Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เสวนาถอดบทเรียน-บ้านลมทวน

เสวนาถอดบทเรียน-บ้านลมทวน

Published by Threechada Loakaewnoo, 2021-09-28 16:53:25

Description: เสวนาถอดบทเรียน-บ้านลมทวน

Search

Read the Text Version

“ จั ด ทำ วี ดิ ทั ศ น์ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ” โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ( D - H O P E ) “ถอดบทเรียน: การทำชุมชนท่องเที่ยว ให้สำเร็จต้องอาศัยอะไรบ้าง” BAAN LOM TUAN -SAMUT SONGKHRAM สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กลุ่มงานส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

“ถอดบทเรียน: การทำชุมชนท่องเที่ยว ให้สำเร็จต้องอาศัยอะไรบ้าง” BAAN LOM TUAN -SAMUT SONGKHRAM กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ (D-HOPE) กิจกรรมที่ 2 จัดทำวีดิทัศน์ส่งเสริมการ เรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ (D-HOPE) เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ ด้านการท่องเที่ยวด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิด (D - HOPE) และใช้เป็นฐานข้อมูลให้กับผู้นำ ชุมชน ให้สามารถสืบค้นและพัฒนาศักยภาพตนเองและชุมชนได้ รวมถึงสร้างความ ตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการรับรู้ในวงกว้างถึงการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิด (D - HOPE) การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการท่องเที่ยว การสร้าง เรื่องราวที่น่าสนใจ (Story) เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ได้ดำเนินกิจกรรมถอดบทเรียนความ สำเร็จจากชุมชนบ้านลมทวนซึ่งถือได้ว่าประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านการท่องเที่ยว และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยือนเป็นจำนวนมาก เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนอื่นๆ ต่อไปในอนาคต สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กลุ่มงานส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1

ชุมชนบ้านลมทวน ตำบลบ้านปรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม เรื่ องเล่าของชุมชน ชุมชนบ้านลมทวน จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นพื้ นที่ราบลุ่ม ริมแม่น้ำแม่กลอง ซึ่งเป็นแม่น้ำที่หล่อเลี้ยงชาว สมุทรสงครามมาอย่างยาวนาน คนในชุมชนจึงมีอาชีพส่วนใหญ่คือการทำ ประมงน้ำจืดและน้ำกร่อย คนในชุมชนมีวิถีชีวิตแบบเรียบง่าย รักสงบแบบ ดั้งเดิมของชาวบ้านสวนริมคลอง นอกจากนั้นยังมีการทำสวนเกษตรกรรม เช่น สวนมะพร้าว สวนส้มโอ และผลไม้อื่ นๆ ชุมชนบ้านลมทวนจึงถือเป็นวิถี ชีวิตเกษตรกรรม วิถีชีวิตริมน้ำ ซึ่งหาชมได้ยากในปัจจุบัน และด้วยจังหวัดสมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่ใกล้กรุงเทพฯ ขับรถไปไม่ถึง 2 ชั่วโมง จึงเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่นักท่องเที่ยว จำนวนมากหลั่งไหลกันมาท่องเที่ยว เพื่อซึมซับบรรยากาศ วิถีชีวิตริมน้ำอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวแม่กลอง.... 2

บทบาทกรมการพัฒนาชุมชนในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่ อรองรับนักท่องเที่ยว 1.การตลาดออนไลน์ (ONLINE MARKETING) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรสงครามได้มุ่งเน้นสนับสนุนผู้ประกอบการ OTOP ในด้านการตลาดออนไลน์ (ONLINE MARKETING) เพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน ที่หันมาซื้อของผ่านช่องทาง ออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ทั้งในส่วนของโซเชียลมีเดีย เช่น TIKTOK , FACEBOOK ,YOUTUBE, TWITTER, INSTAGRAM และ แพรตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ และ นอกจากนี้การมุ้งเน้นการตลาดออนไลน์ที่เพิ่มมากขึ้น สำนักงานฯ ก็ไม่ได้ละทิ้งการตลาด แบบออฟไลน์ เรียกได้ว่าเป้นการผสมผสานระหว่างกลยุทธ์การตลาดแบบออนไลน์และออฟไลน์ควบคู่กันไป 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ (INNOVATION PRODUCT) การสนับสนุนของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรสงครามในอีกแนวทางหนึ่งคือการส่ง เสริมศักยภาพผู้ประกอบการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ ที่เน้นการผสมผสานระหว่าง นวัตกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้าด้วยกัน โดยใช้หลักการตลาดนำการผลิต การคำนึงถึงความ ต้องการของผู้บริโภคเป็นหลัก \"INNOVATIVE PRODUCT\" การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ยังไม่มีในตลาด โดยผสมผสานเข้ากับภูมิปัญญา วัฒนธรรมของชุมชน ให้เข้ากับบริบทของสังคมในยุคปัจจุบัน จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ก า ร พั ฒ น า . . . . ชุมชนบ้านลมทวน ตั้งอยู่ริมคลองผีหลอก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม เป็น ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรกรรม โดยวิถีชุมชนดั้งเดิมเป็นการทำประมงพื้นบ้าน และการทำสวน มะพร้าวเป็นหลัก แต่เมื่อการท่องเที่ยวเริ่มเข้ามามีบทบาท ทำให้คนในชุมชนเห้นพ้อง ต้องกันที่จะพัฒนาชุมชนบ้านลมทวนเป้นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ของจังหวัด เริ่มต้นจาก การทำโฮมสเตย์ โดยใช้บ้านของคนในชุมชนมาปรับปรุงเป็นที่พักให้กับนักท่องเที่ยว จน ในปัจจุบันชุมชนบ้านลมทวนเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวมากขึ้น โดยมีกลุ่มเเป้าหมาย หลักคือนักท่องเที่ยวกลุ่มศึกษาดูงาน และ นักท่องเที่ยวกลุ่มครอบครัว ซึ่งทั้งสองกลุ่ม เป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มที่มีคุณภาพสูง นอกจากนี้ชุมชนบ้านลมทวนยังมีชื่อเสียง ในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ ทำมาจากมะพร้าว มีการนำวัสดุจากต้นมะพร้าวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เรียกได้ว่านำเอาต้นมะพร้าวมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ตั้งแต่ใบมะพร้าวที่นำมาสานเป็น ตะกร้า จั่นมะพร้าวที่ให้น้ำตาลมะพร้าว และกิจกรรมใหม่ล่าสุด มะพร้าว D.I.Y. ( DO IT YOURSELF) ที่นำเอาเปลือกมะพร้าวเหลือใช้มาทำเป็นกระถางต้นไม้ เพื่อให้นักท่อง เที่ยวได้ทดลองทำและนำกลับไปเป็นของที่ระลึก 3

จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ก า ร พั ฒ น า . . . . ชุมชนบ้านลมทวน ในยุคเริ่มต้นการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวประสบปัญหาอยู่ บ้างทั้งในเรื่องของการรวมกลุ่ม การแบ่งปันผลประโยชน์ เนื่องจากในยุคแรกๆคนใน ชุมชนส่วนใหญ่ยังคงวิถีชีวิตดั้งเดิม แต่เมื่อมีผู้นำชุมชนอย่าง \"ป้าเล็ก\" คุณถิรดา เอกแก้วนำชัย ริเริ่มการท่องเที่ยวในพื้นที่ ชี้ให้ชาวบ้านได้มองเห็นช่องทางการ การใช้การท่องเที่ยวมาเพื่ออนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตให้คงอยู่ไม่สูญหาย ไป คนในชุมชนจึงเริ่มเห็นความสำคัญในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ \"ชุมชนบ้านลมทวนใช้ การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นเครื่องมือ\" สำหรับชุมชนบ้านลมทวนนั้นการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเพียง เครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ความอยู่ดีมีสุข และการรักษาอัตลักษณ์วิถีชีวิต และสิ่งแวดล้อมของชุมชนในท้องถิ่น เพียงเท่านั้น ไม่ได้พึ่งพิงการท่องเที่ยวเต็ม 100% ดังนั้นเมือเกิดช่วง วิกฤติโรคระบาดหรือสถานการณ์ไม่คาดคิดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ คนใน ชุมชนก็ยังมีรายได้จากการประกอบอาชีพหลัก โดยไม่ได้รับ ความเดือดร้อน ทำให้ชุมชนสามารถพึงตนเองได้อย่างสมบูรณ์..... โ อ ก า ส ใ น วิ ก ฤ ติ . . . ในสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดโรคระบาด COVID-19 ชุมชนจึงไม่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ในครั้งนี้ เนื่ องจากคนในชุมชนมีการพึ่งพาการท่องเที่ยวน้อย และใช้ การท่องเที่ยวเป็นเพียงเครื่ องมือในการอนุรักษ์วิถีชีวิตดั้งเดิมเท่านั้น จึงทำให้คนใน ชุ ม ช น บ้ า น ล ม ท ว น ส า ม า ร ถ มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ห ลั ก ดั้ ง เ ดิ ม ข อ ง ชุ ม ช น ดังนั้นหากวิกฤติในครั้งนี้เบาบางลงหรือหายไป นักท่องเที่ยวมีโอกาสในการเดินทาง ท่องเที่ยวอีกครั้ง ชุมชนบ้านลมทวนก็สามารถต้อนรับนักท่องเที่ยวได้ทันที ค น ใ น ชุ ม ช น มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว อ ย่ า ง ส ม่ำ เ ส ม อ แ ม้ จะมีนโยบายในการปิดแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน มีการเตรียมความพร้อมทั้งด้าน ที่พัก สิ่งอำนวยความสะดวก กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ ด้านความ ปลอดภัยและสุขอนามัยต่างๆ และด้านอื่ นๆเพื่ อให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ ทันทีเมื่ อมีโอกาส ทำให้ชุมชนแห่งนี้ถือเป็นเป้าหมายแรกๆในจังหวัดสมุทรสงคราม ที่นักท่องเที่ยวมักจะนึกถึง เนื่ องจากความพร้อมและการเอาใจใส่ในการพัฒนาด้าน ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว อ ย่ า ง ส ม่ำ เ ส ม อ 4

เ ป็ น ป า ก เ ป็ น เ สี ย ง ความคาดหวังของคนในชุมชน..... 1. การจำหน่ายผลิตผลของชุมชนโดยมีช่องทางที่หลากหลายทั้งออนไลน์และ ออฟไลน์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่ อให้ได้มาตรฐานในระดับสากล การประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จัก ผ่านการให้บริการที่มีคุณภาพ 2. คำแนะนำจากภาครัฐ สถาบันการศึกษาในด้านการพัฒนารูปแบบของบรรจุภัณฑ์ (Packaging) เพื่ อเพิ่มโอกาสทางด้านการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ชุมชน ก่อให้เกิดการ พัฒนา ต่อยอด และเป็นการสร้างรายได้ให้กับสมาชิกในชุมชน 3. การใช้การท่องเที่ยวในการดำรง รักษา และสืบทอดประเพณี วัฒนธรรมของ ชุมชนโดยสมาชิกรุ่นหลัง อันเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความรัก และความภาคภูมิใจในวิถี ที่ ดี ง า ม ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ดังนั้นคนในชุมชนจึงมีการปรับตัวอยู่เสมอ การค้นหาองค์ความรู้ใหม่ๆเพื่ อนำมา พั ฒ น า ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ต อ บ โ จ ท ย์ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ได้หลากหลายกลุ่ม การค้นหาอัตลักษณ์ ของชุมชน... ใ น ยุ ค เ ริ่ ม แ ร ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ข อ ง ชุ ม ช น บ้ า น ล ม ท ว น เ ริ่ ม ต้ น จากการค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชน กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวที่มีความเป็นไปได้ เช่น การพายเรือชมธรรมชาติ หิ่งห้อย และชมวิถีชีวิตเกษตรแบบดั้งเดิม กิจกรรม การเรียนรู้ที่หลากหลายตามความต้องการของนักท่องเที่ยว เพื่ อนำเสนอความแตก ต่ า ง เ ใ น ก า ร ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ทุ ก ขั้ น ต อ น ข อ ง ค น ใ น ชุมชนมีการประชุมนำเสนอแนวคิด การค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชนและการสรุป แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ จ ะ เ ป็ น แ ม่ เ ห ล็ ก ใ น ก า ร ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ ห้ มาเที่ยวยังชุมชนบ้านลมทวนได้ โดยการเปิดโอกาสให้กับคนในชุมชนแสดงความ คิดเห็นและนำเสนออัตลักษณ์ของคนในชุมชน หลังจากนั้นนำมาถอดบทเรียน และพัฒนาเพื่ อให้สามารถเป็นกิจกรรมต่างๆ 5

กระบวนการค้นหาเอกลักษณ์ ของชุมชนบ้านลมทวน... การสร้างการมีส่วนร่วม โดยดึงเอากลุ่มที่สนใจ STEP ในเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน และกลุ่มองค์กร ต่างๆ ในชุมชนมาร่วมดำเนินการวางแผน ร่วม 01 กันตัดสินใจ และดำเนินการแต่งตั้งคณะ กรรมการของชุมชน และวางรูปแบบการบริหาร จัดการเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน STEP สำรวจศักยภาพ จุดเด่นและข้อจำกัดของชุมชน และปัญหาของชุมชน ทั้งในมิติสิ่งแวดล้อมทาง 02 กายภาพ ประวัติศาสตร์ชุมชน ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชน ชุมชนกับการใช้ การเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการท่องเที่ยว STEP ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรเพื่อการท่อง โดยชุมชน ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวให้เหมาะสม เที่ยว เพื่อกำหนดจุดท่องเที่ยว เส้นทางท่องเที่ยว ทั้งในเรื่องของความปลอดภัย ปรับปรุงบ้านพัก 03 และเพื่อทำแผนที่การท่องเที่ยวโดยชุมชน ให้เป็นมาตรฐานของชุมชน รวมทั้งการฝึกอบรม บุคลากรด้านการท่องเที่ยวในชุมชนจะทำให้เห็น การกำหนดเป้าหมายด้านการท่องเที่ยวชุมชน ความสามารถของชุมชนในการรองรับการท่อง โดยกำหนดรูปแบบของการท่องเที่ยว โปรแกรม เที่ยวเพื่อให้เกิดความยั่งยืนมากขึ้น และราคา เส้นทาง กิจกรรม การจัดสรรผล ประโยชน์อย่างเป็นธรรมสู่ชาวบ้านและชุมชน STEP มาตรการในการป้องกันผลกระทบ และการ วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น 04 การสร้างการรับรู้กิจกรรมการท่องเที่ยวอย่าง STEP สร้างสรรค์ ผ่านสื่อทั้งออนไลน์ เช่น WEBSITE SOCIAL MEDIA และออฟไลน์ เช่น การบอก 05 ปากต่อปาก (WORD OF MOUTH) การออกบูธ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน STEP การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างมาตรฐานให้ กับผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการพัฒนาทักษะบุคลากร 06 ทางการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการท่องเที่ยวที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต 6

เอกลักษณ์ของชุมชน... วิถีชีวิตดั้งเดิม ผลิตภัณฑ์ โฮมสเตย์ การดึงเอาเสน่ห์วิถีชีวิตดั้งเดิม เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของบ้านลม การใช้บ้านพักแบบดั้งเดิมของ ของคนในชุมชนมาเป็นจุดขายให้ ทวนคือมะพร้าว ดังนั้นคนใน ชุมชนมาปรับและพัฒนาเป็น กับนักท่องเที่ยวผ่านฐานการ ชุมชนจึงมีการต่อยอด โฮมสเตย์เพื่อรองรับนักท่อง เรียนรู้ต่างๆ เช่น การจักสานทาง ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับมะพร้าวที่ เที่ยวโดยมุ่งเน้นความเป็น มะพร้าว การทำผ้ามัดย้อม หลากหลาย เพื่อให้ตรงกับ มาตรฐานในทุกกระบวนการ การทำขนมไทยโบราณเป็นต้น ความต้องการของนักท่องเที่ยว ขั้นตอน .....สร้างการมีส่วนร่่วม ได้ประสบการณ์อย่างแท้จริง จัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม..... 7

ชุมชนพึ่งตนเอง... เมื่อถึงเวลาชุมชนต้องสามารถพึ่งตนเองได้... ในระยะแรกของการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวภาครัฐและภาคเอกชนทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการแนะนำแนวทางการ พัฒนา แต่เมื่อถึงระยะหนึ่งที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จะปล่อยให้ชุมชนบริหารจัดการตนเอง เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism: CBT) อย่างสมบูรณ์แบบ ชุมชนบ้านลมทวนได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐหลากหลายหน่วยงาน เช่น กรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (Local Economy) ให้เกิดความยั่งยืนและกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม จึงได้มีการ สนับสนุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของนักท่องเที่ยว และรองรับการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของบ้านลมทวน การพัฒนา ศักยภาพด้านการตลาดทั้งออนไลน์และออฟไลน์ให้กับชุมชน ตลอดจนการดำเนิน โครงการ OTOP นวัตวิถีที่มุ่งเน้นเพ่ิมมุลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และบริการที่ชุมชนมีอยู่ ผ่านกระบวนการจัดการด้านการท่องเที่ยว สำนักงานการท่องเที่ยว การส่งเสริมและพัฒนาด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผ่านกระบวนการมีส่วน และกีฬาจังหวัดสมุทรสงคราม ร่วม เพื่อมุ้งเน้นให้ชุมชนบ้านลมทวนมีการให้บริการด้านการท่องเที่ยวที่ดีขึ้น มีคุณภาพและมาตรฐาน และการพัฒนาศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวเพิ่ม มากขึ้น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เน้นส่งเสริมด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ผ่านการดึงอัตลักษณ์และจุด จังหวัดสมุทรสงคราม เด่นของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านลมทวนให้เข้าถึงการรับรู้ของนักท่องเที่ยว และ การขยายฐานตลาดการท่องเที่ยวคุณภาพและสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่อง สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด เที่ยว พร้อมทั้งการให้ข้อมูลที่จำเป็นกับนักท่องเที่ยว สมุทรสงคราม สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรสงครามร่วมมีบทบาทในการพัฒนา สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด คุณภาพและมาตรฐานในการอนุรักษ์ทรัพยากรด้านวัฒนธรรม ประเพณี ของ สมุทรสงคราม ชุมชนบ้านลมทวน การดึงเอาทรัพยากรด้านวัฒนธรรม ประเพณีมาเป็นจุดขาย ผ่านการศึกษา วิจัย และบริหารจัดการองค์ความรู้ร่วมกับคนในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านปรก จังหวัดสมุทรสงคราม สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ส่งเสริม พัฒนา และถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านอุตสาหกรรมให้กับผู้ประกอบการในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่ง ตลอดจนได้รับมาตรฐานทั้งใน สถาบันการศึกษา ระดับประเทศและระดับสากล ส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของสถานประกอบการ สนับสนุนสิ่งปลูกสร้างทั้งชั่วคราวและถาวร เพื่อรองรับการท่องเที่ยวใน พื้นที่ การดึงงบประมาณในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวจากภาครัฐ เช่น การ ก่อสร้างถนน ปรับปรุงสิ่งปลูกแหล่งท่องเที่ยว เสาไฟฟ้า สวนสาธารณะ การดูแล ทรัพยากระรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น สถาบันการศึกษามุ่งเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่บ้านลม ทวน ผ่านกระบวนการศึกษาวิจัย และการให้บริการด้านวิชาการ งานวิจัย การ สนับสนุนข้อมูลที่ได้รับจากการวิจัย 8

ปัญหาของชุมชน... จากประเด็นการเสวนา \"ถอดบทเรียน: การทำชุมชนท่องเที่ยวให้สำเร็จต้องอาศัยอะไรบ้าง\" โดยใช้บทเรียนของ ชุมชนบ้านลมทวน จังหวัดสมุทรสงครามมาเป้นองค์ความรู้ให้กับชุมชนอื่นที่ต้องการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความ ยั่งยืน โดยใช้วิธีการทำกระบวนการกลุ่ม (Focus Group) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนบ้าน ลมทวน กว่าชุมชนบ้านลมทวนนั้นจะประสบความสำเร็จด้านการท่องเที่ยวอย่างทุกวันนี้ เมื่อแรกเริ่มก็ประสบปัญหา มากมายจากการที่ชุมชนขาดองค์ความรู้ในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อรองรับความต้องการของนักท่องเที่ยวที่เพิ่ม มากขึ้น ในระยะแรกจึงได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันเป้นพี่เลี้ยงเพื่อให้ชุมชนสามารถเดินหน้าในเรื่อง ของการท่องเที่ยวได้ โดยจากการถอดบทเรียนพบว่าในระยะแรกของการเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้น ชุมชนประสบปัญหา ดังนี้ ขาดองค์ความรู้ ขาดกระบวนการมีส่วนร่วม ด้วยวิถีชีวิตของชุมชนที่อยู่กันอย่าง ในระยะแรกของการพัฒนาแหล่ง เรียบง่ายและเป้นสังคมเกษตรกรรม ท่องเที่ยวการสร้างกระบวนการมี ดังนั้นจึงมีองค์ความรู้ในการพัฒนา ส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง แหล่งท่องเที่ยวไม่มากพอ ดังนั้นจึง ค่อนข้างยาก จึงต้องมีการประชุม ต้องอาศัยทพี่เลี้ยงในระยะแรก หารือร่วมกันหลายครั้ง เงินทุนในการพัฒนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การที่แหล่งท่องเที่ยวจะประสบ เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของบ้านลมทวน ความสำเร็จได้จำเป็นต้องใช้เงินทุน คือมะพร้าว แต่ชุมชนไม่สามารถ ในการพัฒนา ดังนั้น ในระแรก แปรรูปมะพร้าวให้มีความหลาก ชุมชนบ้านลมทวนได้มีการร่วมทุน หลายได้ ดังนั้น กรมการพัฒนา กัน พร้อมทั้งอาศัยงบประมาณของ ชุมชนจึงได้เข้าไปช่วยให้องค์ความรู้ ภาครัฐควบคู่กันไป เมื่อชุมชนบ้านลมทวนประสบปัญหาดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ชุมชนได้อาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ร่วม กันคิดและแก้ไขปัญหา และหาทางออกร่วมกัน โดยมีผู้นำชุมชนที่มีความเข้มแข็ง ทำให้ทุกปัญหาที่เข้ามากระทบการท่องเที่ยว ในชุมชน ชุมชนก้สามารถผ่านปัญหาต่างๆเหล่านั้นไปได้.... กระบวนการมีส่วนร่วม อย่างแท้จริง.... ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ให้ข้อมูล ข้อคิดเห็นร่วมกัน ต่างฝ่ายได้รับรู้ถึงปัญหาและความต้องการไป พร้อมกันผ่านกระบวนการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง 9

จากผลิตภัณฑ์ สู่ การขาย... ชุมชนบ้านลมทวนมีมะพร้าวมากมาย เนื่องจากเป็นชุมชนเกษตรกรรม ดังนั้นชุมชนจึงมีแนวคิดในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบในชุมชน ในปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ได้มาจากมะพร้าวมี หลากหลาย เช่น น้ำตาลเกร็ดมะพร้าว น้ำตาลมะพร้าวสด และไซรัปน้ำตาลมะพร้าวซึ่งมีความหอม และรสชาติที่กลมกล่อม เป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยว สามารถหาซื้อเป็นของฝากได้ วัตถุดิบจากชุมชน.... การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ด้วยแนวคิดการตลาดนำการผลิต ชุมชนบ้านลมทวนเลือกใช้มะพร้าวที่มีอยู่เป็น จำนวนมาก นำมาทดลองแปรรูปให้เกิดความ หลากหลายของผลิตภัณฑ์ แนวทางการทำการตลาด.... การทำการตลาดของชุมชนบ้านลมทวนมีการการเน้นการสร้างประสบการณ์ ให้กับนักท่องเที่ยว และเน้นการสร้างคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ผ่านช่อง ทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย ด้วยแนวคิดการทำตลาดแบบ 4E Experience Evangelism 1. การสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า (Experience) กิจกรรม การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์หรือเส้นทางการท่องเที่ยวที่คิด Marketing สร้างสรรค์ที่สร้างขึ้นมามุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ในด้านต่างๆ Mix ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใหม่ Everyplace 2. การสร้างคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (Exchange) ภายใน เส้นทางท่องเที่ยวทั้งในส่วนของกิจกรรมการวิ่งหรือการปั่ นจักรยาน Exchange จะมีการสอดแทรกการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ มากมาย 3. ช่องทางที่นักท่องเที่ยวมีโอกาสในการรับรู้ที่หลากหลาย (Everyplace) โดยการประชาสัมพันธ์ใช้ช่องทางการตลาดที่มีความ หลากหลาย (Omni Channel) 4. การสร้างความภักดีต่อแบรนด์ (Evangelism) การท่องเที่ยว ในชุมชนบ้านลมทวนมีแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้นักท่องเที่ยว เกิดการรับรู้ว่าหากนึกถึงการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเกษตรต้องนึกถึง ที่บ้านลมทวนเท่านั้น 10

ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ... ปัจจัยสู่ความสำเร็จของชุมชนบ้านลมทวน คือ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างแท้จริง การร่วมคิด ร่วม ในการประชุมปรึกษาหารือ การร่วมตัดสินใจ แนวทางที่เห็นว่าดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์อย่างแท้จริง เน้นการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ (Creative Tourism) นักท่องเที่ยวมีโอกาสได้เรียนรู้ ทดลองทำกิจกรรมร่วมกับคนในชุมชน เกิดกระบวนการซึมซับ วัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของคนในชุมชน นอกจากนี้เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นจึงมีความจำเป็นต้องใช้การตลาดหลากหลาย ช่องทาง ผ่านสื่อทั้งออนไลน์ เช่น Website Social media และออฟไลน์ เช่น การบอกปากต่อปาก (word of mouth) การออกบูธร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 01 02 03 04 การมีส่วนร่วม นักท่องเที่ยว การตลาด กระจายรายได้ ของคนในชุมชน ได้ประสบการณ์ หลากหลาย อย่างเป็นธรรม อย่างแท้จริง อย่างแท้จริง ช่องทาง 11

สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กลุ่มงานส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook