Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือจัดกิจกรรมค่ายจัดเต็มกับสะเต็มศึกษาศรลมชวนคิดชี้ทิศบอกทาง

คู่มือจัดกิจกรรมค่ายจัดเต็มกับสะเต็มศึกษาศรลมชวนคิดชี้ทิศบอกทาง

Published by palita scisak, 2019-06-24 06:05:45

Description: กิจกรรมค่ายจัดเต็มกับสะเต็มศึกษาศรลมชวนคิดชี้ทิศบอกทาง

Keywords: ศรลม

Search

Read the Text Version

เรอื่ ง ศรลมชวนคดิ ..ช้ีทศิ บอกทาง สแกนเพอ่ื อ่าน E-book ปาลติ า โตศรีสวัสดเิ์ กษม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาสระแก้ว

กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่อง ศรลมชวนคดิ ช้ีทศิ บอกทาง

กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 7 เร่ือง ศรลมชวนคิด ช้ีทิศบอกทาง เวลา 2 ช่วั โมง แนวคิด ลม คือ การเคลื่อนไหวของอากาศจากกบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงอากาศจะลอยตัวสูงข้ึน ในขณะที่ บริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ากว่าอากาศจะไหลเข้ามาแทนที่จึงท่าให้เกิดกระแสลม การเคล่ือนที่ของกระแสลมช้าหรือ เร็ว ย่อมส่งผลกระทบต่อการด่ารงชีวิตของมนุษย์ท้ังนั้น ดังน้ัน ถ้ามีเคร่ืองมือวัดทิศทางลมจะท่าให้มนุษย์ วางแผนปอ้ งกนั อบุ ัติภัยต่าง ๆ ได้ดขี ้ึน วตั ถปุ ระสงค์ เมอื่ สิน้ สุดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู ล้ว ผู้รบั บรกิ ารสามารถ 1. วัดทิศทางลมได้ 2. อธิบายส่วนประกอบเคร่อื งมือวัดทิศทางลมหรอื ศรลม 3. สามารถออกแบบและสร้างศรลมท่มี ีประสทิ ธิผล เน้อื หา 1. การวดั ทศิ ทางลม 2. สว่ นประกอบเครอ่ื งมอื วัดทิศทางลมหรอื ศรลม 3. ออกแบบและสร้างศรลมท่มี ีประสทิ ธิผล

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติกจิ กรรมของผ้รู ับบรกิ าร กิจกรรมการทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง ศรลมชวนคิด ช้ที ิศบอกทาง คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้รับบรกิ ารท่าแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง ศรลมชวนคดิ ชท้ี ิศบอกทาง ซีง่ ข้อสอบทง้ั หมด จ่านวน 5 ข้อ (เมอ่ื ผรู้ ับบริการทา่ แบบทดสอบเสร็จเรยี นรอ้ ยแลว้ ผูร้ ับบรกิ ารสามารถตรวจค่าตอบไดต้ ามเฉลย คา่ ตอบทา้ ยกจิ กรรม) แบบทดสอบก่อนเรยี น คะแนนนท่ีได้..........คะแนน เรอ่ื ง ศรลมชวนคดิ ช้ีทิศบอกทาง คะแนนเต็ม 5 คะแนน คาชี้แจง 1. ให้ผู้รับบริการกาเครือ่ งหมาย x (กากบาท) หน้าขอ้ ท่ีถกู ต้องเพียงขอ้ เดยี ว 2. แบบทดสอบนี้มีขอ้ สอบจ่านวน 5 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน 3. เม่ือผรู้ ับบริการท่าแบบทดสอบเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ผรู้ ับรกิ ารสามารถตรวจค่าตอบได้ตามเฉลย คา่ ตอบท้ายกิจกรรม 1. ศรลม คืออะไร ก. อุปกรณ์วัดทิศทางลม ข. อุปกรณ์วดั ความเรว็ ลม ค. อปุ กรณว์ ดั ความกดอากาศ ง. ความชื้นของอากาศ 2. สว่ นประกอบของศรลมมอี ะไรบ้าง ก. แกนหมุน ข. ฐานตง้ั ศรลม ค. ลกู ศรลม ง. ถกู ทุกข้อ 3. สง่ิ ใดตอ่ ไปน้ที า่ ใหเ้ กดิ ลม ก. ความแตกต่างของแรงดันอากาศ ข. ความแตกต่างของปรมิ าตรอากาศ ค. ความแตกต่างของความชื้นอากาศ ง. ความแตกตา่ งของหย่อมความกดอากาศ 4. จงบอกประโยชน์ของศรลม ก. ใชว้ ดั ตา่ แหนง่ การติดตั้งกังหนั ลมผลติ ไฟฟ้า ข. ใชบ้ อกทิศทางเพือ่ การตากแหง้ การสร้างบ้านให้มีอากาศไหลเวยี นดี ค. ระบบการพยากรณ์อากาศ โดยมกั ใช้รว่ มกบั เครื่อง anemometer ง. ถกู ทุกข้อ 5. ถา้ หัวลกู ศรของศรลมชีไ้ ปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แสดงวา่ ลมพดั มาจากทศิ ใด ก. ตะวันตกเฉียงใต้ ข. ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ค. ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ง. ตะวันออกเฉยี งเหนอื

กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรยี นร้ใู นเร่อื ง ศรลมชวนคิด ช้ีทศิ บอกทาง คาชี้แจง 1. ใหผ้ ู้รบั บริการตอบค่าถาม จ่านวน 3 ประเดน็ ดงั นี้ ประเด็นท่ี 1 “ท่านคิดวา่ มวี ธิ ีสงั เกตลมพดั มาทศิ ทางไหนได้อยา่ งไร” ประเด็นที่ 2 “สว่ นประกอบเครื่องมือวดั ทศิ ทางลมหรือศรลมมีอะไรบ้าง” ประเดน็ ที่ 3 “การออกแบบและสร้างศรลมทมี่ ีประสิทธผิ ลท่าอย่างไร” 2. ใหผ้ ้รู ับบริการและผูจ้ ัดกจิ กรรมสรุปสงิ่ ทีไ่ ด้เรียนรู้จากกิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เรอื่ ง ศรลม ชวนคิดช้ที ิศบอกทางรว่ มกนั เฉลยแนวคาตอบ ประเด็นท่ี 1 “ท่านคดิ วา่ มวี ธิ สี ังเกตลมทพ่ี ัดมาทิศทางไหน ได้อยา่ งไร” วิธีการสังเกตลมทพี่ ดั มานั้น สังเกตไดจ้ ากเส้ือผ้าที่ตากไว้ เสาธง และตน้ ไม้ ประเดน็ ท่ี 2 “ส่วนประกอบเคร่ืองมอื วดั ทิศทางลมหรือศรลมมีอะไรบ้าง” ส่วนประกอบเครื่องมอื วัดทิศทางลมหรือศรลม ได้แก่ ตวั ลูกศร แกนหมนุ ส่วนบอกทิศ และฐานตงั้ ของศรลม ประเดน็ ท่ี 3 “การออกแบบและสรา้ งศรลมทีม่ ีประสทิ ธิผลทา่ อย่างไร” การออกแบบและสรา้ งศรลมท่มี ีประสิทธิผล ต้องออกแบบให้หัวลกู ศรเลก็ กว่าหางลูกศร บอกทิศทางลม มแี กน หมุนอิสระ และมีฐานต้งั ทม่ี ่ันคง กิจกรรมการออกแบบและปฏิบัตกิ ารทาศรลมชวนคิด ช้ีทศิ บอกทาง วัตถปุ ระสงค์ 1. ผ้รู บั บรกิ ารวดั ทิศทางลมได้ 2. รับบรกิ ารสามารถอธิบายส่วนประกอบเคร่ืองมอื วดั ทศิ ทางลมหรอื ศรลม 3. รบั บริการสามารถออกแบบและสร้างศรลมทีม่ ีประสทิ ธผิ ล เน้ือหา 1. การวดั ทศิ ทางลม 2. ส่วนประกอบเครือ่ งมือวัดทศิ ทางลมหรอื ศรลม 3. ออกแบบและสร้างศรลมที่มีประสทิ ธิผล คาช้ีแจง 1. แบ่งผ้รู ับบรกิ ารออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 - 10 คน 2. ให้ผรู้ ับบรกิ ารแตก่ ลุ่มตามขอ้ 1 ปฏิบัติตามใบกิจกรรมของผู้รับบรกิ ารเร่ือง ศรลมชวนคิด ชท้ี ิศบอกทาง โดยด่าเนินการตามขัน้ ตอนดงั นี้ 2.1 อา่ นเนอ้ื หาเร่อื ง ศรลมชวนคิด ช้ที ิศบอกทาง 2.2 ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 1 ถงึ กิจกรรมท่ี 5 ตามท่ีก่าหนดให้

ใบกิจกรรม เรือ่ ง ศรลมชวนคิด ชท้ี ศิ บอกทาง เนอ้ื หาเรอื่ ง ศรลมชวนคดิ ช้ที ิศบอกทาง การวดั ความเร็วและทศิ ทางลม ลม คือ การเคล่อื นไหวของอากาศ ถ้าลมแรงก็หมายความว่ามวลของอากาศเคล่ือนตัวไปมากและเร็ว ในทางอตุ นุ ิยมวิทยา การวดั ลมจา่ ต้องวัดทั้งทศิ ของลมและอัตราหรือความเร็วของลม สา่ หรับการตรวจสอบทิศ ของลมนนั้ เราใช้ศรลม (wind vane) สว่ นการวดั ความเรว็ ของลม เราใช้เครื่องมอื ทเ่ี รียกวา่ มาตรวัดลม (anemometer) ซ่ึงมีหลายชนิด แตส่ ่วนมากใชแ้ บบใบพัดหรือกังหัน นอกจากมาตรวดั ลมแลว้ ยงั มเี คร่อื งบันทกึ ความเรว็ และทิศของลมด้วย เครอ่ื งบนั ทึกนี้เรียกวา่ อะนีมอกราฟ (anemograph) ซงึ่ สามารถบนั ทกึ ความเรว็ และทศิ ของลมได้ตามที่เราตอ้ งการ เคร่อื งวัดลมทกี่ ล่าวมาน้ี เปน็ การวัดลมที่พน้ื ดนิ และบอกทศิ ทาง หรือความเรว็ ลมในตา่ แหน่งคงท่ี โดย ส่งิ กีดขวางอนื่ ๆ มอี ทิ ธิพลต่อลม เชน่ อาคารต้นไม้ และอ่นื ๆ ความเรว็ ลมจะเพ่มิ มากข้ึนอย่างรวดเร็วเมื่อความ สูงของต่าแหน่งท่ีวัดเพม่ิ ข้ึน ดังนัน้ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้วัดลมควรต้งั อยู่ในทโี่ ล่งที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และควรอย่สู งู กว่าหลงั คาอาคาร ชนิดของลม 1) ลมประจาปี (Prevailing Wind) เป็นลมทพี่ ัดประจา่ ปี มี 3 ประเภท คอื ลมสนิ ค้า ลมฝ่าย ตะวนั ตก และลมขวั้ โลก 2) ลมประจาฤดู (Seasonal Wind) ไดแ้ ก่ มรสุมฤดูร้อน และมรสมุ ฤดูหนาว 3) ลมประจาเวลา (Diurnal Wind) หรือ ลมเฉอื่ ย (Breeze) จะพดั ในช่วงเวลาหนงึ่ ในรอบ วัน ได้แก่ ลมภูเขา (เกดิ ในเวลากลางคืน) และลมหบุ เขา เกิดในเวลากลางวนั กบั ลมบก ลมทะเล 4) ลมประจาถ่ิน (Local Wind) เกดิ ในทอ้ งถ่ินใด ๆ โดยเฉพาะ ได้แก่ ลมวา่ ว ลมตะเภา ลม พัทยา ลมตะโก และลมอุตรา 5) ลมแปรปรวนหรอื ลมพายุ (Storm)

เคร่อื งมอื ท่ีใชว้ ัดทิศทางและความเร็วลม 1) ศรลม เปน็ ส่งิ ท่ใี ช้มานานเพ่ือบ่งบอกทศิ ทางของลมอาจจะประดษิ ฐใ์ นรูปแบบท่ี แตกต่างกันไปโดยปกติจะเป็นลูกศรแล้วท้ายจะเป็นตัวต้านลมหากลมเข้าปะทะจะท่าให้ให้ศรช้ีไปตามทิศทางที่ ลมมาอาจจะ มีการติดระบทุ ศิ ไวด้ ้วย 2) มาตรวัดความเร็วหรอื อะโนมิเตอร์ (Anenometer) เปน็ เคร่อื งมือทใ่ี ช้วดั ความเร็วของ ลมโดยสามารถท่ีจะวดั ไดข้ ึ้นอยกู่ ับรปู แบบทใ่ี ช้อาจจะประดษิ ฐ์ข้นึ เองได้ 2.1 แบบรปู ถ้วย เปน็ แบบใชร้ ปู ถ้วยแลว้ มแี ขนย่ืนออกไป เมื่อลมพดั จะทา่ ใหห้ มดแล้ว จะมีมเิ ตอร์เชื่อมตอ่ เพ่อื วัดความเร็วในขณะน้นั โดยความเรว็ ที่วัดนน้ั อาจจะไมเ่ กนิ 100 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง 2.2 แบบกงั หนั ลม เป็นแบบกังหันสามารถท่จี ะวดั ความเร็วได้เพียงข้นต่าเท่าน้นั ไม่ สามารถทจ่ี ะวดั ความเรว็ ทส่ี งู ๆ ได้ 2.3 Wind Speed Meter เป็นแบบใหมท่ ่ีก่าลังเปน็ ท่ีนยิ ม เป็นเครอ่ื งที่มีขนาดเลก็ พกพาได้ มีใบพัดอยู่ข้างในเม่ือมีลมเข้าจะท่าให้หมุนแล้วก็ท่าให้มิเตอร์นนั้ อ่านค่าความเรว็ ได้ สามารถที่จะใชใ้ น การกฬี าท่ีต้องวัดกระแสลม เครอื่ งบิน เคร่ืองร่อนตา่ ง ๆ 3) แอโรเวน (Aerovane) เคร่ืองทวี่ ดั ทั้งทศิ ทาง และความเร็วของลมมีรปู รา่ งคล้ายเครือ่ ง บินไม่มีปีกปลายด้านใบพัดจะช้ีไปทางลมพดั แสดงทิศทางลม และการหมุนของใบพดั แสดงความเร็วของลมโดย อา่ นจากหน้าปัด ของเคร่ืองวดั โดยตรง ประโยชนข์ องศรลม 1) ระบบการพยากรณ์อากาศ โดยมักใชร้ ่วมกบั เครอื่ ง anemometer 2) ใช้วัดต่าแหน่งการติดตง้ั กังหันลมผลิตไฟฟา้ 3) ใช้ในสนามบนิ เพ่อื ดทู ศิ ทางลมที่จะสง่ ผลกระทบตอ่ การบนิ 4) ใช้บอกทศิ ทางเพ่ือการตากแห้ง การสร้างบ้านใหม้ ีอากาศไหลเวยี นดี ส่วนประกอบเครื่องมอื วัดทิศทางลมหรือศรลม เครือ่ งมือส่าหรบั วัดทิศทางลมหรือศรลม มีส่วนประกอบที่สา่ คัญ ไดแ้ ก่ 1. ตัวลกู ศร จะมรี ปู ร่างสว่ นหางทม่ี ีขนาดใหญก่ ว่าส่วนหวั ลูกศร ซ่งึ มีหลกั ท่างาน คือ เม่อื ลมพัด แรงลมจะกระทา่ กบั หางลูกศรมากกวา่ หัวลกู ศร เนือ่ งจากพน้ื ท่สี ว่ นหางลูกศรมากกวา่ พืน้ ทสี่ ่วนหัว จึงทา่ ให้ศรลม เกิดการหมนุ ทา่ ใหห้ ัวลกู ศรช้ไี ปในทิศทางที่ลมพดั 2. แกนหมนุ ของศรลมจ่าเป็นต้องหมุนได้อยา่ งอสิ ระ เพ่อื ใหศ้ รลมสามารถหมุนไปตามทศิ ทางของ ลมทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป จงึ บอกทิศทางของลมไดอ้ ยา่ งเทีย่ งตรง แกนหมุนควรอยใู่ นตา่ แหน่งสมดลุ ระหวา่ งสว่ นหัว และส่วนหางของตวั ศรลม 3. ฐานของศรลม ควรแขง็ แรงเพยี งพอที่จะรับน้่าหนักของศรลม ทนทานตอ่ การปะทะของแรงลม สามารถตง้ั ได้อย่างสมดุล โดยปกตจิ ะมีตัวบอกทศิ ติดบริเวณฐานดว้ ย สว่ นประกอบของศรลม

รปู แบบการทาศรลมอยา่ งงา่ ย กิจกรรมการออกแบบและสรา้ งศรลม คาช้ีแจง 1. แบ่งผูร้ บั บริการออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 5 - 10 คน 2. ให้แต่ละกลมุ่ ตามข้อ 1 ดา่ เนนิ การตามขนั้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ เกย่ี วกับการออกแบบและสรา้ งศรลม ขัน้ ตอนที่ 2 แลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละสรปุ โดยตอบค่าถาม ดังน้ี 1) มีวิธีสงั เกตลมพัดมาทิศทางไหน ไดอ้ ย่างไร” 2) สว่ นประกอบเครอ่ื งมือวัดทศิ ทางลมหรือศรลมมอี ะไรบ้าง 3) สามารถออกแบบและสรา้ งศรลมทม่ี ปี ระสทิ ธิผลท่าอยา่ งไร ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบและสร้างศรลม โดยใหว้ าดรา่ งแบบศรลม และระบุขนาดของศรลมให้ ชดั เจนตามเกณฑ์การพิจารณา ดงั น้ี 1) การทดสอบประสทิ ธภิ าพของศรลม จะให้วางศรลมหา่ งจากพดั ลมท่ีระยะ 100 เซนตเิ มตร และแรงลมระดับ 1 2) ลูกศรลมต้องหนั ไปทางทศิ ทางของลมทพี่ ัดมา ขั้นตอนที่ 4 แตล่ ะกลุม่ สรา้ งศรลมตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเวลา 30 นาที ขัน้ ตอนที่ 5 แต่ละกล่มุ น่าศรลมมาทดสอบกับแรงลมของพัดลม โดยก่าหนดให้ศรลมห่างจาก พัดลมประมาณ 100 เซน็ ติเมตร ขน้ั ตอนท่ี 6 แตล่ ะกลมุ่ ปรับปรุงใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากท่ีสุด

บนั ทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมตามขน้ั ตอนท่ี 1 ถึงขน้ั ตอนที่ 6 โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 1. ศรลมมหี ลกั การท่างานอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ถ้าตอ้ งการประดิษฐ์ศรลมเพ่อื ใช้งาน ศรลมทป่ี ระดษิ ฐ์ขึน้ นี้มขี อ้ ดีกว่าศรลมอนื่ ๆ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วาดภาพการออกแบบศรลมและระบุวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้ พร้อมใหเ้ หตุผลในการเลือกใชว้ ัสดุ 4. ระหว่างการประดษิ ฐศ์ รลม พบปญั หาอะไรบา้ งและมีวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาอย่างไร .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 5. ตารางบันทึกการบอกทศิ ของศรลม คร้ังท่ี ลกั ษณะการวางศรลม ความเทยี่ งตรงของการ เทยี บกบั พดั ลม บอกทศิ ของศรลม 1 หันสว่ นหัวศรลมให้พัดลม 2 หนั สว่ นกลางศรลมให้พัดลม 3 หันสว่ นหางศรลมใหพ้ ัดลม 6. ศรลมที่ประดษิ ฐข์ ้ึนสามารถตรวจวดั ทิศทางลมไดจ้ รงิ หรอื ไม่ มีวธิ กี ารทดสอบอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

7. วาดภาพพรอ้ มอธบิ ายการปรับปรงุ ศรลมตัง้ แต่เร่ิมตน้ จนกระทัง่ สุดท้าย 8. พ้ืนทส่ี ่วนหวั ของศรลมมขี นาด.............................................ตารางเซนติเมตร พ้ืนท่สี ว่ นหางของศรลมมขี นาด............................................ตารางเซนติเมตร อัตราสว่ นระหว่างพนื้ ที่ส่วนหวั และสว่ นหางของศรลมเท่ากับ......................... 9. ถา้ จะนา่ ศรลมทอ่ี อกแบบไว้ไปวัดทศิ ทางลมในสถานที่จรงิ เช่น ภูเขา ริมฝงั่ น่า้ ซ่ึงอาจตอ้ งวางไว้กลางแจง้ เปน็ เวลานาน ๆ ผู้รับบรกิ ารควรจะปรับปรงุ ศรลมท่ีออกแบบไวอ้ ยา่ งไร เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ เฉลยแนวคาตอบ 1. ศรลมมหี ลกั การทา่ งานอยา่ งไร เฉลยแนวคาตอบ เมอ่ื มลี มปะทะกับศรลม จะทา่ ให้ศรลมมกี ารหมุนไป เนอ่ื งจากสว่ นหางของศรลม มี พน้ื ท่ีมากกวา่ สว่ นหัว ศรลมจะหมนุ จนกระท่ังลขู่ นานไปกบั ทิศทางของลมทพี่ ัดมา โดยหวั ลกู ศรชไี้ ปในทิศทางที่ ลมพัดมา 2. ถา้ ต้องการประดิษฐ์ศรลมเพื่อใช้งาน ศรลมท่ีประดษิ ฐข์ ้นึ นี้มขี ้อดกี วา่ ศรลมอน่ื ๆ อยา่ งไร เฉลยแนวคาตอบ ราคาประหยัดกว่า ใช้งานสะดวกกวา่ สีสันสวยงามกว่าสามารถทา่ ใชเ้ องไดง้ ่ายกวา่ ใช้วสั ดุอุปกรณท์ ห่ี าได้ง่ายกว่า ขนาดใหญ่กวา่ ขนาดเล็กกว่า

3. วาดภาพการออกแบบศรลมและระบุวสั ดุอุปกรณท์ ี่ใช้ พรอ้ มใหเ้ หตุผลในการเลือกใช้วสั ดุ 3. วาดภาพการออกแบบศรลมและระบวุ ัสดอุ ุปกรณ์ท่ใี ช้ กระดาษแขง็ หลอดกาแฟ ตะเกียบ ดินน่า้ มัน 4. ระหวา่ งการประดิษฐศ์ รลม พบปัญหาอะไรบ้างและมวี ธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาอย่างไร เฉลยแนวคาตอบ - ตวั ศรลมไมส่ ามารถต้งั ให้สมดุลได้ แก้ไขโดยนา่ ดนิ น้่ามันมาถ่วงทป่ี ลายด้านหนึ่ง - ศรลมไม่หมุนตามทศิ ทางลม แก้ไขโดย ปรบั ขนาดของศรลมให้สว่ นหวั มีขนาด เล็กกวา่ ส่วนหาง 5. ตารางบันทึกการบอกทิศของศรลม ครงั้ ท่ี ลักษณะการวางศรลม ความเท่ียงตรงของการ เทียบกับพดั ลม บอกทศิ ของศรลม 1 หันส่วนหวั ศรลมให้พดั ลม 2 หันสว่ นกลางศรลมใหพ้ ัดลม ผูร้ บั บริการบันทกึ เอง 6. 3 หนั ส่วนหางศรลมใหพ้ ดั ลม ศร ลมท่ีประดิษฐ์ขนึ้ สามารถตรวจวดั ทศิ ทางลมไดจ้ ริงหรือไม่ มวี ธิ ีการทดสอบอยา่ งไร เฉลยแนวคาตอบ วัดได้จรงิ ทดสอบโดยวัดทศิ ทางลมจากทิศต่าง ๆ โดยใช้พดั ลม และปรับระดบั ความแรงของลมระดับต่าง ๆ และตรวจสอบ ทิศทาง ทศี่ รลมบอกทศิ ของลม บันทึกเป็นความแม่นย่าของ ทิศทาง ปรากฏว่าศรลมมีความแม่นยา่ ในการบอกทศิ ทางลม

7. วาดภาพพร้อมอธิบายการปรับปรงุ ศรลมตง้ั แตเ่ รม่ิ ต้นจนกระทั่งสดุ ทา้ ย ปรบั ปรุงดงั นี้ ท่าใหส้ ว่ นหัว ใชด้ ินน้า่ มนั ถ่วง ขนาดใหญ่ข้ึน น้่าหนกั บริเวณ สว่ นท้าย 8. พื้นทสี่ ่วนหัวของศรลมมขี นาด.............................................ตารางเซนติเมตร (ก่าหนดเอง) พน้ื ที่ส่วนหางของศรลมมขี นาด............................................ตารางเซนติเมตร (ก่าหนดเอง) อตั ราส่วนระหว่างพื้นที่สว่ นหัวและส่วนหางของศรลมเทา่ กับ......................... (กา่ หนดเอง) 9. ถ้าจะนา่ ศรลมท่อี อกแบบไว้ไปวัดทิศทางลมในสถานท่ีจริง เช่น ภเู ขา ริมฝง่ั นา่้ ซ่งึ อาจต้องวางไวก้ ลางแจง้ เปน็ เวลานาน ๆ ผู้รบั บรกิ ารควรจะปรับปรุงศรลมท่ีออกแบบไว้อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด เฉลยแนวคาตอบ จะต้องออกแบบโดยใชว้ สั ดุที่ทนตอ่ สภาพดนิ ฟา้ อากาศ และมฐี านต้ังทมี่ น่ั คงและแขง็ แรงตอ่ แรงลม และออกแบบให้มีรูปทรงที่ใหญข่ ้นึ ให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง กจิ กรรมการนาสิ่งที่ได้เรยี นรไู้ ปปฏิบัตแิ ละประยุกตใ์ ช้ คาช้แี จง ให้ผ้รู บั บรกิ ารแตล่ ะคน ตอบคาถามในประเด็น “ท่านจะนา่ ความร้เู รอ่ื ง ศรลมชวนคิดช้ที ิศบอกทางไปปฏิบัติและประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจา่ วันอยา่ งไร” …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉลยแนวคาตอบ การน่าความร้เู ร่อื ง ศรลมชวนคดิ ช้ีทศิ บอกทางไปปฏบิ ตั แิ ละประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจา่ วัน ดังน้ี 1) ใช้กบั ระบบการพยากรณอ์ ากาศ โดยมักใช้ร่วมกับเครือ่ ง anemometer 2) ใชว้ ัดต่าแหนง่ การติดตั้งกงั หันลมผลิตไฟฟา้ 3) ใช้ในสนามบนิ เพอื่ ดทู ิศทางลมทจี่ ะสง่ ผลกระทบต่อการบนิ 4) ใช้บอกทิศทางเพอ่ื การตากแห้ง การสร้างบา้ นใหม้ อี ากาศไหลเวียนดี

กจิ กรรมแบบทอสอบหลังเรยี น เรอื่ ง ศรลมชวนคดิ ช้ีทศิ บอกทาง คาชี้แจง ให้ผรู้ ับบรกิ ารท่าแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง กงั หนั ลมซปุ เปอร์แมน ซงึ่ ขอ้ สอบทง้ั หมดจา่ นวน 5 ข้อ (เมอ่ื ผรู้ บั บรกิ ารท่าแบบทดสอบเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ผรู้ ับรกิ ารสามารถตรวจคา่ ตอบได้ตามเฉลยค่าตอบท้าย กจิ กรรม) คะแนนที่ได้..........คะแนน แบบทดสอบหลังเรยี น คะแนนเตม็ 5 คะแนน เร่อื ง ศรลมชวนคิดช้ีทิศบอกทาง คาช้แี จง 1. ให้ผู้รับบริการกาเครื่องหมาย x (กากบาท) หน้าข้อที่ถูกต้องเพียงขอ้ เดยี ว 2. แบบทดสอบน้ีมีขอ้ สอบจ่านวน 5 ข้อๆ ละ 1 คะแนน 3. เมือ่ ผรู้ ับบริการทา่ แบบทดสอบเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ผูร้ ับริการสามารถตรวจค่าตอบไดต้ ามเฉลย คา่ ตอบทา้ ยกจิ กรรม 1. สิ่งใดต่อไปน้ีทา่ ใหเ้ กดิ ลม ก. ความแตกตา่ งของแรงดันอากาศ ข. ความแตกต่างของปริมาตรอากาศ ค. ความแตกต่างของความชนื้ อากาศ ง. ความแตกต่างของหย่อมความกดอากาศ 2. ศรลม คอื อะไร ก. อปุ กรณว์ ดั ทิศทางลม ข. อุปกรณว์ ดั ความเรว็ ลม ค. อปุ กรณว์ ดั ความกดอากาศ ง. ความช้นื ของอากาศ 3. สว่ นประกอบของศรลมมอี ะไรบ้าง ก. แกนหมุน ข. ฐานต้ังศรลม ค. ลูกศรลม ง. ถูกทุกข้อ 4. ถา้ หวั ลูกศรของศรลมช้ีไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ แสดงว่าลมพดั มาจากทิศใด ก. ตะวันตกเฉยี งใต้ ข. ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ค. ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ง. ตะวันออกเฉยี งเหนือ 5. จงบอกประโยชน์ของศรลม ก. ใช้วัดต่าแหนง่ การตดิ ตัง้ กงั หนั ลมผลติ ไฟฟ้า ข. ใช้บอกทศิ ทางเพอ่ื การตากแห้ง การสรา้ งบ้านให้มอี ากาศไหลเวียนดี ค. ระบบการพยากรณ์อากาศ โดยมักใช้ร่วมกบั เครือ่ ง anemometer ง. ถูกทุกข้อ

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ขอ้ ก. อปุ กรณ์วดั ทศิ ทางลม 2. ข้อ ง. ถูกทุกข้อ 3. ขอ้ ง. ความแตกต่างของหย่อมความกดอากาศ 4. ข้อ ง. ถกู ทุกข้อ 5. ข้อ ง. ตะวันออกเฉียงเหนือ แบบทดสอบหลังเรียน 1. ขอ้ ง. ความแตกต่างของหยอ่ มความกดอากาศ 2. ขอ้ ก. อุปกรณว์ ดั ทศิ ทางลม 3. ขอ้ ง. ความแตกต่างของหยอ่ มความกดอากาศ 4. ขอ้ ง. ตะวันออกเฉยี งเหนอื 5. ข้อ ง. ถกู ทกุ ขอ้

กิจกรรมการประเมินความพึงพอใจของผูร้ ับบริการกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ดา้ นสะ เตม็ ศกึ ษา (STEM EDUCATION) คาช้แี จง ให้ผรู้ ับบรกิ ารท่าแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ดา้ นสะเต็ม ศึกษา (STEM EDUCATION) แบบประเมินความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ดา้ นสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ชอ่ื -สกุล ผู้รับบรกิ าร........................................................................................................................................... ช่อื ฐานการเรียนรู้....................................................ชอ่ื – สกุล ผู้จดั กิจกรรม......................................................... วนั ท่ี............เดอื น...........................พ.ศ................... เวลา..................น. ความพงึ พอใจที่มีตอ่ การจัดกิจกรรม ประเดน็ ระดับความพงึ พอใจ 5 4 3 21 1. กิจกรรมตรงตามความถนดั และตอ้ งการของผู้รบั บรกิ าร 2. ข้นั ตอนการท่ากจิ กรรมมีความชัดเจน 3. สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์ท่ีใช้ท่ากิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4. ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการท่ากิจกรรมมีความเหมาะสม 5. ความรูท้ ี่ได้รบั สามารถน่าไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้ 6. ผู้รบั ริการมคี วามสุข/สนุกในการทา่ กิจกรรม ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการจดั กิจกรรม ระดับ 5 หมายถงึ ระดบั 4 หมายถึง ระดบั 3 หมายถงึ ระดับ 2 หมายถึง ระดับ 1 หมายถงึ พึงพอใจมากที่สุด พงึ พอใจมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจน้อย พึงพอใจน้อยทีส่ ดุ ความรู้ประสบการณ์ทไ่ี ดร้ บั ความคิดเห็นเพิม่ เติม .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... ......................................................................... .......................................................................... .........................................................................