการสอน 2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 4 3. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน 4. ครูสอนเน้อื หาสาระหวั ข้อ 4.1 – 4.9 5. นักเรียนทาแบบฝึกหดั เปน็ กลมุ่ ขณะนักเรียนทาแบบฝกึ หดั ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม 6. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 6/17, คาบที่ 31–42/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. ครนู าเข้าสู่บทเรียน และครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี น 3. ใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏิบัติตามใบงานที่ 4.1, 4.2 เปน็ รายบคุ คล 4. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 4 สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 4, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อน เรียน และหลังเรียน 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนงั สอื วารสารเกี่ยวกบั พ้ืนฐานงานไม้, อนิ เทอร์เนต็ www.google.com การวดั ผลและประเมินผล การวัดผล การประเมินผล (ใช้เครอื่ งมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยท่ี 4 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 60% 3. แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 4 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตามเกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล 5. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หน่วยท่ี 4 เกณฑผ์ า่ น 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 60% งานท่ีมอบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหดั ให้เรียบร้อย ถกู ต้อง สมบูรณ์ ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 4 2. ชน้ิ งานสาเรจ็ จากการฝึกปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 4.1, 4.2 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 4

30 บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ............................................................................ ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ................................... ............ (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผสู้ อน

31 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 หน่วยท่ี 5 ชื่อวิชา พืน้ ฐานงานไม้ รหสั วชิ า 2106–1001 เวลาเรยี นรวม 102 คาบ ชื่อหน่วย เครอ่ื งมือเจาะไม้ สอนคร้งั ที่ 8-10/17 ชือ่ เรอื่ ง เครอื่ งมือเจาะไม้ จานวน 18 คาบ หัวข้อเรอ่ื ง 5.1 ความหมายของเคร่อื งมอื เจาะไม้ 5.2 สว่ิ 5.3 สว่าน สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรูก้ ารใชส้ ว่านมือและสว่านขอ้ เสือ 2. เจาะไม้ด้วยเครอ่ื งมือเจาะไม้ตามขนั้ ตอน วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของเคร่ืองมอื เจาะไม้ได้ 2. อธิบายวิธกี ารใชเ้ ครอ่ื งมือเจาะไมไ้ ด้ 3. อธบิ ายวธิ ีการบารงุ รักษาเครื่องมือเจาะไม้ได้ 4. อธบิ ายเทคนคิ การใชเ้ คร่อื งมือเจาะไมไ้ ด้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไมห่ ยดนิง่ ที่จะแกป้ ัญหา ความซื่อสัตย์ ความร่วมมือ เนือ้ หาสาระ 5.1 ความหมายของเครอื่ งมอื เจาะไม้ เคร่ืองมือเจาะไม้เป็นเครื่องมือที่สาคัญอย่างหน่ึงในงานช่างไม้ ซึ่งจะขาดไม่ได้เช่นกัน ในการปฏิบัติงานไม้การ ประกอบไม้เข้าด้วยกันเพ่ือให้เกิดรูปร่างจะต้องมีการเจาะไม้ ซ่ึงเครื่องมือท่ีใช้เจาะไม้มีหลายชนิด ได้แก่ สิ่ว สวา่ น 5.2 สวิ่ สิว่ (Chisels) เป็นเครอ่ื งมือเจาะ เซาะ บาก หรอื ตกแตง่ ผิวไม้ให้เป็นรูเป็นร่อง หรือช่องสาหรับเข้าไม้ติด อุปกรณ์ หรือแต่งผิวให้เรียบตรงหรือโค้ง สิ่วท่ีใช้กับงานไม้ ได้แก่ ส่ิวปากบาง สิ่วเจาะปากบาง สิ่วเจาะเดือย และสิ่วเล็บมอื มลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน ประกอบด้วย ใบส่ิว มีคมตัดท่ีปลายทาจากโลหะ และด้ามจับทาด้วยไม้ แตส่ ่ิวทีน่ ยิ มใช้ ได้แก่ ส่ิวเจาะเดอื ย ส่วิ ปากบาง และส่วิ เลบ็ มอื 5.2.1 สิว่ เจาะเดอื ย 5.2.2 สว่ิ ปากบาง 5.2.3 ส่ิวเลบ็ มือ 5.3 สว่าน เครื่องมือเจาะรู (Boring Tools) หมายถึง เคร่ืองมือท่ีผลิตข้ึนสาหรับใช้ร่วมกับดอกสว่าน เพ่ือการเจาะ คว้านเนอ้ื ไม้หรือชน้ิ งานใหเ้ ป็นรู หรือการเจาะนารใู หว้ สั ดุ อปุ กรณเ์ ข้ายึดเหนีย่ วในเน้ือไม้หรือช้ินงานให้ติดแน่น เข้าด้วยกัน เช่น การเจาะรูนาตะปูเกลียว การเจาะรูนาใส่สกรู การเจาะรูนาสาหรับการเข้าเดือย นอกจากนั้น ยังใช้เคร่ืองมือเจาะรูในเนื้อไม้และชิ้นงานอื่นตามความต้องการของผู้ใช้ เครื่องมือเจาะรูที่ใช้ในงานช่างไม้และ

32 งานช่างก่อสร้างที่ควรเรียนรู้ มีดังนี้ สว่านมือ (Hand Drill) สว่านข้อเสือ (Bit Brace) และสว่านอัตโนมัติ (Automatic Drill) 5.3.1 สวา่ นมือ 5.3.2 สว่านข้อเสอื 5.3.3 สว่านอัตโนมัติ 5.4 สรุปสาระสาคัญ กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 8/17, คาบที่ 43-48/102) 1. ครทู บทวนเนอ้ื หาการสอน 2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 5 3. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน 4. ครูสอนเน้อื หาสาระหัวข้อ 5.1, 5.2, 5.3 5. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั เปน็ กลุ่ม ขณะนกั เรยี นทาแบบฝึกหัดครจู ะสงั เกตการทางานกลุม่ 6. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 9-10/17, คาบที่ 49-60/102) 1. ครูทบทวนเน้อื หาการสอน 2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียน และครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น 3. นักเรียนจับคูฝ่ กึ ปฏิบตั ติ ามใบงาน 5.1, 5.2, 5.3 4. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 5 สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 5, ใบปฏิบัติงาน, PowerPoint ประกอบการสอน และ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรยี น 2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สือ วารสารเกย่ี วกับพ้ืนฐานงานไม้, อินเทอรเ์ น็ต www.google.com การวดั ผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครื่องมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยท่ี 5 (ไว้เปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสังเกตการณท์ างานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 60% 3. แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ตามเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หน่วยที่ 5 เกณฑ์ผา่ น 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ์ า่ น 60% งานทม่ี อบหมาย งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหัดให้เรียบรอ้ ย ถกู ต้อง สมบูรณ์ ฝึกปฏบิ ตั ติ ามใบงาน 5.1, 5.2, 5.3

33 ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผูเ้ รยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 5 2. ชนิ้ งานสาเรจ็ จากการฝึกปฏิบัติตามใบงานท่ี 5.1, 5.2, 5.3 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยที่ 5

34 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ........................... ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ........................................................................................... ................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่อื ............................................... (...............................................) (........................................... ..) ตัวแทนนักเรียน ครูผู้สอน

35 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 6 หนว่ ยท่ี 6 ชอื่ วิชา พน้ื ฐานงานไม้ รหัสวิชา 2106–1001 เวลาเรยี นรวม 102 คาบ ชอ่ื หน่วย เครอื่ งมือตอกและขนั เกลียว สอนคร้งั ที่ 11-12/17 ชอ่ื เรือ่ ง เครือ่ งมือตอกและขันเกลียว จานวน 12 คาบ หัวขอ้ เรอ่ื ง 6.1 เคร่ืองมอื ตอก 6.2 เครื่องมอื ขนั เกลียว สมรรถนะย่อย ตอกตะปู ถอนตะปดู ้วยค้อนหงอน ปรับแต่งเคร่ืองมือดว้ ยคอ้ นไม้ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. อธิบายลักษณะ ขนาด ส่วนประกอบของเครอื่ งมอื ตอกไมไ้ ด้ 2. ปฏบิ ตั กิ ารใช้เครือ่ งมือตอกไมไ้ ด้ 3. อธบิ ายวธิ ีการบารุงรกั ษาเคร่อื งมอื ตอกไม้ได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความมีวนิ ัย ความมีมนุษยสมั พันธ์ ความรบั ผดิ ชอบและความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง เนื้อหาสาระ 6.1 เครื่องมอื ตอก 6.1.1 ชนิดของค้อน (Hammer) เป็นเคร่ืองมือท่ีมีการพัฒนารูปแบบและขนาดให้มีความ หลากหลาย เพื่อประโยชน์ในการใช้งาน แต่อย่างไรตามค้อนยังคงมีหัวที่มีผิวหน้าเรียบ ใช้ตอกตะปู ล่ิมไม้ หรือ อะไรกต็ ามท่ีต้องการตอก ค้อนทีใ่ ชส้ าหรับงานไมม้ ี 2 ชนดิ คือ คอ้ นหงอนและค้อนไม้ 6.1.2 การดูแลรกั ษาค้อน 6.2 เครอ่ื งมือขนั เกลยี ว 6.2.1 ไขควงปากแบน ไขควงปากแบนประกอบด้วยด้ามทาด้วยไม้หรือพลาสติกแข็ง ทั้งแบบกลมและแบบเหล่ียม ขนาดตั้งแต่ 1 ½ –10 น้ิว และคมตัดไขควงซึ่งเป็นโลหะชุบนิกเกิล ตอนปลายแบนเอียงลาดเข้าหากัน มีขนาดความกว้างต่าง ๆ กัน เพื่อให้เหมาะกับร่องที่หัวตะปูเกลียว บางรุ่นจะติดแน่นท่ีด้ามหรือสามา รถ ถอดเปล่ียนหวั ได้ 6.2.2 ไขดวงปากแฉก ไขควงปากแฉกมีลกั ษณะโดยทั่วไปเหมือนกับไขควงปากแบนผิดกันท่ีปลายของไขควงซึ่งทาเป็น 4 แฉก เพ่ือใชข้ นั ตะปูเกลียว ชนดิ หวั แฉกท่ใี ช้กนั มอี ยู่ 4 ขนาด คอื เบอร์ 1 ใชข้ ันตะปเู กลยี วเบอร์ 0–4 เบอร์ 2 ใช้ขันตะปเู กลียวเบอร์ 5–9 เบอร์ 3 ใช้ขนั ตะปูเกลียวเบอร์ 10–16 เบอร์ 4 ใชข้ ันตะปเู กลียวเบอร์ 16 ข้ึนไป

36 6.2.3 ไขควงสปริงแบบกดหรือแบบอัตโนมตั ิ ไขควงสปรงิ แบบกดหรอื แบบอัตโนมัตินิยมใช้กันมาก เพราะให้ความสะดวกในการขัน เหมาะอย่าง ยิ่งสาหรับงานท่ีต้องขันตะปูเกลียวเป็นจานวนมาก ๆ เน่ืองจากสามารถผ่อนแรงได้ดี ปัจจุบันสว่านไฟฟ้า ออกแบบใหม้ ีระบบขันตะปูเกลียวได้ทาใหส้ ามารถใช้งานทดแทนกนั ได้ 6.3 สรปุ สาระสาคัญ กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 11/17, คาบที่ 61–66/102) 1. ครทู บทวนเนือ้ หาการสอน 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 6 3. ครนู าเขา้ ส่บู ทเรียน และครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี น 4. ครสู อนเนอ้ื หาสาระหวั ข้อ 6.1 5. นกั เรยี นทาแบบฝึกปฏบิ ัติตามใบงานที่ 6.1 เปน็ รายบุคคล 6. ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 12/17, คาบที่ 67–72/102) 1. ครูทบทวนเนอื้ หาการสอน 2. ครูนาเขา้ สู่บทเรียน และครูแจง้ จุดประสงค์การเรียน 3. ครูสอนเน้อื หาสาระหวั ข้อ 6.2 4. นกั เรียนทาแบบฝึกปฏิบตั ิเปน็ รายบุคคลตามใบงานที่ 6.2 5. ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หดั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น 6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 6 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 6, ใบปฏิบัติงาน, PowerPoint ประกอบการสอน และ แบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรียน 2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สอื วารสารเกี่ยวกบั พนื้ ฐานงานไม้, อินเทอรเ์ น็ต www.google.com การวดั ผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอื่ งมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 6 (ไว้เปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลังเรียน) 2. แบบสังเกตการณท์ างานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑ์ผ่าน 60% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 6 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน ตามเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 6 เกณฑผ์ า่ น 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 60%

37 งานท่ีมอบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหดั ให้เรียบรอ้ ย ถกู ต้อง สมบรู ณ์ ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 2. ชิ้นงานสาเร็จจากการฝกึ ปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 6.1, 6.2 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 6

38 บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ............................ ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ................................... ............ (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครูผ้สู อน

39 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 7 หนว่ ยท่ี 7 ชื่อวิชา พืน้ ฐานงานไม้ รหสั วิชา 2106–1001 เวลาเรยี นรวม 102 คาบ ชือ่ หน่วย เคร่อื งมือประกอบไม้ สอนครั้งท่ี 13-14/17 ช่ือเร่ือง เครื่องมือประกอบไม้ จานวน 12 คาบ หวั ขอ้ เรือ่ ง 7.1 แมแ่ รง 7.2 เหล็กสง่ 7.3 คมี ตดั 7.4 ตะไบ สมรรถนะยอ่ ย 1. อัดไม้ ประกอบไมด้ ้วยแม่แรงยาว 2. ตดั หวั ตะปู สง่ หวั ตะปูด้วยคมี และเหลก็ สง่ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธิบายลกั ษณะ ขนาด ส่วนประกอบของเครื่องมอื ประกอบไม้ได้ 2. ปฏิบัตกิ ารใช้เครื่องมอื ประกอบไม้ได้ 3. อธิบายวิธีการบารุงรกั ษาเครื่องมอื ประกอบไม้ได้ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความมวี ินยั ความรกั สามคั คีความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรคแ์ ละความพึงพอใจในผลงานทีท่ า เนื้อหาสาระ 7.1 แม่แรง แม่แรงและปากกา (Clamps) เป็นเคร่ืองมือบีบอัดหรือจับช้ินไม้เพื่อให้สะดวกและปลอดภัยในการตัด ไส หรือประกอบข้ึนรูปชิ้นงาน ในทางงานช่างแบ่งเคร่ืองมือที่มีหน้าที่เช่นนี้เป็น 2 ชนิด คือ แม่แรงมือ (Hand Clamps) และแมแ่ รงยาว (Bar Clamps) 7.1.1 แมแ่ รงมอื 7.1.2 แม่แรงยาว 7.2 เหล็กส่ง เหล็กส่ง (Setting Finishing Nails) คือ เครื่องมือประกอบในการใช้ตอกคู่กับค้อนหงอน ผลิตข้ึนจาก เหลก็ ที่มคี วามแข็ง มีส่วนปลายกลมตามขนาดของหัวตะปู สามารถต้านทานการตอกด้วยค้อนหงอน เป็นตัวส่ง สาหรับในการทาใหห้ ัวตะปจู มลงไปในเนอื้ ไม้ได้ลกึ ตามความต้องการของผู้ใช้ 7.2.1 ลกั ษณะ รูปรา่ ง ขนาดของเหลก็ สง่ 7.2.2 ส่วนประกอบของเหล็กสง่ 7.2.3 การใช้งานเหล็กส่ง 7.2.4 การดแู ลรักษาเหลก็ สง่ 7.3 คมี ตดั

40 คีมตัดเป็นเคร่ืองมือตัดโลหะ อาทิ ตะปูหรือลวด โดยเฉพาะในกรณีท่ีตะปูยาวเกินไป ซ่ึงถ้าตอกอาจทะลุ หรือแฉลบ ทาใหไ้ ม้แตกหรือใช้สาหรับหวั ตะปเู พ่ือตอกให้จมลงในเน้ือไม้ ในบางกรณีใช้ถอนตะปู เป็นต้น 7.4 ตะไบ 7.4.1 บุ้ง 7.4.1 ตะไบ 7.5 สรปุ สาระสาคัญ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 13/17, คาบท่ี 73–78/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยท่ี 7 3. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี น และครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น 4. ครสู อนเนื้อหาสาระหวั ข้อ 7.1 – 7.2 5. นกั เรยี นทาแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิตามใบงาน 7.1 6. ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหดั และรว่ มอภปิ รายสรุปบทเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ่ี 14/17, คาบท่ี 79–84/102) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอน 2. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี น และครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียน 3. ครสู อนเน้อื หาสาระหัวข้อ 7.2 – 7.4 4. นกั เรียนทาแบบฝกึ ปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 7.2, 7.3 5. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรยี น 6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 7 ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 7, ใบปฏิบัติงาน, PowerPoint ประกอบการสอน และ แบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสือ วารสารเก่ียวกับพ้นื ฐานงานไม้, อินเทอร์เนต็ www.google.com การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ คร่อื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre–test) หน่วยที่ 7 (ไวเ้ ปรยี บเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสังเกตการณท์ างานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุม่ เกณฑผ์ า่ น 60% 3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ตามเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 7 เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 60% งานทมี่ อบหมาย

41 งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝกึ หดั ใหเ้ รียบรอ้ ย ถกู ต้อง สมบรู ณ์ ฝึกปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 7.1, 7.2, 7.3 ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7 2. ชน้ิ งานสาเรจ็ จากการฝึกปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 7.1, 7.2, 7.3 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 7

42 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ............................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................................ .............. .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (................................... ..........) ตวั แทนนักเรียน ครผู สู้ อน

43 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 8 หนว่ ยที่ 8 ช่ือวิชา พืน้ ฐานงานไม้ รหสั วิชา 2106–1001 เวลาเรยี นรวม 102 คาบ ชอ่ื หน่วย การเขา้ ไม้ สอนครัง้ ที่ 15-17/17 ชอ่ื เร่ือง การเข้าไม้ จานวน 18 คาบ หัวขอ้ เรอ่ื ง 8.1 ความหมายของการเข้าไม้ 8.2 การเข้าเดอื ยเดย่ี ว 8.3 การเข้าบา่ เดอื ยเด่ยี ว 8.4 การเขา้ ปากไมแ้ บบเดือยคปู่ ากชน 8.5 การเข้าปากไม้แบบเดอื ยเดีย่ วปากกริว 8.6 การเข้าปากไมแ้ บบเดอื ยหางเหยย่ี ว 8.7 การเพลาะไม้ 8.8 การประกอบตกแตง่ ช้นิ งานไม้ สมรรถนะยอ่ ย การประกอบและการตกแตง่ ช้นิ งานไม้ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความหมายและรปู รา่ งของการเขา้ เดอื ยไม้แบบต่าง ๆ ได้ 2. อธบิ ายขนาดช้ินงานตา่ ง ๆ ได้ 3. ปฏบิ ตั งิ านการเข้าไมแ้ บบต่าง ๆ ได้ 4. ประยกุ ต์ใช้ สร้าง ประกอบผลิตภณั ฑเ์ พ่ือใช้ประโยชน์ได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความมีวนิ ัย ความรกั สามคั คีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์และความพงึ พอใจในผลงานท่ีทา เนอ้ื หาสาระ 8.1 ความหมายของการเข้าไม้ การเข้าไม้เป็นเรื่องที่สาคัญอย่างมากท่ีช่างไม้และช่างก่อสร้างจาเ ป็นต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจกับ ชนิด ลักษณะรูปแบบ และวิธีการของการเข้าไม้ เพ่ือนารูปแบบของการเข้าไม้แต่ละชนิดไม้มาประกอบและ ปฏิบัติในการสรา้ งให้เหมาะกบั ลกั ษณะ รปู แบบของชิน้ งานท่กี าหนดขึ้น ซ่งึ จะเปน็ ผลทาให้ชน้ิ งานสาเร็จมีความ แขง็ แรง สวยงาม และเพิม่ คณุ ค่าที่นา่ ใชย้ งิ่ ขนึ้ 8.2 การเข้าเดอื ยเด่ยี ว 8.2.1 การเขา้ เดือยเดี่ยวย่อเดือย 8.2.2 การเขา้ เดือยเดย่ี วปากกรวิ ดา้ นเดยี ว 8.2.3 การเข้าเดือยเดยี่ วปากกริวสองดา้ น 8.2.4 การเข้าปากกบเดือยเดย่ี วมีบ่า 8.2.5 การเข้าปากกรวิ เดอื ยเด่ยี วมบี ่า 8.2.6 การเข้าเดอื ยคู่ 8.3 การเขา้ บ่าเดือยเด่ียว

44 8.4 การเข้าปากไมแ้ บบเดอื ยคปู่ ากชน 8.5 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยเดย่ี วปากกรวิ 8.5.1 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยเดี่ยวปากกริวทางเดียว 8.5.2 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยปากกรวิ 2 ทาง 8.6 การเข้าปากไมแ้ บบเดือยหางเหย่ยี ว 8.6.1 การเขา้ ปากไม้แบบเดอื ยหางเหยีย่ วเปิด 8.6.2 การเข้าปากไมแ้ บบเดือยหางเห่ยี วปิด 8.7 การเพลาะไม้ 8.7.1 การเพลาะไมด้ ้วยการใช้กาว 8.7.2 การเพลาะไมด้ ้วยการใช้กาวรว่ มกับตะปู 8.8 การประกอบตกแตง่ ช้นิ งานไม้ 8.9 สรุปสาระสาคญั กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 15/17, คาบท่ี 85–90/102) 1. ครูทบทวนเนอ้ื หาการสอน 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 8 3. ครนู าเข้าสู่บทเรยี น และครแู จ้งจุดประสงค์การเรียน 4. ครสู อนเนื้อหาสาระหัวขอ้ 8.1 – 8.4 5. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดเปน็ กลมุ่ ขณะนกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่ 6. ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 16-17/17, คาบท่ี 91–102/102) 1. ครทู บทวนเน้อื หาการสอน 2. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียน และครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี น 3. ครสู อนเน้ือหาสาระหัวข้อ 8.5 – 8.8 4. นกั เรียนทาแบบฝึกปฏิบตั เิ ป็นกลมุ่ ตามใบงานท่ี 8 5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรียน 6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 8 ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 8, ใบปฏิบัติงาน, PowerPoint ประกอบการสอน และ แบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนงั สือ วารสารเก่ียวกับพ้ืนฐานงานไม้, อินเทอร์เน็ต www.google.com

45 การวดั ผลและประเมนิ ผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เคร่อื งมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หนว่ ยท่ี 8 (ไว้เปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) 2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑ์ผ่าน 60% 3. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 8 เกณฑ์ผา่ น 50% 4. ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ตามเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หน่วยที่ 8 เกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 60% งานทมี่ อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหดั ให้เรียบรอ้ ย ถูกต้อง สมบรู ณ์ การทาม้านั่ง ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 8 2. ช้ินงานสาเร็จจากการฝกึ ปฏบิ ัติตามใบงานที่ 8 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 8

46 บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ........ ........................................................................................................................... ............................................. ............................................................................................................................. .............................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครผู ้สู อน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook