Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OM-WAVE110i-K58K

OM-WAVE110i-K58K

Published by จีระพงษ์ สลีแดง, 2020-09-09 00:48:03

Description: OM-WAVE110i-K58K

Search

Read the Text Version

3. ถ้าขั้วแบตเตอรถี่ กู กดั กรอ่ นมากหรอื มคี ราบสขี าวๆ เกาะ หลกั การเบือ้ งต้นในการบำ�รงุ รักษา การบ�ำ รุงรกั ษา อยมู่ าก ใหท้ ำ�ความสะอาดและขดั ขวั้ แบตเตอร่ีดว้ ยแปรง ลวดหรอื กระดาษทราย ควรสวมแว่นตานริ ภัยเพอื่ ความ ฟิวส์ ปลอดภยั ของทา่ น ฟวิ สเ์ ปน็ อุปกรณ์ป้องกนั วงจรไฟฟา้ ภายในรถจกั รยานยนต์ ของทา่ น ถ้าอุปกรณไ์ ฟฟ้าใดๆ ในรถหยุดการทำ�งาน ใหต้ รวจ 4. หลังจากท�ำ ความสะอาด ใหป้ ระกอบแบตเตอร่ีกลับเข้าที่ เช็คและเปลี่ยนฟวิ สใ์ ดๆ ท่ขี าด หนา้ 96 แบตเตอรม่ี อี ายกุ ารใช้งานจำ�กดั ดงั น้ันทา่ นควรปรกึ ษากบั การตรวจสอบและการเปลี่ยนฟิวส์ ทางศนู ย์บริการฮอนด้าวา่ เม่อื ไรทท่ี า่ นควรจะต้องเปลย่ี น หมุนสวทิ ช์จุดระเบิดไปท่ตี �ำ แหน่ง OFF เพอ่ื ทจ่ี ะถอดและ แบตเตอรใี่ หม่ และควรเปลีย่ นแบตเตอร่ลี กู ใหม่ดว้ ยแบต- ตรวจสอบฟวิ ส์ ถ้าฟิวส์ขาดใหเ้ ปลยี่ นใหมโ่ ดยใช้ฟวิ ส์ที่มี เตอรแี่ บบไม่ตอ้ งบำ�รุงรกั ษาชนดิ เดยี วกัน ขนาดเดียวกบั ฟิวส์เดมิ ส�ำ หรับขนาดของฟิวสใ์ หด้ ูไดจ้ าก “ขอ้ มูลทางเทคนิค” หนา้ 111 ข้อสังเกต การประกอบอปุ กรณ์เสริมระบบไฟฟ้าทไ่ี มใ่ ชข่ องฮอนดา้ อาจ ฟวิ สข์ าด ท�ำให้ระบบไฟฟา้ ท�ำงานเกินก�ำลัง ท�ำใหแ้ บตเตอรจ่ี า่ ยกระแส ไฟออกจนหมด และอาจเป็นไปได้ว่าจะท�ำให้ระบบไฟฟา้ ได้ ขอ้ สงั เกต รับความเสียหายได้ การเปลยี่ นฟิวส์โดยใชฟ้ วิ สท์ ่มี ีเบอรส์ ูงกวา่ มาตรฐานทกี่ �ำหนด จะย่งิ เพ่มิ โอกาสของความเสยี หายท่จี ะเกดิ แก่ระบบไฟฟ้า 43

การบ�ำ รุงรกั ษา หลักการเบ้ืองตน้ ในการบำ�รุงรักษา *1. มาตรฐาน JASO T 903 เปน็ ดชั นสี �ำหรับน้ำ� มนั เครอ่ื ง ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเปน็ ไปไดว้ ่าวงจรไฟฟ้าภายในรถจกั ร- ส�ำหรับเครือ่ งยนต์รถจกั รยานยนต์ 4 จงั หวะ โดยแบ่งน�้ำมัน ยานยนต์ของทา่ นเกดิ บกพรอ่ ง ดงั น้นั ควรน�ำรถเข้ารบั บริการ เครอื่ งออกเปน็ 2 ประเภทคอื MA และ MB ยกตวั อยา่ ง ตรวจเช็คโดยศูนยบ์ รกิ ารฮอนดา้ เช่น ปา้ ยต่อไปนแ้ี สดงน้ำ� มนั ประเภท MA นำ�้ มนั เครอื่ ง รหสั น้�ำมัน อัตราการสนิ้ เปลืองของนำ้� มนั เคร่ืองจะแตกต่างกันและคุณ- ประเภทของนำ�้ มัน ภาพของนำ้� มันเครื่องจะเสอ่ื มไปตามสภาพการขบั ขแี่ ละระยะ เวลาในการใชง้ าน *2. มาตรฐาน SAE แบ่งเกรดของน�ำ้ มันเครอ่ื งตามความหนดื ตรวจสอบระดับน้�ำมันเครอื่ งเปน็ ประจ�ำและเตมิ น�้ำมนั เครอื่ ง *3. การแบง่ ประเภทน�ำ้ มันเครอื่ งตามมาตรฐาน API จะระบุ ทแ่ี นะน�ำถา้ จ�ำเป็น น�ำ้ มันเครื่องท่ีสกปรกหรอื เก่าควรจะเปลยี่ น ใหม่ทนั ทที ่เี ป็นไปได้ ถงึ คณุ ภาพและสมรรถนะของน�้ำมนั เคร่อื ง ขอให้ใช้น�ำ้ มัน การเลือกใชน้ ำ้� มนั เคร่ือง เครือ่ งซงึ่ มรี ะดบั สมรรถนะ SG หรอื สูงกวา่ โดยไม่รวมถึง ส�ำหรับนำ้� มนั เครอ่ื งทแี่ นะน�ำ ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนคิ ” น�้ำมนั ทมี่ ีข้อความประหยดั เชอ้ื เพลงิ อนั ได้แก่ “Energy ในหนา้ 110 Conserving” หรอื “Resource Conserving” ปรากฏอยู่ ถ้าทา่ นใช้น้�ำมนั เครื่องทไี่ ม่ใชข่ องฮอนดา้ ใหต้ รวจสอบป้าย ทสี่ ัญลกั ษณม์ าตรฐาน API บริเวณคร่ึงวงกลมส่วนล่าง ท่ีข้างภาชนะบรรจุนำ้� มนั เพอ่ื ใหแ้ น่ใจว่าน�ำ้ มันเครอื่ งน้นั มี คณุ สมบัตติ รงตามมาตรฐานท้ังหมดดังต่อไปนี้ : ไมแ่ นะน�ำให้ใช้ แนะน�ำให้ใช้ •มาตรฐาน JASO T 903*1 : MA •มาตรฐาน SAE*2 : 10W-30 •การแบง่ ประเภทน้ำ� มันเครื่องตามมาตรฐาน API*3 : SG หรือสงู กว่า 44

น�้ำมันเบรก หลักการเบื้องตน้ ในการบำ�รุงรักษา การบ�ำ รุงรกั ษา ยกเว้น AFS110KDF ถา้ โซ่ขับเคลอ่ื นหมุนตดิ ขัดไมร่ าบรนื่ มเี สียงดงั แปลกๆ เกิด อยา่ เตมิ หรือเปลี่ยนนำ�้ มันเบรกยกเวน้ ในกรณฉี ุกเฉิน ขอให้ ขึ้น มีลกู กลง้ิ เสียหาย มีสลกั หลวม หรือมีข้อต่อบิดงอ ขอให้ ใช้นำ�้ มนั เบรกใหมท่ ี่บรรจอุ ย่ใู นภาชนะที่ปดิ มดิ ชิดเทา่ นน้ั ถา้ ท่านน�ำ รถจกั รยานยนตข์ องทา่ นไปเขา้ รบั บริการตรวจเชค็ โซ-่ ท่านไดเ้ ตมิ น�้ำมนั เบรกเข้าไป ขอใหท้ า่ นน�ำรถจกั รยานยนต์ ขับเคลอ่ื นโดยศนู ย์บริการฮอนดา้ ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คระบบเบรกโดยศนู ย์บริการ ฮอนด้าทนั ทที ่เี ปน็ ไปได้ นอกจากน้ีทา่ นควรตรวจสอบสเตอรห์ น้าและสเตอรห์ ลงั ด้วย ข้อสงั เกต ถ้าหากฟนั สเตอร์สกึ หรอหรอื เสยี หาย ขอใหท้ ่านนำ�รถจกั ร- น้ำ� มันเบรกอาจท�ำใหเ้ กิดความเสยี หายกบั พ้ืนผวิ พลาสตกิ ยานยนตข์ องท่านไปเขา้ รับบริการเปลีย่ นสเตอรใ์ หม่โดยศนู ย์ และพน้ื ผิวที่มกี ารทาสไี ด้ บรกิ ารฮอนด้า เชด็ น�้ำมันเบรกทีห่ กออกใหห้ มดโดยทนั ทแี ละลา้ งด้วยน�้ำ ใหส้ ะอาด ปกติ สึกหรอ เสียหาย (ด)ี (เปลีย่ นใหม)่ (เปล่ยี นใหม)่ น้�ำมันเบรกทแี่ นะน�ำ : น�้ำมันเบรกฮอนดา้ DOT 3 หรือ DOT 4 หรือเทียบเทา่ ข้อสงั เกต โซข่ ับเคลือ่ น การใช้โซเ่ ส้นใหมก่ บั สเตอรท์ ี่สึกหรออาจท�ำใหโ้ ซ่สกึ หรอ ท่านจ�ำเป็นตอ้ งตรวจสอบและหล่อล่นื โซข่ บั เคล่ือนเป็นประจ�ำ อย่างรวดเรว็ ได้ ตรวจสอบโซ่ขับเคล่อื นให้บ่อยขน้ึ ถ้าทา่ นมกั จะขบั ขี่ไปบน สภาพถนนท่ไี มด่ ี ขับขดี่ ว้ ยความเรว็ สงู หรอื ขับข่โี ดยเรง่ เครือ่ ง 45 อยา่ งรวดเรว็ อย่บู อ่ ยคร้ัง หนา้ 72

การบ�ำ รุงรกั ษา หลกั การเบ้อื งตน้ ในการบำ�รงุ รกั ษา อย่าใชน้ ำ้� มันเบนซนิ หรือตัวท�ำละลายทม่ี ีจดุ วาบไฟต่�ำ ในการท�ำความสะอาดโซ่ขบั เคลือ่ น การท�ำความสะอาดและการหล่อลน่ื อาจเกดิ ไฟไหมห้ รอื ระเบิดได้ หลงั การตรวจสอบความตงึ หยอ่ นของโซข่ ับเคลื่อน ใหท้ �ำ หลกี เลย่ี งอยา่ ให้สารหล่อล่นื หยดลงบนเบรกหรือยาง ความสะอาดโซ่ขบั เคลือ่ น สเตอรห์ นา้ และสเตอรห์ ลงั หลีกเล่ยี งอยา่ ใชส้ ารหล่อล่นื โซ่ขบั เคลือ่ นมากเกินไป เพื่อ พรอ้ มกบั หมนุ ลอ้ หลงั ตามไปดว้ ย ปอ้ งกันไมใ่ หส้ ารหล่อล่ืนส่วนเกนิ กระเด็นตดิ เสอ้ื ผา้ ของ ใช้ผ้าแหง้ ชุบตัวท�ำละลายท่มี ีจุดวาบไฟสงู ในการท�ำความ ทา่ นและรถจักรยานยนตไ์ ด้ สะอาดโซ่ขับเคลื่อน ใชแ้ ปรงขนนมุ่ ท�ำความสะอาดหากโซข่ ับเคล่ือนสกปรก หลังการท�ำความสะอาด เช็ดใหแ้ หง้ และหล่อล่นื โซข่ ับ เคล่อื นด้วยสารหล่อลืน่ ทแี่ นะน�ำ สารหลอ่ ลืน่ ท่ีแนะน�ำ : สารหลอ่ ล่นื โซ่ขับเคล่อื น แต่หากไม่สามารถหาได้กข็ อใหท้ ่านใช้น้�ำมันเครอ่ื ง SAE 80 หรอื 90 46

ท่อระบายเรือนไสก้ รองอากาศ หลกั การเบ้ืองต้นในการบำ�รงุ รกั ษา การบ�ำ รุงรกั ษา ควรรับบริการใหบ้ อ่ ยขึน้ เมอื่ ขับขีใ่ นขณะฝนตก ขับขี่ ดว้ ยความเร็วสงู หรอื หลงั จากล้างรถหรือรถล้ม ควรรบั การตรวจสอบความเสยี หาย บรกิ ารเมอื่ ระดับเขมา่ สะสมในทอ่ ระบายมมี ากจนสามารถ ตรวจสอบยางว่ามรี อยฉีกขาด มองเหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจน รอยแยก หรือรอยแตก จนสามารถ ถา้ ทอ่ ระบายเรอื นเคร่ืองยนต์มนี ้ำ� มันเครื่องลน้ ออกมา มองเหน็ โครงสรา้ งของช้ันผา้ ใบ ไส้กรองอากาศอาจปนเปอ้ื นไปด้วยน�้ำมันเครื่อง ซึ่งจะ หรือเสน้ ลวด หรอื มีตะปหู รอื วตั ถุ ท�ำใหป้ ระสทิ ธิภาพในการท�ำงานของเคร่อื งยนตต์ ำ่� แปลกปลอมอื่นๆ ติดฝงั ในด้าน หนา้ 78 ข้างของยางหรอื ดอกยางหรือไม่ ตรวจสอบดดู ว้ ยวา่ ยางมรี อยบวมหรอื สว่ นทีน่ ูนออกมา จากบรเิ วณแก้มยางหรือไม่ ยาง (การตรวจสอบ/การเปลีย่ น) การตรวจสอบการสึกหรอผิดปกติ การตรวจเช็คแรงดนั ลมยาง ตรวจสอบสภาพของยางวา่ มอี าการ ตรวจสอบสภาพของยางดว้ ยสายตาและใชเ้ กจวดั แรง- สกึ หรอผิดปกตทิ ี่บริเวณหน้ายางที่ ดันลมยางเพอื่ วดั แรงดนั ลมยางอย่างน้อยทส่ี ุดเดือนละ สัมผสั พน้ื ผิวถนนหรือไม่ คร้ังหรอื เมอ่ื ใดก็ตามทที่ า่ นเหน็ ว่ายางออ่ น ตรวจเช็ค แรงดนั ลมยางเสมอในขณะท่ยี างเยน็ 47

การบ�ำ รุงรกั ษา หลักการเบ้ืองตน้ ในการบ�ำ รุงรกั ษา คำ�เตอื น การขบั ข่รี ถจักรยานยนตท์ ี่มสี ภาพยางสกึ หรอ การตรวจสอบความสกึ ของดอกยาง มากหรือเตมิ ลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อใหเ้ กดิ ตรวจสอบต�ำแหนง่ ความสึกของดอกยาง ถ้าสามารถ อบุ ัตเิ หตุ เช่น การชนหรอื รถล้ม ซ่ึงทา่ นอาจ มองเหน็ ได้ชดั เจนใหเ้ ปลยี่ นยางใหมท่ นั ที ไดร้ บั บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสยี ชีวติ ได้ หรอื T.W.I. ปฏิบัตติ ามค�ำแนะน�ำทัง้ หมดในคู่มอื การใชง้ าน เลม่ นีเ้ กีย่ วกบั การเติมลมยางและการบ�ำรงุ รกั ษา จุดสังเกตความสกึ ของดอกยาง ยาง 48

กรณุ าน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเขา้ รับบริการเปลีย่ น หลักการเบ้อื งต้นในการบำ�รงุ รกั ษา การบ�ำ รุงรกั ษา ยางโดยศูนย์บริการฮอนด้า ส�ำหรับยางและแรงดันลม- ยางท่ีแนะน�ำให้ดูไดจ้ าก “ขอ้ มลู ทางเทคนิค” หนา้ 110 คำ�เตอื น เม่ือใดก็ตามท่ที ่านเปลีย่ นยางให้ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ การประกอบยางท่ไี ม่เหมาะสมเข้ากบั รถจกั รยานยนต์ ดังต่อไปนี้ ของท่าน อาจมีผลเสียต่อการบังคบั รถและการทรงตวั • ใชย้ างท่ีแนะน�ำหรือยางเทยี บเทา่ ซ่ึงมีขนาดยาง โครง- ของรถได้ และสิ่งนเี้ องอาจก่อใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตเุ ช่น การ ชนหรอื รถลม้ ซึ่งทา่ นอาจไดร้ ับบาดเจ็บสาหัสหรอื ถงึ สรา้ งของยาง อัตราความเรว็ สูงสดุ ทีย่ างรบั ได้ และ แกเ่ สยี ชวี ิตได้ ความสามารถในการรับน้�ำหนกั เหมอื นกับยางดง้ั เดิม ของท่าน ใช้ยางใหถ้ กู ต้องตามชนิดและขนาดของยางตามท่ีได้ • พงึ ระลึกไวเ้ สมอว่าควรเปล่ียนยางในใหมเ่ มอ่ื ใดกต็ าม แนะน�ำไว้ในคูม่ อื การใชง้ านเล่มนี้เสมอ ทท่ี า่ นเปลีย่ นยางนอก เนอ่ื งจากยางในเส้นเก่าอาจ จะเสียรูปแล้ว และหากทา่ นน�ำ ไปประกอบเขา้ กับยาง- นอกเสน้ ใหมอ่ าจมผี ลเสยี กับการทรงตวั ของรถได้ 49

การบ�ำ รุงรกั ษา หลกั การเบอื้ งตน้ ในการบำ�รุงรกั ษา ไสก้ รองอากาศ รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีไสก้ รองอากาศเปน็ แบบกระดาษ เปยี ก การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการท�ำ ความ สะอาดด้วยวธิ กี ารอนื่ ใด จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของไส้- กรองอากาศแบบกระดาษเปยี กลดลง และทำ�ใหม้ ฝี ุ่น เข้าไปด้านในได้ อย่าท�ำ การบำ�รงุ รักษาใดๆ กบั ไสก้ รองอากาศ การบริการไสก้ รองอากาศควรกระทำ�โดยศูนยบ์ ริการ ฮอนดา้ 50

ชดุ เคร่ืองมอื ประจ�ำ รถ การบ�ำ รุงรกั ษา ชุดเครอ่ื งมือประจำ�รถจดั เกบ็ อยู่ในช่องเก็บของอเนก- ประสงค์ หนา้ 34 ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับแตง่ เล็กๆ นอ้ ยๆ และเปล่ียนชนิ้ ส่วนไดโ้ ดยใช้เคร่ืองมอื ท่อี ยู่ในชดุ เคร่ืองมอื น้ี ยกเวน้ AFS110KDF • ประแจปากตาย 10 x 14 มม. • ไขควงแบน/ไขควงแฉก • ดา้ มไขควง • ประแจขันหวั เทียน AFS110KDF • ไขควงแบน/ไขควงแฉก • ดา้ มไขควง 51

การถอดและการประกอบสว่ นประกอบตวั ถงั แบตเตอรี่ สกรู ขวั้ ลบแบตเตอรี่ ฝาปิดแบตเตอร่ี สกรู สกรู ข้วั บวกแบตเตอร่ี แบตเตอรี่ การบ�ำ รุงรกั ษา 52

การถอด การถอดและการประกอบสว่ นประกอบตวั ถัง แบตเตอร่ี การบ�ำ รุงรกั ษา ตอ้ งแน่ใจว่าสวทิ ช์จุดระเบิดอยู่ท่ีตำ�แหน่ง OFF 1. เปิดเบาะนัง่ ขน้ึ หน้า 33 การประกอบ 2. ถอดฝาปิดแบตเตอรโี่ ดยการถอดสกรอู อก ประกอบชิน้ ส่วนตา่ งๆ โดยทำ�ยอ้ นลำ�ดับข้นั ตอนการ 3. ปลดข้วั ลบ - แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอร่ี ถอด ต่อขั้วบวก + แบตเตอรีก่ ่อนเสมอ ต้องแน่ใจว่า 4. ปลดข้ัวบวก + แบตเตอรอ่ี อกจากแบตเตอร่ี โบ้ลทแ์ ละนอ๊ ตต่างๆ ขนั แนน่ อยู่ 5. ถอดแบตเตอรี่ออก และระวงั อยา่ ทำ�นอ๊ ตยึดข้วั สาย ส�ำ หรบั การจดั การกับแบตเตอรี่ทเี่ หมาะสม ให้ดูไดจ้ าก “หลักการเบื้องตน้ ในการบำ�รุงรกั ษา” หน้า 41 หลน่ “แบตเตอรีเ่ สอื่ มสภาพ” ดหู นา้ 90 53

การถอดและการประกอบสว่ นประกอบตวั ถงั เรอื นไฟหนา้ การถอด 1. ดงึ ยางหุ้มกระจกมองหลังขึ้นดา้ นบน เรอื นไฟหนา้ 2. คลายนอ๊ ตลอ๊ คโดยการหมนุ ตามเข็มนาฬกิ า 3. คลายกระจกมองหลังออกจนสุดเกลียวโดยหมุนตาม การบ�ำ รุงรกั ษา กระจกมองหลงั น๊อตล๊อค ยางหุ้มกระจกมองหลงั เข็มนาฬิกาเพื่อถอดกระจกมองหลงั ออก 4. คลายโบล้ ท์ข้อต่อกระจกมองหลังแล้วจงึ ถอดออก น๊อตล๊อค โบล้ ท์ขอ้ ต่อ โบล้ ทข์ อ้ ต่อ กระจกมองหลัง กระจกมองหลงั 54

การถอดและการประกอบส่วนประกอบตวั ถงั เรอื นไฟหนา้ ฝาครอบแฮนดต์ วั บน โบล้ ท์ เรือนไฟหนา้ เดอื ย A เดอื ย A ฝาครอบแฮนด์ สกรู A ดา้ นหลงั สกรู A สกรู B การบ�ำ รุงรกั ษา ขั้วตอ่ สายไฟ 5. ถอดสกรู A 6. ถอดฝาครอบแฮนด์ตวั บนออก สกรู C สกรู A 7. ถอดสกรู B สกรู C และโบล้ ท์ 8. ปลดเดือย A ออกโดยการกดฝาครอบแฮนดด์ า้ นหลัง ลง 9. ถอดเรือนไฟหนา้ จากนนั้ ปลดขวั้ ตอ่ สายไฟออก 55

การบ�ำ รุงรกั ษา การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถงั เรือนไฟหน้า 1. ประกอบโบ้ลท์ขอ้ ต่อกระจกมองหลัง 2. ประกอบกระจกมองหลงั โดยการหมุนทวนเข็มนาฬกิ า การประกอบ ประกอบชิ้นส่วนโดยท�ำ ยอ้ นลำ�ดับข้ันตอนการถอด จนกระทัง่ สดุ ต้องแน่ใจว่าเข้ียวล๊อคและเดือย B ทีเ่ รือนไฟหนา้ 3. คลายเกลียวกระจกมองหลงั ออกประมาณ 2 รอบ ประกอบเข้าไปในรอ่ งและยางรองของเรอื นไฟหน้าพอดี 4. ปรบั ตั้งกระจกมองหลังใหไ้ ดร้ ะดับที่ตอ้ งการ การประกอบกระจกมองหลัง 5. ขนั น๊อตล๊อคให้แน่นและดึงยางหุม้ กระจกมองหลงั เดือย B ปดิ ไวต้ ามเดิม เข้ยี วลอ๊ ค ยางรอง ร่อง 56

หัวเทียน การตรวจเชค็ หวั เทียน การบ�ำ รุงรกั ษา สำ�หรบั หัวเทียนที่แนะนำ� ให้ดูได้จาก “ขอ้ มลู ทางเทคนคิ ” หน้า 110 ใช้หวั เทียนชนิดทแี่ นะน�ำ ไวเ้ ทา่ นน้ั ซึ่งมเี บอรห์ วั เทยี นตาม ท่ีไดแ้ นะน�ำ ไว้ ข้อสังเกต การใช้หวั เทียนผิดเบอร์อาจท�ำใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ เครือ่ งยนต์ได้ 1. ปลดปลกั๊ หวั เทยี นออกจากหวั เทียน ปลกั๊ หวั เทียน 2. ทำ�ความสะอาดเอาส่งิ สกปรกออกจากรอบๆ ฐาน 4. เชค็ สภาพของเขยี้ วและข้วั แกนกลางวา่ มคี ราบเขมา่ หวั เทียน สะสมหรอื สกึ หรอหรอื ไม่ 3. ถอดหัวเทยี นออกดว้ ยประแจขันหวั เทยี น ถ้าสกึ หรอหรือมคี ราบเขม่าสะสมมากควรเปล่ยี น หัวเทียนใหม่ ทำ�ความสะอาดเขม่าหรอื สงิ่ สกปรกโดยใชท้ ล่ี า้ ง หัวเทียนหรอื แปรงลวด 57

การบ�ำ รุงรกั ษา หัวเทียน การตรวจเช็คหวั เทียน • ถา้ ใชห้ วั เทียนใหม่ ใหข้ ันหวั เทยี น 2 ครงั้ เพอ่ื ป้องกนั 5. เชค็ ระยะหา่ งของเขี้ยวหวั เทยี นโดยใช้ฟิลเลอรเ์ กจชนิดท่ี การคลาย : เปน็ ลวด ก) ในคร้ังแรก, ใหข้ นั หัวเทยี น : ถ้าจำ�เปน็ จะตอ้ งปรบั ตั้งให้คอ่ ยๆ ดดั เขี้ยวหัวเทยี น NGK : 1/4 รอบหลังจากหวั เทียนเข้าทแี่ ล้ว DENSO : 3/4 รอบหลงั จากหวั เทียนเข้าทแ่ี ลว้ ระยะห่างเขีย้ วหัวเทยี น : ข) จากนนั้ ใหค้ ลายหัวเทียนออก 0.8-0.9 มม. (0.03-0.04 นว้ิ ) ค) ขันหวั เทียนอีกครัง้ : NGK : 1/6 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าทแ่ี ล้ว เขี้ยวหวั เทยี น DENSO : 1/8 รอบหลงั จากหวั เทยี นเข้าทีแ่ ล้ว ระยะห่างเข้ียวหวั เทียน ขอ้ สังเกต การขันหัวเทยี นอย่างไม่ถูกตอ้ งเหมาะสมอาจท�ำให้เครอ่ื ง- 6. ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่าแหวนรองหัวเทียนอยู่ในสภาพทีด่ ี ยนต์เสียหายได้ ถา้ หวั เทียนหลวมเกินไปลูกสูบอาจได้รบั 7. ใส่หวั เทยี นเขา้ กบั ฝาสบู โดยใชม้ อื หมุนนำ�เขา้ ไปก่อนใหส้ ุด ความเสยี หายได้ และถา้ หากหวั เทยี นแนน่ เกินไป เกลียว ของหัวเทียนอาจไดร้ ับความเสียหายได้ เกลียวเพ่ือปอ้ งกนั เกลยี วหัวเทียนเสยี หาย 9. ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนล�ำ ดบั ขนั้ ตอนการถอด 8. ขันหวั เทียน : เมื่อประกอบปลกั๊ หัวเทียนเขา้ กบั หวั เทียน ระวังอย่าท�ำ • ถา้ หัวเทยี นเก่าอยใู่ นสภาพทด่ี ี : ใหส้ ายเคเบิลหรอื สายไฟใดๆ บิดงอ NGK : 1/6 รอบหลังจากหวั เทยี นเขา้ ท่แี ล้ว DENSO : 1/8 รอบหลงั จากหัวเทียนเขา้ ทแี่ ล้ว 58

น้ำ� มันเครอื่ ง ขีดบอกระดับสงู สดุ การบ�ำ รุงรกั ษา ขดี บอกระดบั ต่ำ� สดุ การตรวจเชค็ น�้ำมันเคร่อื ง 1. ถ้าเคร่อื งยนต์เยน็ ปลอ่ ยให้เครอ่ื งยนต์เดนิ เบาเป็น ฝาปดิ ช่องเตมิ น้�ำมันเคร่อื ง/กา้ นวัด เวลา 3-5 นาที 59 2. หมนุ สวทิ ชจ์ ดุ ระเบดิ ไปท่ีต�ำแหนง่ OFF และรอเป็น เวลา 2-3 นาที 3. ตง้ั รถจกั รยานยนต์ดว้ ยขาตง้ั กลางบนพ้ืนทม่ี ่นั คง แข็งแรงและมรี ะดับเสมอกัน 4. ถอดฝาปดิ ช่องเติมนำ้� มนั เครื่อง/ก้านวัดออก และเช็ด น้�ำมันออกจากกา้ นวัด 5. ใส่ฝาปดิ ชอ่ งเตมิ นำ้� มันเครือ่ ง/กา้ นวดั กลับเข้าทแ่ี ต่ ยงั ไม่ต้องขนั เกลียว 6. ตรวจสอบระดับน้�ำมันเครือ่ งว่าอยรู่ ะหว่างขีดบอก ระดบั สงู สุดและขีดบอกระดบั ต�่ำสุดบนฝาปดิ ช่องเติม น้�ำมนั เคร่ือง/กา้ นวัดหรอื ไม่ 7. ประกอบฝาปดิ ช่องเตมิ นำ�้ มันเครื่อง/กา้ นวัดกลบั เข้า ที่เดมิ ใหแ้ น่นหนา

น�้ำมันเครือ่ ง การเติมน�้ำมันเครอ่ื ง การเติมน�้ำมันเคร่อื ง ขอ้ สงั เกต การเติมน้�ำมันเคร่ืองจนลน้ หรือติดเคร่ืองยนต์ในขณะท่ี ถ้าหากระดับน�้ำมนั เคร่อื งอยู่ตำ่� กว่าหรอื ใกลถ้ ึงขีดบอก มนี ำ�้ มนั เคร่ืองไม่เพยี งพออาจท�ำให้เกิดความเสียหาย ระดบั ตำ่� สุด ให้เตมิ นำ�้ มนั เคร่อื งท่ีแนะน�ำ หน้า 44, 110 แกเ่ คร่อื งยนตข์ องท่านได้ อย่าน�ำนำ�้ มนั เคร่ืองตา่ งยหี่ อ้ การบ�ำ รุงรกั ษา 1. ถอดฝาปิดช่องเตมิ น�ำ้ มันเครอ่ื ง/กา้ นวดั ออก เตมิ นำ้� มัน และต่างเกรดมาผสมกันเพราะอาจมีผลกระทบตอ่ การ เครอ่ื งทแ่ี นะน�ำจนกระท่งั ถึงขีดบอกระดับสงู สดุ ตงั้ รถจกั รยานยนต์ดว้ ยขาตง้ั กลางบนพ้ืนทมี่ ่นั คง หลอ่ ลน่ื และการท�ำงานของคลทั ชไ์ ด้ แข็งแรงและมีระดับเสมอกนั เม่อื ท�ำการตรวจเช็ค ระดับนำ�้ มนั เคร่อื ง ส�ำหรับน�้ำมนั เครอ่ื งทแ่ี นะน�ำและค�ำแนะน�ำในการเลอื ก อย่าเติมน้ำ� มนั เครือ่ งจนเกนิ กวา่ ขีดบอกระดบั สงู สุด ใชน้ ้�ำมนั เคร่อื ง ใหด้ ูได้จาก “หลกั การเบื้องตน้ ในการ ตอ้ งแนใ่ จวา่ ไมม่ ีสงิ่ แปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง บ�ำรงุ รกั ษา” หนา้ 44 การเปล่ียนน�ำ้ มนั เครือ่ ง เตมิ นำ�้ มนั เครอื่ ง การเปลย่ี นนำ�้ มันเครอื่ งจ�ำเป็นต้องใชเ้ คร่ืองมอื พเิ ศษ เช็ดน้�ำมันทหี่ กให้แหง้ ทนั ที ทางบรษิ ทั ฯ ขอแนะน�ำให้ท่านน�ำรถจกั รยานยนต์ของ 2. ประกอบฝาปิดช่องเติมนำ้� มนั เคร่ือง/กา้ นวดั กลับเข้า ท่านไปเขา้ รบั บรกิ ารโดยศูนยบ์ ริการฮอนดา้ ท่เี ดมิ ให้แน่นหนา 1. ถา้ เครื่องยนต์เย็น ปลอ่ ยใหเ้ คร่อื งยนตเ์ ดินเบาเปน็ เวลา 3-5 นาที 2. หมนุ สวิทชจ์ ุดระเบิดไปทตี่ �ำแหนง่ OFF และรอเปน็ เวลา 2-3 นาที 60

3. ต้งั รถจกั รยานยนต์ดว้ ยขาตงั้ กลางบนพืน้ ท่ีมั่นคง น้ำ� มนั เคร่ือง การเปล่ยี นน้�ำมันเคร่ือง การบ�ำ รุงรกั ษา แขง็ แรงและมีระดับเสมอกัน 6. ประกอบแหวนรองกันรว่ั อนั ใหมเ่ ข้ากบั โบ้ลท์ถ่ายนำ้� มัน 4. วางถาดรองรับน�้ำมนั ไวใ้ ต้โบล้ ทถ์ า่ ยน�ำ้ มันเครอื่ ง เครอ่ื ง ขันโบล้ ท์ถ่ายน�้ำมนั เครอื่ งให้แน่น 5. ถอดฝาปิดช่องเตมิ น�้ำมนั เครื่อง/ก้านวดั โบล้ ท์ถ่าย อตั ราการขนั แน่น : 24 นิวตนั -เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟตุ -ปอนด)์ นำ้� มันเครื่อง และแหวนรองกันร่ัวออกเพอ่ื ทีจ่ ะถ่าย น้ำ� มนั เครื่อง 7. เติมน�้ำมนั เครื่องท่แี นะน�ำ (หน้า 44, 110) และ น�ำนำ้� มันเคร่อื งไปก�ำจดั ทศี่ นู ยร์ ีไซเคลิ ทไ่ี ด้รับการ ประกอบฝาปิดชอ่ งเตมิ นำ�้ มนั เครือ่ ง/ก้านวัด รบั รอง นำ�้ มนั เคร่ืองทีก่ �ำหนด เมอ่ื เปลยี่ นน้�ำมันเครื่อง : 0.8 ลติ ร 8. ตรวจเช็คระดับนำ้� มันเครอื่ ง หน้า 59 9. ตรวจสอบดวู ่าไม่มีน�ำ้ มนั เคร่อื งรั่วซึม โบ้ลท์ถา่ ยนำ้� มนั เคร่อื ง แหวนรองกนั รัว่ 61

การบ�ำ รุงรกั ษา เบรก กระปกุ นำ�้ มันเบรกหนา้ การตรวจเช็คน้�ำมันเบรกหน้า ขดี บอกระดบั ต่ำ� (LOWER) ยกเว้น AFS110KDF 1. ตัง้ รถจกั รยานยนต์ใหต้ รงบนพน้ื ทมี่ ่นั คงแข็งแรงและ มรี ะดับเสมอกนั 2. ตรวจเชค็ ว่ากระปกุ น�้ำมันเบรกหน้าอยู่ในแนวขนาน กบั พ้นื และระดับน้ำ� มนั เบรกอยเู่ หนอื ต�ำแหนง่ ขดี บอก ระดับต�่ำ (LOWER) หรือไม่ ถ้าหากระดบั นำ้� มนั เบรกในกระปกุ น�ำ้ มนั เบรกหนา้ อยู่ ในระดับต�ำ่ กว่าขดี บอกระดบั ต่�ำ (LOWER) หรือถ้าหาก ระยะฟรีของคันเบรกมากเกนิ ไป ใหต้ รวจสอบการสกึ หรอ ของผ้าดสิ กเ์ บรก ถ้าผา้ ดสิ กเ์ บรกยงั ไมส่ ึกหรอ เปน็ ไปได้ มากทส่ี ุดว่าท่านอาจจะก�ำลงั มปี ญั หาการรว่ั ซึมในระบบ เบรก ดังน้นั ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนตข์ องทา่ นไป เขา้ รับการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า 62

การตรวจสอบผา้ ดสิ ก์เบรกหนา้ เบรก การตรวจสอบผา้ ดสิ ก์เบรกหนา้ ยกเว้น AFS110KDF ผา้ ดิสกเ์ บรก ตรวจเชค็ สภาพของรอ่ งแสดงการสกึ หรอของผา้ ดิสก์เบรก ทา่ นจ�ำ เป็นตอ้ งเปล่ียนผ้าดิสก์เบรกใหม่ ถ้าหากผ้าดสิ ก-์ ร่องแสดงการสกึ หรอ การบ�ำ รุงรกั ษา เบรกสกึ หรอจนถึงรอ่ งแสดงการสึกหรอ ของผ้าดสิ กเ์ บรก 1. ตรวจเช็คผ้าดิสกเ์ บรกจากดา้ นล่างของคาร์ลิปเปอร์ จานดิสกเ์ บรก เบรก ถ้าจ�ำเปน็ ขอใหท้ ่านน�ำรถจกั รยานยนต์ของท่านไปเข้า รบั บริการเปล่ียนผา้ ดิสกเ์ บรกใหม่โดยศูนยบ์ รกิ ารฮอนด้า เปลีย่ นผา้ ดสิ ก์เบรกทั้งดา้ นขวาและดา้ นซ้ายใหมพ่ รอ้ มๆ กันเสมอ 63

การบ�ำ รุงรกั ษา เบรก การตรวจสอบระยะฟรคี ันเบรกหนา้ ตรวจเช็คสายเบรกว่าสกึ หรอหรือตดิ ขดั หรือไม่ ถ้าจ�ำเปน็ ให้เปลย่ี นสายเบรกใหม่โดยศูนย์บรกิ ารฮอนด้า การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหน้า หลอ่ ลนื่ สายเบรกด้วยสารหลอ่ ล่นื สายเคเบิลทส่ี ามารถ หาซ้ือไดท้ ่ัวไป เพอ่ื ป้องกันการสึกหรอเรว็ กว่าก�ำหนด AFS110KDF ต้องแนใ่ จว่าขาเบรก สปรงิ และตวั ยดึ ตา่ งๆ อยใู่ นสภาพ 1. จอดรถจกั รยานยนต์ด้วยขาต้งั กลางบนพื้นทีม่ นั่ คง ท่ีดี แขง็ แรงและมรี ะดับเสมอกนั 2. วดั ระยะทค่ี นั เบรกหนา้ เคลอื่ นทไี่ ปจนเบรกเร่มิ ท�ำงาน ระยะฟรีที่ปลายของคันเบรกหน้า : 10 - 20 มม. (0.4 - 0.8 น้ิว) ระยะฟรี 64

เบรก การปรบั ต้งั ระยะฟรคี นั เบรกหนา้ การปรบั ตงั้ ระยะฟรีคันเบรกหนา้ นอ๊ ตปรบั ตงั้ เบรกหนา้ การบ�ำ รุงรกั ษา ลดระยะฟรี AFS110KDF ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหน้าในขณะท่จี ดั ต�ำแหนง่ ของ สลกั ขาเบรก ล้อหนา้ ของรถให้มุ่งตรงไปข้างหน้า ตอ้ งแน่ใจวา่ รอยตัดของนอ๊ ตปรบั ตั้งเบรกหน้าลงร่อง บนสลกั ขาเบรกหลังจากปรบั ตง้ั ระยะฟรเี บรก น๊อตปรับตัง้ เบรกหนา้ สลกั ขาเบรก เพ่ิมระยะฟรี หากท่านปรบั ตัง้ ดว้ ยวิธดี งั กลา่ วแล้วไมไ่ ด้ผลใหท้ า่ นน�ำ 1. ปรับตงั้ โดยการหมุนนอ๊ ตปรับตงั้ เบรกหนา้ ทีละครึ่ง รถไปตรวจเช็คที่ศนู ย์บรกิ ารฮอนดา้ รอบในแต่ละคร้งั ของการหมนุ 2. บีบคนั เบรกหน้าหลายๆ คร้งั แลว้ ตรวจสอบการหมุน ฟรขี องล้อเมือ่ ปล่อยคนั เบรกหนา้ 3. ดันขาเบรกหนา้ เขา้ ไปเพ่ือใหแ้ น่ใจวา่ มชี อ่ งว่างระหว่าง นอ๊ ตปรบั ต้งั เบรกหนา้ กบั สลักขาเบรก 65

เบรก การตรวจสอบระยะฟรีคนั เบรกหลัง การตรวจสอบระยะฟรคี นั เบรกหลัง ขาเบรกหลงั 1. จอดรถจักรยานยนต์ด้วยขาตง้ั กลางบนพ้นื ที่มน่ั คง ดันเขา้ ไป แข็งแรงและมีระดับเสมอกนั 2. วดั ระยะจากจดุ ปกติของคนั เบรกหลงั เคลื่อนที่ไป การบ�ำ รุงรกั ษา สลกั ขาเบรก จนเบรกเริม่ ท�ำงาน น๊อตปรับตง้ั เบรกหลัง ช่องวา่ ง ระยะฟรที ี่ปลายของคันเบรกหลัง : 20 – 30 มม. (0.8 – 1.2 นิว้ ) หลังการปรบั ตงั้ ระยะฟรี ใหต้ รวจเช็คเพอื่ ยืนยนั ระยะ ฟรขี องคันเบรกหลงั คันเบรกหลัง ตอ้ งแนใ่ จว่าขาเบรก สปริง และตวั ยดึ ตา่ งๆ อยใู่ นสภาพ ท่ดี ี ระยะฟรี ขอ้ สงั เกต ตอ้ งแนใ่ จวา่ กา้ นเบรก ขาเบรก สปริง และตัวยดึ ต่างๆ อยา่ หมนุ นอ๊ ตปรับตั้งเกินขีดจ�ำกดั ในการปรับตัง้ ตามปกติ อยู่ในสภาพทด่ี ี 66

การปรบั ต้งั ระยะฟรคี ันเบรกหลงั เบรก การปรับต้งั ระยะฟรีคันเบรกหลัง ต้องแน่ใจวา่ รอยตดั ของนอ๊ ตปรับตงั้ เบรกหลังลงรอ่ ง บนสลักขาเบรกหลังจากปรบั ต้งั ระยะฟรเี บรก 1. ปรบั ตั้งโดยการหมนุ น๊อตปรบั ตั้งเบรกหลงั ทีละครึ่ง รอบในแตล่ ะคร้ังของการหมนุ น๊อตปรับตงั้ เบรกหลงั สลักขาเบรก การบ�ำ รุงรกั ษา หากท่านปรบั ตั้งด้วยวธิ ีดงั กลา่ วแลว้ ไม่ได้ผลให้ท่านน�ำ ลดระยะฟรี สลักขาเบรก รถไปตรวจเช็คทศี่ นู ยบ์ รกิ ารฮอนดา้ น๊อตปรบั ตง้ั เบรกหลงั เพมิ่ ระยะฟรี 2. กดคนั เบรกหลงั หลายๆ คร้ัง แลว้ ตรวจสอบการหมุน ฟรีของลอ้ เมอื่ ปล่อยคนั เบรกหลัง 67

การบ�ำ รุงรกั ษา เบรก การปรบั ตง้ั ระยะฟรคี นั เบรกหลงั หลงั การปรบั ต้ังระยะฟรี ใหต้ รวจเชค็ เพอื่ ยนื ยันระยะ ฟรขี องคันเบรกหลัง 3. ดันขาเบรกหลังเข้าไปเพอื่ ใหแ้ น่ใจว่ามชี อ่ งวา่ งระหวา่ ง ตอ้ งแน่ใจวา่ กา้ นเบรก ขาเบรก สปริง และตัวยดึ ตา่ งๆ น๊อตปรับตง้ั เบรกหลงั กับสลักขาเบรก อยใู่ นสภาพทีด่ ี ขาเบรกหลัง ขอ้ สังเกต อยา่ หมุนนอ๊ ตปรบั ตง้ั เกนิ ขดี จ�ำกดั ในการปรับตงั้ ตามปกติ ดนั เขา้ ไป น๊อตปรับตัง้ เบรกหลงั สลักขาเบรก ชอ่ งวา่ ง 68

การตรวจสอบการสกึ หรอของผา้ เบรก เบรกหลัง เบรก การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก ลูกศร จานเบรก ยกเวน้ AFS110KDF เบรกหลังจะประกอบดว้ ยเคร่อื งหมายแสดงระดบั การ มาร์คช้รี ะดับ การบ�ำ รุงรกั ษา สกึ หรอของผ้าเบรก AFS110KDF ขาเบรก เบรกหนา้ และเบรกหลงั จะประกอบดว้ ยเครอ่ื งหมาย แสดงระดับการสึกหรอของผา้ เบรก เมอื่ ใช้เบรก ลูกศรท่ีตดิ อยู่บนขาเบรกจะเคลือ่ นทไี่ ปท่ี มาร์คชี้ระดบั บนจานเบรก ถา้ ลูกศรตรงกับมาร์คชีร้ ะดับ เบรกหน้า จานเบรก เมื่อบีบหรอื กดเบรกเตม็ ทจ่ี �ำเป็นจะต้องเปลย่ี นผ้าเบรก ลูกศร ใหม่ ควรเข้าศูนยบ์ รกิ ารฮอนดา้ เพ่ือรับบรกิ ารนี้ มาร์คชร้ี ะดับ เมื่อต้องการบรกิ ารเก่ยี วกับผ้าเบรก ควรไปรบั บรกิ ารท่ี ขาเบรก ศนู ย์บริการฮอนดา้ และควรใชแ้ ตอ่ ะไหล่แทข้ องฮอนด้า หรือเทียบเทา่ 69

การบ�ำ รุงรกั ษา เบรก การปรับต้งั สวทิ ช์ไฟเบรก การปรบั ต้งั สวทิ ชไ์ ฟเบรก เชค็ การท�ำ งานของสวทิ ชไ์ ฟเบรก หมนุ นอ๊ ตปรับตัง้ ตามทิศทางการหมนุ A ถา้ สวิทช์ท�ำ งาน ชา้ เกนิ ไป หรือหมนุ นอ๊ ตปรบั ตงั้ ตามทิศทางการหมนุ B ถา้ สวทิ ชท์ ำ�งานเรว็ เกินไป สวิทชไ์ ฟเบรก น๊อตปรบั ตง้ั 70

ขาต้ังขา้ ง 1. ตรวจเชค็ ว่าขาตงั้ ข้างทำ�งานไดอ้ ย่างราบรืน่ หรือไม่ การบ�ำ รุงรกั ษา การตรวจเช็คขาตง้ั ขา้ ง ถา้ ขาตั้งขา้ งฝืดหรือมีเสียงดัง ให้ทำ�ความสะอาดบรเิ วณ จุดหมนุ ขาต้งั ขา้ งและหล่อล่ืนโบล้ ท์ยดึ จดุ หมนุ ด้วย สปรงิ ขาต้ังขา้ ง จาระบีท่ีสะอาด 2. เชค็ ความเสียหายหรอื การเสียความยืดหยนุ่ ของสปรงิ ขาตั้งข้าง 71

โซ่ขบั เคล่อื น การบ�ำ รุงรกั ษา การตรวจเชค็ ความตึงหย่อนของโซ่ขบั เคลือ่ น เช็คความตึงหย่อนของโซข่ ับเคลอื่ นหลายๆ จุดตลอดแนว โซ่ ถา้ โซ่มีความตึงหย่อนไม่สม่�ำเสมอในทกุ จดุ ขอ้ ต่อโซ่ ฝาปิดรูตรวจสอบ บางขอ้ อาจติดขดั และบดิ งอ ขอใหท้ ่านน�ำรถจกั รยานยนต์ของทา่ นไปเขา้ รบั บริการ 3. ถอดฝาปดิ รูตรวจสอบออก ตรวจเชค็ โซ่ขบั เคล่อื นโดยศนู ยบ์ ริการฮอนด้า 1. เข้าเกยี รว์ า่ ง ดบั เครอ่ื งยนต์ 2. ต้ังรถจกั รยานยนตด์ ้วยขาตัง้ กลางบนพื้นทีม่ ั่นคง แขง็ แรงและมรี ะดบั เสมอกนั 72

4. ขยบั โซข่ บั เคลื่อนขึ้นและลงดว้ ยน้ิวมอื ของท่าน โซ่ขบั เคลือ่ น การตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลอื่ น ความตึงหยอ่ นของโซข่ ับเคลอ่ื น : 20 – 30 มม. (0.8 – 1.2 นว้ิ ) 6. ถอดฝาครอบโซโ่ ดยการถอดโบล้ ท์ อย่าขับขี่รถจกั รยานยนต์ของทา่ นถา้ ความตงึ หย่อน ของโซ่มากกวา่ 50 มม. (2.0 นิว้ ) การบ�ำ รุงรกั ษา 5. หมุนล้อหลังและตรวจสอบว่าโซ่ขับเคลือ่ นหมุนไดอ้ ย่าง โบ้ลท์ ฝาครอบโซ่ ราบร่นื หรือไม่ 7. ตรวจสอบสเตอร์หนา้ และสเตอร์หลัง หนา้ 45 8. ทำ�ความสะอาดและหล่อลืน่ โซข่ ับเคล่อื น หนา้ 46 9. ประกอบชนิ้ ส่วนตา่ งๆ โดยท�ำ ย้อนล�ำ ดบั ข้ันตอน การถอด 10. ประกอบฝาครอบโซ่และขนั โบ้ลท์ใหแ้ น่น อตั ราการขันแนน่ : 7 นวิ ตนั -เมตร (0.7 กก.-ม., 5.2 ฟตุ -ปอนด)์ 73

โซข่ ับเคลอ่ื น การปรบั ตัง้ ความตึงหยอ่ นของโซ่ขบั เคลื่อน นอ๊ ตยึดเพลาล้อหลัง ขีดเครือ่ งหมาย น๊อตปรับตง้ั บนสวงิ อาร์ม การปรับตั้งความตึงหยอ่ นของโซ่ขบั เคล่ือน การบ�ำ รุงรกั ษา การปรบั ตัง้ ความตงึ หยอ่ นของโซข่ บั เคลื่อนจำ�เป็นตอ้ ง น๊อตลอ๊ ค ตวั ปรบั ตงั้ โซ่ ใชเ้ คร่ืองมอื พเิ ศษ ขอแนะน�ำให้ทา่ นน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเขา้ รบั ขดี เคร่ืองหมายบนสวงิ อาร์ม บรกิ ารปรับตั้งความตงึ หยอ่ นของโซ่ขับเคล่ือนโดยศูนย์ บริการฮอนดา้ น๊อตปรบั ตั้ง 1. เข้าเกียร์ว่าง ดบั เครื่องยนต์ 2. ต้งั รถจกั รยานยนต์ดว้ ยขาตัง้ กลางบนพื้นท่ีมนั่ คง แข็งแรงและมีระดบั เสมอกัน 3. ถอดฝาปดิ รตู รวจสอบออก หนา้ 72 4. คลายนอ๊ ตยึดเพลาลอ้ หลังออก 5. คลายนอ๊ ตล๊อคท่อี ยบู่ นตัวปรับตั้งโซ่ทง้ั สองตัวออก นอ๊ ตลอ๊ ค ตัวปรบั ตงั้ โซ่ 74

6. หมุนนอ๊ ตปรับตงั้ ทั้งสองข้างใหไ้ ดจ้ �ำ นวนรอบท่ีเทา่ กัน โซ่ขับเคลอ่ื น การปรับตง้ั ความตึงหย่อนของโซ่ขบั เคลอ่ื น การบ�ำ รุงรกั ษา จนกว่าจะได้ความตงึ หย่อนของโซ่ทเ่ี หมาะสม หมนุ น๊อตปรบั ตง้ั ตามเขม็ นาฬิกาเพื่อท�ำ ให้โซ่ตงึ หมนุ นอ๊ ต 8. ขันน๊อตยึดเพลาลอ้ หลังให้แนน่ ปรับต้งั ทวนเข็มนาฬกิ าและดันลอ้ หลงั ไปข้างหนา้ อตั ราการขนั แนน่ : เพ่อื ทำ�ให้โซ่หยอ่ น 59 นวิ ตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟตุ -ปอนด์) ปรับตง้ั ความตงึ หยอ่ นของโซ่ขับเคล่อื นที่จุดก่ึงกลาง ระหวา่ งสเตอร์หนา้ และสเตอรห์ ลงั 9. ยึดน๊อตปรับตั้งไวแ้ ละขนั นอ๊ ตล๊อคใหแ้ นน่ ตรวจเชค็ ความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลอ่ื น หน้า 72 10. ตรวจเชค็ ความตึงหยอ่ นของโซอ่ กี คร้งั 11. ในขณะที่ทา่ นขยบั ลอ้ หลังเพือ่ ปรบั ตง้ั ความตงึ หย่อน 7. ตรวจศูนยข์ องเพลาล้อหลงั โดยเชค็ ใหม้ นั่ ใจวา่ ส่วน ปลายของตัวปรับตั้งโซ่อย่ใู นแนวเดยี วกบั ขีดเครื่อง- ของโซ่นั้น การกระท�ำ ดังกลา่ วจะมผี ลต่อระยะฟรี หมายบนสวงิ อาร์มท้งั 2 ด้าน ของคนั เบรกหลัง ดังน้นั จึงควรเช็คระยะฟรคี นั เบรก ทงั้ ด้านซ้ายและด้านขวาควรจะตรงกัน ถ้าเพลาไม่ หลงั และปรับต้ังถา้ จ�ำ เป็น หน้า 66 ไดศ้ นู ยใ์ ห้หมนุ น๊อตปรับตั้งดา้ นซ้ายหรือดา้ นขวาจน 12. ประกอบฝาปดิ รตู รวจสอบกลับเข้าที่ กว่าสว่ นปลายของตวั ปรบั ตั้งโซจ่ ะอยู่ในแนวเดยี วกับ ขีดเครื่องหมายบนสวงิ อารม์ และเชค็ ความตึงหยอ่ น ถา้ ไมไ่ ด้ใชป้ ระแจปอนดใ์ นการประกอบ ควรน�ำ รถเขา้ ของโซ่อกี ครัง้ ศูนยบ์ รกิ ารฮอนดา้ ทันทที ีเ่ ปน็ ไปไดเ้ พ่อื ตรวจเช็คอตั รา การขันแน่นและความถกู ต้องของการประกอบ การประกอบท่ไี ม่ถกู ต้องอาจท�ำ ให้สูญเสยี ประสิทธภิ าพ ในการเบรกได้ 75

การบ�ำ รุงรกั ษา โซข่ ับเคล่อื น การปรบั ตง้ั ความตงึ หย่อนของโซ่ขบั เคลอ่ื น การตรวจสอบความสึกหรอของโซ่ขบั เคลื่อน ถา้ ความตงึ หยอ่ นของโซม่ ากเกนิ ปกตเิ มอ่ื เพลาลอ้ หลงั เลอื่ นไปจนสุดระยะการปรับตง้ั แล้วแสดงว่าโซ่สกึ หรอ มากและตอ้ งเปลี่ยนใหม่ โซท่ ีแ่ นะน�ำ : DID420AD2 RK420SL KMC420JB ถ้าจ�ำเป็น ขอให้ทา่ นน�ำรถจกั รยานยนตข์ องท่านไปเข้ารบั บรกิ ารเปลย่ี นโซข่ ับเคลอ่ื นใหมโ่ ดยศูนย์บริการฮอนด้า 76

คนั เร่ง การบ�ำ รุงรกั ษา การตรวจเช็คคันเรง่ ในขณะที่ดับเคร่ืองยนต์ ตรวจสอบว่าปลอกคนั เร่งหมนุ ได้อยา่ งราบร่ืนจากตำ�แหนง่ ปดิ สดุ ถงึ ต�ำ แหนง่ เปิดสดุ และในทกุ ตำ�แหนง่ การเลย้ี ว รวมท้ังระยะฟรีคันเรง่ มี คา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ถ้าคันเร่งหมุนไม่คลอ่ งตวั ไมค่ ืนกลบั โดยอตั โนมัติ หรอื ถ้าสายคนั เรง่ เสยี หาย ขอใหท้ า่ นนำ� รถจักรยานยนตข์ องท่านไปเข้ารบั บริการตรวจเชค็ โดย ศูนย์บรกิ ารฮอนดา้ ระยะฟรที ี่รมิ ขอบของปลอกคนั เรง่ : 2 – 6 มม. (0.1 – 0.2 น้วิ ) ระยะฟรี รมิ ขอบของปลอกคันเรง่ 77

การบ�ำ รุงรกั ษา ท่อระบายเรือนไสก้ รองอากาศ การท�ำ ความสะอาดท่อระบายเรอื นไส้กรองอากาศ 1. วางภาชนะท่เี หมาะสมไว้ใตท้ ่อระบายเรือนไส้กรอง- อากาศ 2. ถอดท่อระบายเรอื นไส้กรองอากาศและเทเขม่าสะสม ออก 3. ประกอบท่อระบายเรอื นไส้กรองอากาศ ทอ่ ระบายเรือนไสก้ รองอากาศ 78

การปรบั ตงั้ อื่นๆ การบ�ำ รุงรกั ษา การปรับตงั้ ระดบั ไฟหน้า ทา่ นสามารถปรับตง้ั ระดบั ไฟหน้าในแนวดิง่ เพือ่ ให้ไฟหน้า อยูใ่ นระดับทเี่ หมาะสม สามารถเลื่อนไฟหน้าขน้ึ ลงโดย คลายโบ้ลท์ปรบั ต้งั ขันโบ้ลท์ปรับตงั้ ใหแ้ น่นหลังจากปรับตงั้ เรยี บรอ้ ยแล้ว ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎขอ้ บงั คบั ท่กี ำ�หนด ไฟหน้า ขน้ึ ลง โบล้ ท์ปรบั ตงั้ 79

การแกไ้ ขปญั หาข้อขดั ขอ้ ง เครอ่ื งยนตส์ ตารท์ ไม่ติด ............................หน้า 81 การท�ำงานของเครอื่ งยนตท์ ่ีไมส่ มำ่� เสมอ สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ตดิ .......................... หนา้ 82 เกิดขน้ึ เป็นครั้งคราว................................ หนา้ 97 สญั ญาณไฟ PGM-FI................................ หนา้ 82 ยางร่ัว.......................................................หนา้ 83 การซอ่ มและการเปลี่ยนยางใน.................. หน้า 83 ปัญหาระบบไฟฟ้า................................... หนา้ 90 แบตเตอร่เี สอ่ื มสภาพ................................ หน้า 90 หลอดไฟขาด............................................ หน้า 90 ฟวิ สข์ าด.................................................. หนา้ 96

เคร่อื งยนตส์ ตารท์ ไมต่ ดิ ถา้ ปญั หายงั คงมอี ยู่ ขอใหท้ ่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า AFS110MCF/MSF มอเตอร์สตารท์ ทำ�งาน แต่เครอ่ื งยนตส์ ตารท์ ไมต่ ิด AFS110KSF/KDF ตรวจเช็ครายการดงั ต่อไปนี้ : เครือ่ งยนต์สตารท์ ไมต่ ดิ • ตรวจเช็คข้นั ตอนการสตาร์ทเครอ่ื งยนต์ว่าถกู ต้องหรอื ไม่ ตรวจเชค็ รายการดงั ตอ่ ไปนี้ : • ตรวจเช็คขัน้ ตอนการสตาร์ทเครือ่ งยนตว์ า่ ถูกต้องหรือไม่ หนา้ 26 • ตรวจเชค็ ว่ามนี �้ำมนั เช้อื เพลิงอย่ใู นถังน�ำ้ มนั เชอ้ื เพลิงหรือ หนา้ 26 • ตรวจเช็ควา่ มีนำ้� มันเชือ้ เพลงิ อยูใ่ นถงั น�ำ้ มนั เชื้อเพลงิ หรือ ไม่ • ตรวจเชค็ ว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่ ไม่ • ตรวจเชค็ ว่าฟวิ ส์ขาดหรือไม่ หนา้ 96 ถ้าสัญญาณไฟตดิ ขอใหต้ ดิ ตอ่ ศนู ย์บริการฮอนดา้ ทนั ที • ตรวจเช็คว่าการเช่ือมตอ่ แบตเตอรหี่ ลวมหรอื เกดิ สนิมท่ขี ั้ว ท่เี ป็นไปได้ AFS110MCF/MSF แบตเตอรห่ี รือไม่ หน้า 41, 52 มอเตอร์สตาร์ทไมท่ �ำ งาน • ตรวจเชค็ สภาพของแบตเตอร่ี หน้า 90 ตรวจเชค็ รายการดังต่อไปนี้ : ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอใหท้ า่ นน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน • ตรวจเช็คข้นั ตอนการสตารท์ เครอื่ งยนตว์ า่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ไปเขา้ รับบรกิ ารตรวจเชค็ โดยศนู ย์บริการฮอนด้า หนา้ 26 • ตรวจเช็คว่าฟิวสข์ าดหรอื ไม่ หนา้ 96 81 • ตรวจเช็คว่าการเชอื่ มต่อแบตเตอรห่ี ลวมหรอื เกิดสนมิ ทข่ี วั้ แบตเตอร่หี รือไม่ หนา้ 41, 52 • ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 90

การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ถสา้ ญั สญั าญณาไณฟไเฟตอื “-น”ตกา่�ำ งลๆงั กตะิดพรบิ อยู่ในหนา้ จอแสดงต�ำ แหนง่ เกยี รข์ ณะขบั ข่ี สัญญาณไฟ PGM-FI ถ้าสญั ญาณไฟติดข้นึ ในขณะขับข่ี ทา่ นอาจมีปัญหา ร้ายแรงเกยี่ วกับระบบ PGM-FI ดงั น้นั ขอให้ลดความเร็ว ลงและน�ำ รถจกั รยานยนต์ของท่านไปเข้ารบั บรกิ ารตรวจ- เชค็ โดยศนู ย์บริการฮอนดา้ ทนั ทที เ่ี ปน็ ไปได้ 82

ยางร่ัว การซ่อมรรู ัว่ ของยางหรอื การถอดล้อจ�ำ เป็นตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งมือ คำ�เตอื น การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง พเิ ศษและมคี วามช�ำ นาญดา้ นเทคนิคดว้ ย ทางบริษัทฯ ขอ การขับขีร่ ถจกั รยานยนตโ์ ดยท่ียางนอกหรอื ยางใน แนะน�ำ ให้ทา่ นน�ำ รถจักรยานยนตข์ องทา่ นไปเข้ารับบรกิ าร ไดร้ ับการซอ่ มแซมไว้ชว่ั คราวน้นั มคี วามเสี่ยงสูง ดังกล่าวโดยศนู ย์บริการฮอนดา้ มากทจ่ี ะก่อใหเ้ กดิ อบุ ัตเิ หตุ และถา้ หากการซอ่ มแซม หลงั จากการซอ่ มแซมในกรณีฉุกเฉนิ แล้ว ทา่ นควรจะน�ำ รถ ช่ัวคราวนั้นไม่ไดผ้ ลอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อุบัติเหตุ เชน่ จกั รยานยนตข์ องท่านไปเข้ารบั บริการตรวจสอบยาง/เปลย่ี น การชนหรอื รถลม้ ซง่ึ ท่านอาจได้รบั บาดเจ็บสาหสั ยางใหมโ่ ดยศนู ยบ์ รกิ ารฮอนด้าเสมอ หรือถงึ แกเ่ สยี ชวี ิตได้ การซ่อมและการเปลย่ี นยางใน ถา้ ท่านตอ้ งขับขีร่ ถจกั รยานยนตโ์ ดยท่ยี างนอกหรือ ยางในไดร้ บั การซอ่ มแซมไว้ชัว่ คราว ทา่ นควรจะ ถ้ายางในถูกเจาะหรอื เสยี หาย ท่านควรจะเปล่ียนยางใหม่ ขบั ขอ่ี ยา่ งช้าๆ และดว้ ยความระมดั ระวงั และอย่า ทันทที ี่เป็นไปได้ พงึ ระลึกไวว้ ่ายางในท่ีแกไ้ ขโดยการปะ คุณภาพ ขบั ข่ีด้วยความเร็วเกินกว่า 50 กโิ ลเมตร/ช่วั โมง (30 ของยางจะไมด่ เี ท่ากบั ยางเส้นใหม่และอาจรวั่ หรอื เสียหายใน ไมล์/ช่ัวโมง) จนกว่าท่านจะไดเ้ ปลีย่ นยางนอกหรือ ระหวา่ งการขบั ขไี่ ด้ ยางในใหม่เรียบร้อยแลว้ ถา้ ทา่ นจ�ำเปน็ ตอ้ งซ่อมแซมยางช่ัวคราวโดยการปะยางใน หรอื ฉีดพน่ นำ้� ยากันรัว่ ควรขบั ข่ีด้วยความระมัดระวงั ด้วยความ การถอดล้อ เร็วทต่ี ่ำ� กว่าปกติ และท�ำการเปล่ียนยางในกอ่ นท่จี ะขับข่ีใน ปฏิบัติตามข้ันตอนเหล่านี้ถ้าทา่ นจ�ำ เป็นตอ้ งถอดลอ้ ออกเพื่อ คร้ังตอ่ ไป ทีจ่ ะซ่อมรรู ว่ั ของยาง ทุกครัง้ ท่ีท�ำการเปลี่ยนยางในใหม่ ควรตรวจสอบยางนอก ดว้ ยความระมดั ระวงั ตามท่ีไดอ้ ธิบายไว้ 83

ยางรัว่ การถอดลอ้ นอ๊ ตยึดเพลาล้อหน้า การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ลอ้ หน้า เดอื ยล๊อค ยกเว้น AFS110KDF การถอด สายมาตรวดั ความเรว็ 1. ตงั้ รถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพน้ื ท่ีมั่นคง แขง็ แรงและมรี ะดับเสมอกัน เพลาล้อหนา้ 2. ตัง้ รถจกั รยานยนต์ให้ม่นั คงและยกล้อหน้าใหล้ อย ข้นึ จากพนื้ โดยใชข้ าตั้งที่ใชใ้ นงานบริการหรือแมแ่ รง 3. ถอดสายมาตรวัดความเร็วโดยปลดเดือยล๊อค 4. ถอดนอ๊ ตยึดเพลาลอ้ หนา้ ออก 5. ถอดเพลาลอ้ หน้า ล้อหน้า กระปกุ เฟอื งวัดความเร็ว และปลอกรองขา้ งลอ้ หนา้ ออก หลีกเลี่ยงอย่าใหม้ จี าระบี น้ำ� มนั หรือสง่ิ สกปรกตดิ อยบู่ นผิวหน้าของจานดสิ ก์เบรกหรอื ผา้ ดิสกเ์ บรก หา้ มบีบคนั เบรกหน้าในระหว่างที่ได้ถอดลอ้ หนา้ ออกแลว้ 84

การประกอบ ยางรั่ว การถอดลอ้ การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง 1. ประกอบปลอกรองข้างลอ้ หนา้ และกระปุกเฟืองวดั ความ 5. หลงั จากประกอบลอ้ แล้วบบี คันเบรกหน้าหลายๆ คร้งั จาก เร็วเข้ากับลอ้ น้นั เช็คการหมุนฟรขี องลอ้ เมอื่ ปลอ่ ยคันเบรกหนา้ ตรวจ 2. จัดวางลอ้ หน้าเขา้ ไปอยรู่ ะหวา่ งแกนโชค๊ อพั ทงั้ สองดา้ น เช็คอีกคร้ังถา้ เบรกลน่ื หรอื ลอ้ ไม่หมนุ ฟรี 6. ประกอบสายมาตรวัดความเร็วกลบั เข้าทีเ่ ดิมใหแ้ น่นหนา และสอดเพลาล้อหน้าเข้าไปจากทางด้านขวาโดยให้ผา่ น แกนโชค๊ อัพด้านขวาและดุมลอ้ กระปกุ เฟอื งวดั ความเรว็ ขอ้ สงั เกต เดือย เม่อื ประกอบลอ้ หรือคารล์ ิปเปอรเ์ บรกกลับคืนตำ�แหนง่ รอ่ ง ให้สอดจานดิสกเ์ บรกเขา้ ไประหว่างผ้าดสิ ก์เบรกทง้ั คู่ อยา่ งระมดั ระวัง เพอ่ื หลีกเลีย่ งไมใ่ ห้เกดิ ความเสยี หาย ถ้าไม่ได้ใชป้ ระแจปอนดใ์ นการประกอบ ควรนำ�รถเข้าศูนย์ กบั ชน้ิ สว่ นดังกลา่ ว บรกิ ารฮอนดา้ ทนั ทที เี่ ป็นไปได้เพ่ือตรวจเช็คอตั ราการขันแน่น และความถูกต้องของการประกอบ 3. ตอ้ งแนใ่ จว่าเดอื ยที่แกนโชค๊ อัพด้านซ้ายลงร่องของกระปกุ การประกอบท่ไี มถ่ ูกต้องอาจทำ�ให้สญู เสียประสทิ ธภิ าพใน เฟืองวัดความเรว็ พอดี การเบรกได้ 4. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหนา้ ให้แน่น 85 อัตราการขันแน่น : 59 นิวตนั -เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟตุ -ปอนด์)

การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ยางร่วั การถอดลอ้ ขาเบรกหนา้ น๊อตยึดเพลาลอ้ หนา้ สายมาตรวดั ความเรว็ น๊อตปรบั ตง้ั ล้อหนา้ เบรกหนา้ AFS110KDF เดือยลอ๊ ค การถอด สายเบรกหน้า 1. ตงั้ รถจักรยานยนตด์ ว้ ยขาตัง้ กลางบนพน้ื ทม่ี ่ันคง เพลาลอ้ หนา้ แข็งแรงและมีระดับเสมอกนั 2. ตงั้ รถจกั รยานยนต์ให้ม่ันคงและยกลอ้ หนา้ ใหล้ อย ขน้ึ จากพ้นื โดยใช้ขาต้ังที่ใชใ้ นงานบริการหรอื แมแ่ รง 3. ถอดสายมาตรวดั ความเร็วโดยปลดเดือยลอ๊ ค 4. ถอดน๊อตปรบั ตั้งเบรกหนา้ และปลดสายเบรกหน้า ออกจากขาเบรกหนา้ 5. ถอดน๊อตยึดเพลาล้อหนา้ ออก 6. ถอดเพลาลอ้ หนา้ ลอ้ หนา้ และปลอกรองขา้ งล้อหนา้ ออก 86

การประกอบ จานเบรก ยางรั่ว การถอดลอ้ 1. ประกอบปลอกรองขา้ งลอ้ หน้าเขา้ กับลอ้ 2. จดั วางลอ้ หนา้ เข้าไปอยรู่ ะหวา่ งแกนโชค๊ อัพท้งั สองด้าน เดอื ย ร่อง และสอดเพลาลอ้ หน้าเขา้ ไปจากทางด้านขวาโดยใหผ้ า่ น แกนโช๊คอพั ด้านขวาและดุมล้อ การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง 3. ต้องแน่ใจว่าเดอื ยทีแ่ กนโช๊คอพั ดา้ นซ้ายลงรอ่ งของจาน- เบรกพอดี ถา้ ไมไ่ ด้ใชป้ ระแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้าศูนย์ 4. ขันนอ๊ ตยดึ เพลาลอ้ หนา้ ใหแ้ นน่ บริการฮอนด้าทันทที ี่เปน็ ไปได้เพื่อตรวจเช็คอัตราการขนั แน่น และความถูกต้องของการประกอบ อัตราการขนั แนน่ : การประกอบที่ไมถ่ ูกต้องอาจทำ�ใหส้ ูญเสียประสทิ ธภิ าพใน 59 นิวตนั -เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟตุ -ปอนด์) การเบรกได้ 5. ประกอบสายมาตรวดั ความเร็วกลบั เขา้ ที่เดิมใหแ้ น่นหนา 6. ประกอบสายเบรกหนา้ และนอ๊ ตปรับตง้ั เบรกหน้า 7. ปรบั ต้งั ระยะฟรคี ันเบรกหนา้ หนา้ 65 8. หลังจากประกอบล้อแล้วบีบคนั เบรกหนา้ หลายๆ คร้งั จากนน้ั เชค็ การหมุนฟรีของล้อเมอ่ื ปลอ่ ยคนั เบรกหน้า ตรวจเช็คอกี คร้งั ถ้าเบรกลื่นหรือล้อไมห่ มุนฟรี 87

ยางร่ัว การถอดล้อ น๊อตปรับต้งั ตวั ปรับตัง้ โซ่ นอ๊ ตลอ๊ ค นอ๊ ตยึดเพลาล้อหลงั ล้อหลงั ขาเบรกหลัง กา้ นเบรก การถอด การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง 1. ต้ังรถจกั รยานยนต์ให้ม่ันคงและยกลอ้ หลังให้ลอยขน้ึ ขายึดจาน เบรกหลัง จากพ้นื โดยใช้ขาตัง้ กลางหรือแม่แรง 2. ถอดฝาครอบโซอ่ อก หนา้ 73 นอ๊ ตปรบั ตั้ง ป๊นิ ลอ๊ ค 3. ถอดนอ๊ ตปรับตั้งเบรกหลัง เบรกหลัง น๊อตยดึ ขายดึ จานเบรกหลัง 4. ปลดก้านเบรกออกจากขาเบรกหลงั 5. ปลดขายดึ จานเบรกหลังออกจากจานเบรกโดยถอด 7. ถอดน๊อตยดึ เพลาล้อหลงั ในขณะทยี่ ดึ เพลาลอ้ หลงั ซึง่ อยู่อีกดา้ นหนึ่งไว้ดว้ ยประแจ ปิ๊นลอ๊ ค นอ๊ ตยึดขายึดจานเบรกหลัง แหวนรอง และ ยางรองออก 8. ถอดโซข่ ับเคล่อื นออกจากสเตอร์หลงั โดยการดันล้อ 6. คลายน๊อตลอ๊ คและนอ๊ ตปรับตัง้ ทอี่ ยบู่ นสวิงอารม์ ท้ัง หลงั ไปขา้ งหนา้ สองดา้ นออก 9. ถอดเพลาล้อหลงั ตัวปรบั ตั้งโซ่ ปลอกรองข้างล้อหลัง และล้อหลงั ออกจากสวงิ อาร์ม 88

ตัวปรบั ตัง้ โซ่ ยางรั่ว การถอดลอ้ นอ๊ ตลอ๊ ค 5. ปรบั ตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง หนา้ 67 6. ขันนอ๊ ตยดึ เพลาล้อหลังใหแ้ นน่ เพลาลอ้ หลงั อัตราการขันแนน่ : โซ่ขับเคลอ่ื น 59 นวิ ตนั -เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟตุ -ปอนด์) การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง 7. หลงั การประกอบล้อใหก้ ดคนั เบรกหลังลงหลายๆ คร้ัง น๊อตปรับตั้ง จากน้นั เช็คการหมุนฟรีของลอ้ เมอ่ื ปล่อยคนั เบรกหลัง ตรวจเช็คล้ออีกครัง้ ถา้ เบรกลืน่ หรอื ลอ้ ไม่หมุนฟรี การประกอบ 8. ประกอบฝาครอบโซก่ ลบั เขา้ ที่ หน้า 73 1. การประกอบลอ้ หลงั ใหท้ �ำ ยอ้ นลำ�ดบั ข้ันตอนการถอด 2. ประกอบขายดึ จานเบรกหลังและขนั น๊อตยึดขายดึ จาน- ถา้ ไม่ได้ใช้ประแจปอนดใ์ นการประกอบ ควรนำ�รถเข้าศนู ย์ บริการฮอนดา้ ทนั ทที ี่เปน็ ไปได้เพ่อื ตรวจเช็คอตั ราการขนั แน่น เบรกหลังให้แน่น และความถกู ตอ้ งของการประกอบ อตั ราการขันแนน่ : การประกอบทไี่ มถ่ กู ต้องอาจทำ�ใหส้ ูญเสียประสิทธภิ าพใน 22 นวิ ตนั -เมตร (2.2 กก.-ม., 16 ฟตุ -ปอนด)์ การเบรกได้ ป๊นิ ลอ๊ คท่ใี ช้แล้วอาจจะไมส่ ามารถยดึ ตวั ยดึ ไดอ้ ยา่ งแน่นหนา 3. ต่อก้านเบรกเขา้ กบั ขาเบรกหลัง ดงั นั้นทุกครัง้ ท่ีบริการควรเปลี่ยนปิน๊ ล๊อคอันใหม่เสมอ 4. ปรับตัง้ ความตึงหยอ่ นของโซ่ขับเคลือ่ น หนา้ 74 89

การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ปญั หาระบบไฟฟา้ หลอดไฟขาด แบตเตอรี่เสือ่ มสภาพ ปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนด้านลา่ งนีเ้ พอื่ ท่ีจะทำ�การเปล่ยี น ชาร์จแบตเตอรโี่ ดยใช้เคร่อื งชาร์จแบตเตอรส่ี ำ�หรบั รถ หลอดไฟท่ขี าด จักรยานยนต์ หมนุ สวทิ ชจ์ ุดระเบดิ ไปทต่ี �ำ แหน่ง OFF หรอื ต�ำ แหน่ง ถอดแบตเตอร่ีออกจากรถจกั รยานยนต์ก่อนการชาร์จ LOCK แบตเตอรี่ ปล่อยให้หลอดไฟเยน็ ลงกอ่ นที่จะเปล่ียนหลอดไฟ ห้ามใช้เคร่ืองชาร์จแบตเตอรีร่ ถยนต์ เนอ่ื งจากจะทำ�ให้ อย่าใช้หลอดไฟทีผ่ ดิ ไปจากมาตรฐานท่ีกำ�หนด เกดิ ความร้อนสูงเกินไปในแบตเตอรส่ี �ำ หรับรถจกั รยาน- ตรวจเช็ควา่ หลอดไฟทนี่ �ำ มาเปลย่ี นทดแทนน้นั ทำ�งาน ยนต์ และอาจทำ�ให้แบตเตอร่เี กดิ ความเสียหายถาวรได้ ได้อย่างถกู ตอ้ งหรือไม่กอ่ นท่ที ่านจะขับขี่รถจักรยานยนต์ ถ้าแบตเตอรไ่ี มส่ ามารถฟน้ื ฟูสภาพใหน้ ำ�กลับมาใช้งาน ไดห้ ลงั จากการชาร์จแบตเตอร่ี โปรดติดต่อศนู ยบ์ รกิ าร สำ�หรับจ�ำ นวนวตั ต์ของหลอดไฟ ใหด้ ูไดจ้ าก “ขอ้ มลู ฮอนดา้ ทางเทคนิค” หนา้ 111 ขอ้ สงั เกต ไมแ่ นะนำ�ให้ใชว้ ธิ ีการพ่วงสตารท์ โดยใชแ้ บตเตอร่ี ส�ำ หรับรถยนต์ เนื่องจากอาจทำ�ใหเ้ กิดความเสียหาย กับระบบไฟฟ้าในรถจกั รยานยนต์ของทา่ นได ้ 90

หลอดไฟหน้า ปญั หาระบบไฟฟา้ หลอดไฟขาด การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง หลอดไฟ 1. ถอดเรอื นไฟหน้าออก หนา้ 54 เครือ่ งหมาย “TOP” 2. ดึงฝาครอบกนั ฝุ่นออก 3. คอ่ ยๆ กดขั้วหลอดไฟและหมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า ฝาครอบกันฝุ่น 4. ถอดข้วั หลอดไฟและหลอดไฟออก ขั้วหลอดไฟ 5. ประกอบหลอดไฟหลอดใหมแ่ ละช้ินส่วนต่างๆ โดย ท�ำ ยอ้ นล�ำ ดบั ขัน้ ตอนการถอด ประกอบฝาครอบกันฝุ่นโดยให้ดา้ นทมี่ เี ครอื่ งหมาย “TOP” หนั ข้ึน อย่าสัมผสั ผวิ แกว้ ของหลอดไฟดว้ ยนิ้วมือของทา่ น ถ้า ทา่ นสัมผัสกับหลอดไฟด้วยมือเปล่า ใหใ้ ชส้ �ำ ลีชุบแอล- กอฮอล์เช็ดทำ�ความสะอาดบริเวณท่ีเป็นรอยน้ิวมอื 91

ปญั หาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด เครือ่ งหมาย 4. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่และชิน้ สว่ นต่างๆ โดย ทำ�ย้อนลำ�ดบั ขนั้ ตอนการถอด หลอดไฟหร่ี ประกอบขั้วหลอดไฟโดยหมุนตามเข็มนาฬกิ า ตอ้ ง ยกเวน้ AFS110KDF แน่ใจวา่ เครื่องหมาย “ ” ทข่ี ้วั หลอดไฟและท่ี เรือนไฟหร่ีตรงกัน หลอดไฟ การแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง ขว้ั หลอดไฟ 1. ถอดเรือนไฟหนา้ ออก หนา้ 54 2. หมนุ ข้ัวหลอดไฟทวนเขม็ นาฬิกาแล้วจึงถอดออก 3. ดึงหลอดไฟออกโดยไมต่ ้องหมุน 92


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook