Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันอาสาฬหบูชา24 ก.ค. 2564

วันอาสาฬหบูชา24 ก.ค. 2564

Published by Sunee Kladpaer, 2021-07-24 02:18:43

Description: วันอาสาฬหบูชา24 ก.ค. 2564

Search

Read the Text Version

วันอาสาฬหบูชา 2564 ประวัตคิ วามเปน็ มา ความสาคัญ และธรรมเนียมปฏบิ ัติ วนั เสารท์ ่ี 24 กรกฎาคม พ.ศ.2564 วนั อาสาฬหบชู า พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงแสดงธรรมเป็นครง้ั แรก

ประวัติวนั อาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา เป็นวนั สำคัญวนั หน่ึงของพระพุทธ ศำสนำ ตรงกับวันเพญ็ ข้ึน 15 ค่ำ เดอื น 8 ในสมัยพุทธกำลมี เหตุกำรณส์ ำคัญเกิดขนึ้ 4 ประกำร ดังตอ่ ไปน้ี 1. เปน็ วนั ทพี่ ระบรมศาสดาทรงแสดงพระธรรม เทศนาเปน็ ครงั้ แรก แก่ปญั จวคั คีย์ท้งั 5 รูป ทป่ี ่ำอสิ ปิ ตน มฤคทำยวนั ใกล้เมืองพำรำณสี 2. เปน็ วันที่พระบรมศาสดาทรงได้พระสาวกองค์ แรก คอื ท่ำนโกญฑญั ญะได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดำบนั องค์ แรก

วนั อาสาฬหบชู า พระอญั ญาโกญฑัญญะเป็นพระสงฆ์รปู แรกในพระพุทธศาสนา 3. เป็นวันท่มี ีพระสงฆเ์ กิดขนึ้ เป็นรูปแรก คือ พระอญั ญำโกญฑญั ญะ ภำยหลังจำกท่ไี ดบ้ รรลุธรรมเปน็ พระ โสดำบนั แลว้ ก็ไดท้ ูลขออปุ สมบท พระพทุ ธองค์ทรงประทำน กำรอปุ สมบท ยกข้ึนเปน็ พระภิกษรุ ูปแรกในพระพทุ ธศำสนำ

4. เปน็ วันเกดิ ขน้ึ ของพระรัตนตรัย คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ครบเปน็ ครง้ั แรก โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงเมอื่ มี พระสงฆเ์ กดิ ขนึ้ เป็นพยำนในกำรตรัสรูธ้ รรม ควำมเป็นพระ สัมมำสมั พุทธเจ้ำของพระพทุ ธองค์กค็ รบถ้วนบรบิ ูรณ์ คือ มใิ ช่ เพียงแคต่ รัสรู้ธรรมเพียงพระองคเ์ ดยี วอยำ่ งพระปัจเจกพทุ ธเจ้ำ วันอาสาฬหบชู าเกิดข้ึนหลังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบรรลุ ธรรมได้ 7 สัปดาห์

ความเปน็ มาของวนั อาสาฬหบูชา ความเป็นมาของวันอาสาฬหบชู านน้ั เริม่ ต้นจำกในครงั้ พุทธกำล หลังจำกพระศำสดำตรัสรูใ้ นวันเพญ็ เดอื น 6 แล้วทรง เสวยวมิ ุตตสิ ขุ คอื ควำมสขุ จำกกำรหลดุ พน้ เป็นเวลำ 7 สัปดำห์ หลังจำกนนั้ ทรงพระปรวิ ิตกวำ่ ธรรมที่พระองค์ตรสั รนู้ ล้ี ึกซงึ้ มำก หมู่สัตวท์ ีย่ งั มีกิเลสหนำยำกทจี่ ะรูเ้ หน็ ตำมได้ ท้ำวสหัมบดี พรหมทรงทรำบควำมปริวติ กของพระองค์ จึงมำทูลอำรำธนำให้ พระพุทธองคท์ รงแสดงธรรม เพรำะสตั ว์ที่มีธุลใี นจกั ษุน้อยยงั มี อยู่ ท้าวสหมั บดพี รหมมาทลู อาราธนาให้พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรง แสดงธรรมโปรดหมูส่ ัตว์

เมอ่ื พระผูม้ พี ระภำคเจ้ำทรงอำศยั พระมหำกรณุ ำในหมู่สัตว์ ผยู้ ังเวียนตำยเวยี นเกิดอยู่ในภพสำม จึงทรงตรวจดหู มู่สัตวด์ ้วย พทุ ธจกั ษุ ทรงเหน็ หมูส่ ัตว์ท่ีมีกิเลสนอ้ ยก็มี มกี ิเลสมำกก็มี มี อนิ ทรยี แ์ ก่กล้ำก็มี มีอินทรียอ์ อ่ นกม็ ี ทส่ี อนง่ำยก็มี สอนยำกกม็ ี เหมอื นดอกบัวท่เี กิดและเจรญิ เตบิ โตในนำ้ บำงพวกกอ็ ยู่ในน้ำ ลึก บำงพวกกอ็ ยูเ่ สมอน้ำ บำงพวกก็พ้นจำกน้ำแล้ว คือ บำง จำพวกยังไม่พรอ้ มที่จะบำน บำงจำพวกก็พร้อมทจี่ ะบำน เชน่ เดียวกนั กบั หมสู่ ัตวท์ พ่ี อสอนได้กม็ ีอยู่ จึงทรงรบั อำรำธนำ ของท้ำวสหัมบดพี รหม เมอ่ื ทำ้ วสหัมบดพี รหมกลบั ไปสู่พรหมโลกแล้ว พระผมู้ ีพระ ภำคเจำ้ กท็ รงดำริว่ำ “เราจะแสดงธรรมแกใ่ ครกอ่ น ใครจะพงึ รู้ ท่วั ถงึ ธรรมนไี้ ดเ้ ร็ว” ทรงดำริต่อวำ่ “อาฬารดาบสและอุทก ดาบส เป็นผ้ฉู ลาดเฉียบแหลม มีกเิ ลสเบาบางมานาน หากได้ฟัง ธรรมก็จะพงึ รู้ท่ัวถงึ ธรรมไดเ้ ร็ว เราควรแสดงธรรมแก่ท่านทั้ง สองก่อน” / ประวัตวิ ันอาสาฬหบูชา

พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงพิจารณาบุคคลท่ีจะรองรบั ธรรม คอื อาฬารดาบสและอทุ กดาบส แตด่ าบสทง้ั สองไดส้ ้นิ ชีพเสยี แล้ว เทวดำตนหนึง่ ทรำบพระดำริของพระผ้มู พี ระภำคเจ้ำ จึง อนั ตรธำนจำกวิมำนมำกรำบทลู พระผู้มพี ระภำคเจ้ำว่ำ ดำบสทั้ง สองนั้นไดส้ น้ิ ชวี ติ แลว้ พระผ้มู พี ระภำคเจำ้ ทรงตรวจดูก็ทรง ทรำบวำ่ ดำบสทั้งสองนั้นสิ้นชพี แลว้ จึงทรงดำรวิ ำ่ “พระดำบส ท้ังสองเป็นผู้ประสบควำมเสือ่ มอย่ำงใหญแ่ ล้ว เพรำะถำ้ เขำได้ ฟงั ธรรมก็จะพงึ รูไ้ ดต้ ลอดท้งั หมดโดยฉับพลนั ” ครั้นแล้ว จึงทรง ดำริถึงปัญจวัคคยี ท์ ัง้ 5 ผ้มู อี ปุ กำระแก่พระองคม์ ำก ไดต้ ำมมำ อปุ ัฏฐำกเมือ่ คร้งั ยงั เป็นพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้ จงึ เสด็จไป โปรด ณ ป่ำอิสปิ ตนมฤคทำยวัน

พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ทรงดาริถงึ ปัญจวคั คยี ์ทัง้ 5 ผมู้ อี ุปการะ แก่พระองคม์ าก ปญั จวัคคียท์ ั้ง 5 ได้เหน็ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าเสด็จมาแต่ ไกล จงึ ไดน้ ัดหมำยกันและกนั วำ่ “ทำ่ นท้งั หลำย พระสมณโค ดมน้ีเปน็ ผมู้ ักมำก คลำยควำมเพียร เวียนมำเพือ่ ควำมเป็นคน มกั มำก กำลงั เสด็จมำ พวกเรำไม่พงึ อภิวำท ไม่พึงลุกข้นึ ต้อนรับ พระองค์ ไมพ่ งึ รับบำตร จีวร ของพระองค์ เพียงแตว่ ำงอำสนะ ไว้ก็พอ ถำ้ พระองคป์ รำรถนำกจ็ ะประทบั นัง่ ” ครนั้ พระผูม้ ีพระภำคเจ้ำเสดจ็ เข้ำไปถงึ ด้วยพุทธำนุภำพจงึ ทำใหเ้ หล่ำปัญจวัคคยี ์นนั้ ไม่ตั้งอยู่ในกตกิ ำของตน ตำ่ งลุกขนึ้ ต้อนรบั พระผู้มพี ระภำคเจำ้ รูปหน่งึ รับบำตร จวี ร ของพระผู้มี พระภำคเจ้ำ รปู หนง่ึ ปอู ำสนะ รปู หนึง่ จดั หำนำ้ ล้ำงพระบำท รูป

หน่งึ วำงต่ังรองพระบำท รูปหน่งึ นำกระเบ้ืองเช็ดพระบำทเขำ้ ไป ถวำย พระผมู้ ีพระภำคเจำ้ ประทับนัง่ บนอำสนะท่ปี ญั จวัคคีย์จดั ถวำย แล้วทรงล้ำงพระบำท หลังจำกดูแลตอ้ นรับพระผู้มีพระ ภำคเจ้ำแล้ว พวกปญั จวัคคียไ์ ด้เรียกพระผมู้ พี ระภำคเจำ้ โดย ระบุพระนำม และใช้คำวำ่ “อำวโุ ส” เมือ่ พวกปัญจวคั คียก์ ล่ำวอย่ำงนนั้ แลว้ พระผู้มีพระภำคเจำ้ ได้ตรัสห้ำมเหล่ำปัญจวคั คีย์ว่ำ “ดูก่อนภกิ ษทุ งั้ หลำย พวกเธอ อย่ำเรียกตถำคตโดยระบุช่อื และอยำ่ ใช้คำวำ่ อำวุโส ดกู ่อนท่ำน ทัง้ หลำย ตถำคตเป็นอรหันต์ ตรสั ร้เู องโดยชอบแล้ว พวกทำ่ น จงเงยี่ โสตสดับ เรำได้บรรลอุ มตธรรมแลว้ เรำจะส่ังสอน จะ แสดงธรรม พวกท่ำนปฏิบัติตำมท่ีเรำสงั่ สอนแล้ว ไม่ชำ้ กจ็ ะทำให้ แจง้ ซงึ่ คณุ อันยอดเยี่ยม อนั เป็นทส่ี ุดแห่งพรหมจรรย์” เม่ือพระผู้มพี ระภำคเจ้ำตรัสอยำ่ งน้แี ล้ว เหล่ำปญั จวคั คยี ์ได้ ทูลค้ำนพระผู้มีพระภำคเจำ้ ว่ำ “อำวุโสโคดม ท่ีผ่ำนมำน้ันท่ำนได้ บำเพ็ญทุกรกิริยำอยำ่ งยิง่ ยวด แต่ก็ยังไมอ่ ำจบรรลุธรรมอัน ประเสริฐ กบ็ ดั น้ที ำ่ นเป็นผูม้ ักมำก คลำยควำมเพียร เวยี นมำ เพื่อควำมเป็นคนมักมำก ไฉนจะบรรลุธรรมเป็นพระสมั มำสัม พทุ ธเจ้ำได้เล่ำ” เมอ่ื พวกปัญจวคั คียก์ รำบทูลอย่ำงนี้แลว้ พระผมู้ พี ระภำค เจ้ำตรสั ว่ำ “ดูกอ่ นภกิ ษุท้ังหลำย ตถำคตไม่ใชเ่ ปน็ คนมกั มำก ไมไ่ ดเ้ ป็นคนคลำยควำมเพียร ไม่ไดเ้ วียนมำเพอ่ื ควำมเป็นคนมัก

มำก ดกู ่อนท่ำนทัง้ หลำย ตถำคตเปน็ อรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกท่ำนจงเง่ยี โสตสดับ เรำได้บรรลุอมตธรรมแลว้ เรำจะส่งั สอน จะแสดงธรรม พวกท่ำนปฏบิ ัติตำมทเ่ี รำสงั่ สอนแล้ว ไมช่ ้ำ ก็จะทำใหแ้ จ้งซ่ึงคณุ อันยอดเยี่ยม อนั เป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์” พระผ้มู ีพระภำคเจ้ำได้ตรัสเชน่ นี้ถึง 3 คร้งั แลว้ พระผู้มพี ระภำค เจ้ำไดต้ รัสต่อไปอกี ว่ำ “ดูก่อนทำ่ นทัง้ หลำย ถอ้ ยคำเชน่ น้เี รำไม่ เคยพูดที่ไหนมำกอ่ น เรำเพงิ่ พดู ในบัดนเ้ี ท่ำน้ัน” / ประวัติวัน อาสาฬหบชู า พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรงแสดงธมั จักรกปั วัตตนสตู ร แกเ่ หลา่ ปัญจวัคคียท์ ัง้ 5 พวกปัญจวคั คีย์ เมื่อได้ฟังถอ้ ยคำยนื ยนั อยำ่ งหนกั แน่น จงึ ยนิ ยอมเชอ่ื ฟังและตง้ั ใจฟงั พระธรรมเทศนำทีพ่ ระผมู้ ีพระภำค

เจ้ำทรงแสดง พระผมู้ ีพระภำคเจ้ำทรงแสดงปฐมเทศนำแก่ปัญจ วคั คยี ์ ตรัสถงึ ข้อปฏิบัติ 2 อยา่ งท่ีบรรพชติ ไม่พึงปฏิบัติ ไดแ้ ก่ 1. กำรประกอบตนให้พัวพนั ดว้ ยกำมสขุ ในกำมทงั้ หลำย เปน็ ธรรมอันเลว เปน็ ของชำวบำ้ น เป็นของปุถุชน ไม่ใชข่ องพระ อริยะ ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์ 2. กำรทรมำนตนเองใหล้ ำบำก สิง่ เหล่ำนไ้ี มใ่ ชข่ อ้ ปฏบิ ัติ ของพระอริยะ ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์ วันอาสาฬหบูชา ทา่ นอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุโสดาปัตตผิ ล และทรงยกยอ่ งทำงสำยกลำง คอื ข้อปฏิบัตทิ ี่ตถำคตได้ ตรสั ร้ดู ว้ ยปัญญำอันยิ่ง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 และ อรยิ สัจ 4 จบพระธรรมเทศนำ ทำ่ นอัญญำโกณฑัญญะได้ดวงตำเหน็ ธรรม บรรลุโสดำปัตติผล เข้ำถงึ พระรัตนตรยั ภำยใน ดว้ ยเหตุนี้ เอง พระรตั นตรัยจึงไดบ้ งั เกดิ ข้นึ ครบถ้วนเป็นครัง้ แรก

วนั อาสาฬหบูชาเปน็ วันเกิดข้ึนของพระรัตนตรัย คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เม่ือพระพุทธองค์ทรงประกำศธรรมจกั รใหเ้ ปน็ ไปแลว้ บรรดำเทวดำทว่ั ทุกช้นั ฟ้ำกบ็ ันลอื เสียง ต้ังแตภ่ มุ มเทวำไปจนถงึ ช้นั พรหมโลกต่ำงชนื่ ชมอนโุ มทนำ ท่วั ทั้งหม่นื โลกธำตุไดไ้ หว สะเทอื นสะทำ้ น ท้ังแสงสว่ำงอันยิ่งใหญ่หำประมำณมไิ ด้ก็สว่ำง รุ่งเรืองไปท่ัว เพรำะอำนุภำพของเหลำ่ เทวดำ เมื่อเรำไดท้ รำบประวัติควำมเปน็ มำของวันอำสำฬหบูชำแล้ว พวกเรำชำวพุทธทุกคนจงึ ควรทำจติ ใหเ้ ลื่อมใสในพระรัตนตรยั และตง้ั ใจประพฤติปฏิบัติธรรมให้เขำ้ ถึงพระรตั นตรัยภำยใน โดยเร็ว ประเพณีนยิ มในวันอาสาฬหบูชา

ปฐมเทศนาในวนั อาสาฬหบชู า วันอำสำฬหบูชำเป็นวันสำคญั ทำงพระพุทธศำสนำ เนอ่ื งจำกเหตกุ ำรณส์ ำคญั ทีเ่ กิดขนึ้ เมือ่ 45 ปี กอ่ นพุทธศักรำช ในวนั ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือ วันเพญ็ เดอื นอำสำฬหะ ณ ป่ำ อสิ ิปตนมฤคทำยวนั เมอื งพำรำณสี อนั เปน็ วนั ท่ีพระพุทธเจ้ำ ทรงแสดงปฐมเทศนำ คอื ธัมมจกั กปั ปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคยี ์ กำรทีป่ ฐมเทศนำนี้ได้รับกำรขนำนนำมวำ่ ธมั มจักกปั ปวตั น สูตรดงั กล่ำว กเ็ นือ่ งด้วยปฐมเทศนำน้ีเปรยี บประดุจธรรมรำช รถ ซ่งึ พระสัมมำสมั พุทธเจำ้ ทรงปรำรถนำจะใช้บรรทกุ สรรพ เวไนยสตั ว์ท้งั หลำยออกจำกห้วงวัฏสงสำรไปสู่แดนเกษม คอื

พระอมตนิพพำน โดยมพี ระพทุ ธองค์ทรงเป็นสำรถี สว่ นประกอบสำคญั ประกำรหนึ่งท่จี ะทำใหร้ ถแลน่ ไปสูท่ ่ีหมำยก็ คือ ลอ้ รถหรอื ทีเ่ รยี กวำ่ จกั ร น่ันเ อง ดังนน้ั ลอ้ แหง่ ธรรมรำช รถจึงไดช้ ื่อวำ่ จกั รธรรม หรอื ธรรมจักร ตำมธรรมดำ “ลอ้ ” หรอื “จกั ร” ย่อมประกอบด้วยสว่ น สำคญั 3 สว่ น คือดมุ กำ และ กง ส่วน “จักรธรรม” น้ี สมเดจ็ พระสมั มำสมั พุทธเจ้ำทรงอุปมำเปรียบโพธิปักขิยธรรมเปน็ ดมุ ปฏิจจสมปุ บำทธรรมเปน็ กำ และอริยสจั 4 เปน็ กง สำระสำคญั ของธัมมจกั กัปปวตั นสูตรน้ี คือ กำรประกำศทำง สำยกลำง (มัชฌิมำปฏิปทำ) ซง่ึ เปน็ ขอ้ ปฏิบตั ิที่ไม่เอียงไปทำงกำม สุขลั ลิกำนุโยค อนั เปน็ กำรประกอบตนแสวงหำควำมสุขจำกกำม คุณทัง้ 5 และไม่เอียงไปทำงอัตตกิลมถำนโุ ยคอันเปน็ กำรทรมำน ตนโดยหำประโยชนม์ ไิ ด้ ซ่ึงข้อปฏบิ ัติทำงสำยกลำง คอื มชั ฌมิ ำปฏิปทำน้ีเป็นข้อปฏิบตั ิอันเป็นไปเพื่อควำมสงบระงับ เพือ่ ควำมรู้ย่ิง เพอื่ ควำมรูด้ เี พ่อื ควำมดบั ตัณหำ เพอ่ื พ้นไปจำก ข้ำศกึ คือ กิเลส เป็นทำงของพระอริยเจำ้ ผลู้ ะจำกสภำวะ ฆรำวำสออกบรรพชำในพระพทุ ธศำสนำแลว้ พงึ ปฏิบัติตำม หนทำงสำยกลำงน้ีเท่ำนน้ั ซงึ่ มัชฌิมำปฏปิ ทำนป้ี ระกอบดว้ ยองค์ 8 คอื สมั มำทฐิ ิ สมั มำสงั กัปปะ สัมมำวำจำ สัมมำกมั มันตะ สมั มำอำชวี ะ สัมมำวำยำมะ สมั มำสติ สัมมำสมำธิ(Meditation) มัชฌมิ ำปฏปิ ทำน้ีเป็นแนวปฏิบตั อิ ันเปน็ ปัจจัยให้เจำ้ ชำยสิทธัต

ถะบรรลพุ ระสัมมำสัมโพธญิ ำณตรัสรู้เป็น พระสัพพัญญพู ทุ ธ เจำ้ และทำให้ประจกั ษแ์ จง้ ในอริยสจั 4 อนั ประกอบดว้ ย 1. ทุกขอริยสจั คือ ทุกข์อย่ำงแทจ้ ริง 2. ทุกขสมทุ ยั อริยสจั คือ เหตุให้เกิดทุกข์อย่ำงแทจ้ รงิ 3. ทุกขนโิ รธอริยสจั คือ ควำมดับทกุ ขอ์ ย่ำงแทจ้ รงิ 4. ทุกขนิโรธคามินีปฏปิ ทาอรยิ สจั คอื ข้อปฏบิ ัติให้ถึง ควำมดบั ทกุ ขอ์ ยำ่ งแทจ้ รงิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook