Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิทยาการคำนวณประถมต้น

รายงานวิทยาการคำนวณประถมต้น

Published by หทัยชนก สมบูรณ์, 2021-01-20 03:15:16

Description: รายงานวิทยาการคำนวณประถมต้น

Search

Read the Text Version

รายงานผลการอบรมออนไลนหลักสตู รการอบรมการจดั การเรยี นรวู ทิ ยาการคาํ นวณ สาํ หรับครู ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3 (Coding Online for Grade 1-3 Teacher : C๔T-6) โดย นางหทยั ชนก สมบูรณ ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ โรงเรียนบา นนาอวนนอ ย ศนู ยเ ครือขายสถานศึกษาธาตุ สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ



หลักสตู รอบรมออนไลนก ารจดั การเรียนรูวทิ ยาการคํานวณสาํ หรับครปู ระถมศึกษาปท่ี ๑-๓ Coding Online for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T–๖) จาํ นวน ๑๒ ชวั่ โมง หนว ยงานที่จดั การอบรม สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) และสถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)  เกยี่ วกบั หลกั สตู ร เปนหลักสูตรท่ีสงเสริมความรู ความเขาใจในกระบวนการจัดการเรียนรูวิทยาการคํานวณและโคดดิ้ง สําหรับครูผูสอนระดับประถมศึกษาตอนตน ซึ่งเนนการคิด วิเคราะห แกปญหา การใชตรรกะ และสามารถนําไป จัดการเรียนรูใหกับนักเรียนไดตรงตามตัวชี้วัดของสาระเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ระดับประถมศึกษาตอนตน ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐)  เนอ้ื หาประกอบดวย หนวยการเรียนรูท่ี ๑ แนะนาํ วทิ ยาการคาํ นวณ ประกอบดว ยเน้อื หา การขับเคลอ่ื น การจัดการเรยี นรูโคด ด้ิงในโรงเรียน การจัดการเรยี นรูวทิ ยาการคาํ นวณ หนวยการเรยี นรูท ่ี ๒ หลักสตู รวิทยาการคาํ นวณ ระดับชน้ั ประถมศึกษา ประกอบดว ย ภาพรวมของหลักสูตร การจัดหลกั สูตร และแนวการจดั การเรยี นรู หนวยการเรยี นรูที่ ๓ วทิ ยาการคอมพิวเตอร ประกอบดว ยเนอื้ หา การแกป ญหา และการ เขยี นโปรแกรม โดยใชบ ัตรคําสัง่ หนวยการเรียนรูท่ี ๔ การรเู ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ประกอบดวยเนื้อหา สวนประกอบของคอมพวิ เตอร การจดั หมวดหมไู ฟลแ ละโฟลเดอร การใชง านซอฟตแวรเบอ้ื งตน การนําเสนอ ขอ มลู และการคนหาขอทูลบนอนิ เทอรเน็ต หนวยการเรียนรูที่ ๕ การรูดิจิทัล ประกอบดวยเน้ือหา ขอปฏิบัติและการใชงานคอมพิวเตอร อยางปลอดภยั การปกปอ งขอ มลู สว นตัว และคอมพิวเตอรในชีวิตประจาํ วัน  จาํ นวนช่ัวโมงเรยี น ๑๒ ช่ัวโมง

 ผลจากการอบรม ๑. ความรคู วามสามารถ ประสบการณ ทักษะ หรอื อ่นื ๆ ที่ไดรับในการอบรมนํามาเพื่อพฒั นา งานของหนวยงาน ดังน้ี ขา พเจา ไดร บั องคความรจู ากการเขารับการอบรมออนไลนตามหลกั สตู ร การจัดการเรียนรู หลักสตู รอบรมออนไลนก ารจัดการเรียนรวู ิทยาการคาํ นวณสาํ หรบั ครูประถมศึกษาปท่ี ๑-๓ Coding Online for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T–๖) ในหัวขอ ดังตอไปน้ี • แนะนําวิทยาการคาํ นวณ o วธิ กี ารอบรม o แบบสอบถามกอ นการอบรม o การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรูโคดดง้ิ ในโรงเรยี น o การจัดการเรยี นรูวิทยาการคํานวณ • หลกั สูตรวทิ ยาการคาํ นวณระดับชน้ั ประถมศกึ ษา o ๑.๑ ภาพรวมของหลกั สูตร o ๑.๒ การจดั การหลักสตู ร o ๑.๓ แนวทางการจดั การเรยี นรู o แบบทดสอบเรอ่ื งสูตรวิทยาการคํานวณ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษา • วิทยาการคอมพวิ เตอร o ๑.การแกป ญ หา o ๒. การเขียนโปรแกรมโดยใชบัตรคําสัง่ • การรูเ ทคโนโลยีสารสนเทศ o สวนประกอบคอมพิวเตอร o การจดั หมวดหมไู ฟลแ ละโฟลเ ดอร o การใชงานซอฟตแวรเบ้ืองตน (ตอนท่ี ๑) o การใชงานซอฟตแวรเ บือ้ งตน (ตอนที่ ๒) o การนําเสนอ o การคนหาขอมลู • การรดู ิจทิ ลั o ขอ ปฏบิ ัติในการใชง านคอมพิวเตอร o การใชง านคอมพิวเตอรอยางปลอดภยั o การปกปองขอ มูลสว นตัว o คอมพวิ เตอรใ นชีวติ ประจาํ วัน o การใชง าน Plichers

• แบบทดสอบ • แบบสอบถามหลงั การอบรม ๒. การเผยแพรความรู ประสบการณ ทกั ษะ และอ่นื ๆ แกผ ทู เ่ี กีย่ วขอ ง คอื ๒.๑ นําความรู ประสบการณ ทักษะ ไปใชในการวิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรูและ ตัวช้ีวัด เพ่ือออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู และสามารถนําความรูท่ีไดรับจากการอบรมออนไลนในคร้ังน้ี ไปบูรณาการการสอนในรายวิชาอ่ืน ๆ และยงั ไดร บั ความรูในเร่ืองโคด ด้งิ การคดิ วเิ คราะหอ ยางเปนระบบ ๒.๒ ถายทอดความรูในเนื้อหารายวิชาวิทยาการคํานวณเพื่อใหพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะท่ีสําคัญ ในการดํารงชวี ิตในศตวรรษท่ี ๒๑ ไดแก ทักษะพ้ืนฐานความคิดเชิงคํานวณ (Computational Thinking) , ทักษะ พื้นฐานความรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรูและทักษะดานนวัตกรรม (Learning and Innovation –The ๔ C’s) , ทักษะการทํามาหาเลี้ยงชีพและการดําเนินชีวิต (Career and Life) และทักษะพื้นฐานการรูเทาทันสื่อและขาวสาร (Media and information Literacy) พัฒนาบนพื้นฐานความ แตกตางของผูเรียนรายบุคคลอยางเต็มความสามารถ นําความรูไปขยายผลสูชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนใหดีย่ิงข้ึน ๒.๓ พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดแก ความสามารถ ดานการส่ือสาร ความสามารถดานการคิด ความสามารถดานการแกปญหา ความสามารถดานการใชทักษะชีวิต และ ความสามารถดา นการใชเ ทคโนโลยี ๒.๔ จัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน สงเสริมสนับสนุนใหนักเรียนสามารถพัฒนาโครงงาน การแกป ญหา โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยแี ละนาํ ไป ประยกุ ตใชในชีวติ ประจาํ วนั หรอื สามารถพัฒนาตอยอด เปนนวัตกรรมตนแบบ ที่มีมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจทั้ง ในเร่ืองกระบวนการผลิต รูปแบบผลิตภัณฑ และบริการ ใหมๆ



ภาคผนวก  เกยี รตบิ ตั รการอบรม  ภาพหนา จอการอบรม  การรบั รองหลกั สตู ร ตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด

เกยี รตบิ ัตรการอบรม

ภาพหนาจอการอบรม





การรับรองหลกั สตู ร ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารที่ ก.ค.ศ. กําหนด








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook