Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ หน่วยที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอ ประเภทตารางงาน

ใบความรู้ หน่วยที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอ ประเภทตารางงาน

Published by unnaan, 2022-05-23 16:24:31

Description: ใบความรู้ หน่วยที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอ ประเภทตารางงาน

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพ่อื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพ (30001-2001) เรือ่ ง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ ประเภทตารางงาน ผ้เู รียบเรียง นายอดนิ ันต์ แวบาดะ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปตั ตานี หนา้ | ข สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชพี (30001-2001) ผู้เรียบเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพอ่ื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน คำนำ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ รหัสวิชา 30001-2001 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ เล่มที่ 6 เรื่อง การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่อื การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงานเล่มนี้ ผสู้ อนได้ นำประสบการณ์จากการสอน และจากการศึกษาค้นคว้านำมาเรียบเรียงเป็นเอกสารประกอบการ เรียน ซึ่งประกอบด้วยสาระสำคัญเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโปรแกรมตารางงาน การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Excel ส่วนประกอบของหน้าจอและส่วนประกอบของแผ่นงาน (Worksheet) ชุด เครื่องมือของโปรแกรม การสร้างไฟล์งาน การใช้คีย์ลัด การจัดการรูปแบบเซลล์ การคำนวณสูตร การเปิดไฟล์เดิม ออกจากโปรแกรม การประยุกต์ไฟล์ Excel เป็นไฟล์ pdf ซึ่งสอดคล้องกับ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยแบง่ เนื้อหาออกเป็น 8 หน่วย และจัดทำเปน็ เล่ม 8 เลม่ ดงั น้ี เล่มที่ 1 หน่วยท่ี 1 ความรเู้ กยี่ วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม เล่มท่ี 2 หนว่ ยที่ 2 ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ เลม่ ที่ 3 หนว่ ยที่ 3 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ เลม่ ที่ 4 หนว่ ยท่ี 4 การจดั เกบ็ สืบค้น สง่ ผา่ นและจัดดำเนนิ การขอ้ มูลสารสนเทศ เล่มท่ี 5 หนว่ ยที่ 5 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพ่ือนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภท เอกสารทางด้านการพมิ พ์ เลม่ ท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภท ตารางงาน เล่มที่ 7 หนว่ ยท่ี 7 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภท การนำเสนอ เลม่ ที่ 8 หนว่ ยที่ 8 การประยกุ ตก์ ารใช้งานดว้ ยระบบสารสนเทศ ผู้เรียบเรียง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้เรยี น ผสู้ อน ใหไ้ ดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนตามหลักในการจดั การอาชีวศึกษา หาก มขี ้อเสนอแนะประการใด ผเู้ รียบเรยี งยนิ ดนี อ้ มรับไวด้ ้วยความขอบคุณย่งิ อดนิ ันต์ แวบาดะ ผู้เรยี บเรียง เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หนหา้น้า| ก1 ผูเ้ รียบเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพ่ือการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน สารบัญ เร่ือง หน้า คำนำ ก จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชา 1 กำหนดการสอน 2 คำแนะนำการใชเ้ อกสารประกอบการสอน 3 สาระการเรยี นรู้ 5 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 5 แบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน 7 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพอ่ื การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 9 9 - ความรทู้ ว่ั ไปของโปรแกรมตารางงาน 10 - การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel 11 - ส่วนประกอบของหนา้ ต่างโปรแกรม Microsoft Excel 12 - ชุดเครื่องมือของโปรแกรม Microsoft Excel 15 - การสร้างเอกสาร 30 - การใช้คีย์ลดั 32 - การจัดการรูปแบบเซลล์ 48 - การคำนวณสตู ร 71 - การเปิดเอกสารในโปรแกรม Microsoft Excel 71 - การออกจากโปรแกรม 72 - การประยกุ ต์ไฟล์ Excel เป็นไฟล์ pdf 74 สรปุ เน้ือหาสาระ 75 แบบฝกึ หดั 76 เฉลยแบบฝึกหดั 77 แบบทดสอบความรู้หลังเรียน 79 เฉลยแบบทดสอบความรหู้ ลังเรยี น 80 ใบงาน 81 บนั ทึกผลการปฏิบัตงิ าน 82 ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน 83 บรรณานุกรม เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า | 2 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา ช่ือรายวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพ รหสั วิชา 30001-2001 ระดบั ชัน้ ปวส. 1 สาขาวิชา/กล่มุ วชิ า/แผนกวชิ า คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ หน่วยกิต 3 จำนวนชวั่ โมงรวม 4 ช่ัวโมง จำนวนสปั ดาห์ 18 สัปดาห์ จุดประสงค์รายวชิ า 1. เข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ การสืบค้นและสื่อสารขอ้ มลู สารสนเทศในงานอาชีพ 2. สามารถสืบคน้ จดั เก็บ ค้นคืน สง่ ผา่ น จดั ดำเนินการข้อมลู สารสนเทศ นำเสนอและสอ่ื สาร ข้อมูลสารสนเทศในงานอาชีพโดยใชค้ อมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม และโปรแกรมสำเร็จรูปท่ี เกี่ยวขอ้ ง 3. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจัดการ อาชีพ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการสืบค้น จัดดำเนินการและสื่อสารข้อมูล สารสนเทศในงานอาชีพ โดยใช้คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรคมนาคม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ และโปรแกรมสำเร็จรูปทีเ่ กีย่ วข้อง 2. ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคมในการสืบค้นและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศผ่าน ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ 3. จัดเก็บ ค้นคืน สง่ ผ่านและจัดดำเนินการขอ้ มลู สารสนเทศตามลกั ษณะงานอาชีพ 4. นำเสนอและสอ่ื สารข้อมูลสารสนเทศในงานอาชพี โดยประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกี่ยวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บ ค้นคืน ส่งผ่านและจัดดำเนินการข้อมูล สารสนเทศ การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการนำเสนอและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศตาม ลกั ษณะงานอาชพี เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 1 ผ้เู รยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน กำหนดการสอน รหัสวชิ า 30001-2001 ชอ่ื รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) รวม 72 ช่วั โมง ทฤษฎรี วมปฏบิ ัติ 4 คาบ/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการสอน จำนวนชวั่ โมง - ปฐมนเิ ทศ 2 1 ความรเู้ กี่ยวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม 2 2 ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ 12 3 การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ 4 4 การจัดเกบ็ สบื คน้ สง่ ผ่านและจดั ดำเนินการข้อมูล 4 สารสนเทศ 8 16 5 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื นำเสนอข้อมลู 8 สารสนเทศประเภทเอกสารทางดา้ นการพมิ พ์ 16 6 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื นำเสนอข้อมูล สารสนเทศประเภทตารางงาน 7 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อนำเสนอข้อมูล สารสนเทศประเภทการนำเสนอ 8 การประยุกตก์ ารใช้งานดว้ ยระบบสารสนเทศ รวม 72 เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 2 ผู้เรยี บเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอื่ การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ รหัส 30001-2001 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ เล่มที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้ นักเรยี นได้ศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง และเพื่อให้ครูใชเ้ ป็นคู่มือประกอบการสอน นอกจากนี้ยังสามารถ ใช้เพือ่ ซ่อมเสริมกรณีท่นี กั เรยี นทำกิจกรรมการเรียนรู้ไม่ผา่ นเกณฑ์ โดยมคี ำแนะนำในการใช้ดงั นี้ สำหรับครู 1. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อศึกษาเนื้อหาของการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่ือ การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน โดยก่อนใช้ควรชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวิธี การศึกษาและมีความซื่อสัตย์ในการทำใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน แบบฝึกหัดระหว่างเรียน และ ใบทดสอบความรู้หลงั เรยี น 2. ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอื่ การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน โดยใช้ศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยให้ นักเรียนทำใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน ศึกษาเนื้อหา แล้วทำแบบฝึกหัด ใบปฏิบัติงาน ใบทดสอบ ความรู้หลังเรียน และเฉลยแบบฝึกหัด เฉลยใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน เฉลยใบทดสอบความรู้หลัง เรยี น 3. ในการจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ อาจให้นักเรียนทำเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความ เหมาะสม เพือ่ ฝึกใหน้ กั เรยี นสามารถทำงานร่วมกบั บุคคลอื่นได้ 4. เมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรให้นักเรียนช่วยกันสรุปและมีส่วนช่วยกันประเมินผล ชิ้นงาน และครูบันทึกคะแนนก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เพื่อให้นักเรียนเห็นพัฒนาการ ของตนเอง ถ้านักเรียนทำคะแนนได้ไม่ถึงเกณฑ์ ควรให้นักเรียนศึกษาซ้ำอีกหรือครูจะสอนซ่อมเสริม ให้จนกระทงั่ ทดสอบแล้วผา่ นเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ สำหรับนักเรยี น 1. ใชศ้ กึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเองและตอ้ งมคี วามซอื่ สัตยต์ ่อตนเองทั้งก่อนเรียนระหว่างเรยี นและ หลังเรียน 2. ในการศึกษาเอกสารนี้ หากไม่เข้าใจให้บันทึกไว้เพื่อสอบถามครูในเวลาเรียนหรือนอก เวลาเรยี น 3. ข้ันตอนการศึกษา มดี ังนี้ 3.1 ทำแบบทดสอบความรู้กอ่ นเรียน 3.2 ศกึ ษาเนื้อหาให้เขา้ ใจอยา่ งละเอยี ด 3.3 ทำแบบฝกึ หดั ตามที่กำหนด 3.4 ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมูล สารสนเทศประเภทตารางงาน 3.5 นำผลงานที่ทำแลว้ สง่ ครู ประเมนิ ผลร่วมกัน เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 3 ผ้เู รยี บเรียง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 3.6 ทำแบบทดสอบความรู้หลังเรียน 3.7 ตรวจคำตอบแบบฝึกหัด แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรียน เพื่อทราบผลการ พัฒนาตนเอง ซึ่งในแต่ละกิจกรรมต้องผ่านเกณฑ์ตามกำหนด หากไม่ผ่านเกณฑ์ควรซ่อมเสริมโดย ทบทวนแลว้ ทำกจิ กรรมน้นั ใหม่จนผา่ นเกณฑ์ 4. ในการศึกษานักเรียนควรได้รับความรู้ ทักษะ และฝึกนิสัยที่ในการทำงาน ปฏิบัติงานดว้ ย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ คำนึงถึงความปลอดภัย ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างคุณธรรมให้เกิดกับตัวเอง ได้แก่ การมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความ สนใจใฝ่รู้ การมีมนุษยสัมพันธ์ และความสามัคคี เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข สือ่ ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอนท้ังทฤษฎีและปฏบิ ัติ 1. สื่อ PowerPoint/E-book เรอ่ื ง การประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพ่ือการนำเสนอข้อมูล สารสนเทศประเภทตารางงาน 2. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 3. ส่อื ของจรงิ เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 4 ผเู้ รียบเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปเพอื่ การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพือ่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศ ประเภทตารางงาน หลังจากได้ศึกษาเอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ รหสั วชิ า 30001-2001 ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม เลม่ ที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงานแล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ สาระการเรียนรู้ 1. การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ 2. การสร้างงานด้วยโปรแกรมตารางคำนวณ 3. การนำเสนอสารสนเทศประเภทตารางคำนวณ สมรรถนะประจำหน่วย 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของการสรา้ งงานดว้ ยโปรแกรมประเภทตารางคำนวณได้ 2. เข้าใจการสรา้ งงานด้วยโปรแกรมประเภทตารางคำนวณได้ 3. สามารถอธบิ ายขน้ั ตอนการสร้างงานดว้ ยโปรแกรมประเภทตารางคำนวณได้ 4. สามารถสร้างงานด้วยโปรแกรมประเภทตารางคำนวณได้ 5. สามารถนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางคำนวณได้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 แสดงความรู้เกีย่ วกับการใชง้ านโปรแกรมประเภทตารางงานได้ 1.2 อธบิ ายการใช้คำส่งั โปรแกรมประเภทตารางงานได้ 1.3 อธิบายขน้ั ตอนการใช้โปรแกรมประเภทตารางคำนวณได้ 1.4 บอกส่วนประกอบของโปรแกรมประเภทตารางงานได้ 1.5 สามารถใช้เครอื่ งมือในโปรแกรมประเภทตารางงานได้อยา่ งถกู ต้อง เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 5 ผู้เรียบเรยี ง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพอื่ การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 2. ดา้ นทกั ษะ 2.1 สร้างงานด้วยโปรแกรมตารางคำนวณได้ 2.2 นำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางคำนวณได้ 3. ดา้ นคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 3.1 นำประโยชนข์ องการสร้างงานด้วยโปรแกรมสำเรจ็ รูปประเภทตารางคำนวณไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันได้ 3.1 มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทำงาน และมีจติ สาธารณะ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 6 ผ้เู รียบเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน แบบทดสอบความรกู้ ่อนเรียน คำแนะนำ 1) จงทำเครือ่ งหมายกากบาท (×) ทบั หัวข้อที่ถูกทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว ลงใน กระดาษคำตอบท่ีแจกให้ 2) ข้อสอบจำนวน 10 ข้อ ใชเ้ วลาสอบ 10 นาที 1. โปรแกรมตารางคำนวณเก็บข้อมลู ในลักษณะใด ก. หนา้ ข. รปู เล่ม ค. ตาราง ง. สไลด์ 2. การเขา้ สโู่ ปรแกรมทส่ี ะดวกและรวดเร็วทีส่ ดุ คือวิธใี ด ก. แท็บ File ข. จากปุม่ Start ค. Shortcut Icon ง. Backstage View 3. ข้อใดไมใ่ ช่ความหมายของคำวา่ “สว่ นประกอบแผน่ งาน” ก. แสดงขอ้ มลู พื้นฐานของไฟล์เอกสาร ข. แสดงพน้ื ทแี่ ถว (Row) และคอลมั น์ (Column) ค. แสดงชอื่ เซลลท์ ่ีกำลงั ทำงานในขณะนัน้ ง. ตำแหน่งท่ีแถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ตัดกัน 4. ริบบอน (Ribbon) หมายความว่าอยา่ งไร ก. ส่วนท่รี วบรวมชดุ คำส่ังในรูปของไฟล์ ข. เครอ่ื งมือท่ีใชง้ านบางส่วนในโปรแกรม ค. ส่วนทรี่ วบรวมชุดคำสัง่ ในรูปของไอคอน ง. แทบ็ ที่แสดงออกมาเมื่อมกี ารใชค้ ำสง่ั บางอย่าง 5. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องในการสรา้ งสมดุ งานใหม่ ก. การเปดิ สมดุ งานใหม่ คือการเปดิ เวริ ก์ บุ๊กใหมข่ ้ึนมาทำงาน ข. การเรียกสมุดงานเกา่ มาทำการปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลงแกไ้ ขอีกครง้ั ค. เปน็ หนา้ เริม่ ตน้ ของโปรแกรม Microsoft Excel เมื่อเปิดมาคร้งั แรก ง. การเปิดสมุดงานใหมใ่ นโปรแกรม Microsoft Excel จะมีนามสกุลเป็น “.xlsx” 6. การคัดลอก(copy)แฟ้มสมดุ งานที่สะดวกและง่ายที่สดุ คอื วิธีใด ก. Ctrl+n ข. Ctrl+w ค. Ctrl+c ง. Ctrl+s เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 7 ผู้เรียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่อื การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 7. ต้องการจัดรปู แบบตัวอักษรให้เป็นแนวตงั้ ต้องอยา่ งไร ก. เลอื กข้อความในเซลล์ > เมนู หน้าแรก > การวางแนว ข. เลอื กข้อความในเซลล์ > เมนู แทรก > การวางแนว ค. เลือกข้อความในเซลล์ > เมนู สูตร > การวางแนว ง. เลอื กข้อความในเซลล์ > เมนู มุมมอง > การวางแนว 8. =5+10-3*8/2+(2*3) ผลลพั ธต์ รงกบั ข้อใด ก. 30 ข. 120 ค. 12 ง. 9 9. การเปิดแฟ้มสมุดงานจากท่ีเปิดใช้งานล่าสดุ ต้องทำอยา่ งไร ก. คลิกเลือกจาก Computer ข. คลกิ เลอื กจาก Add a Place ค. คลิกเลอื กจากแทบ็ OneDrive ง. คลกิ เลอื กจากแทบ็ Recent Workbooks 10. การออกจากโปรแกรม ข้อใดถูกต้อง ก. Ctrl+n ข. Ctrl+w ค. Ctrl+c ง. Ctrl+s เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 8 ผเู้ รียบเรยี ง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่ือการนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน หนว่ ยท่ี 6 เรอื่ ง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่ือการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ ประเภทตารางงาน สาระสำคญั Microsoft Excel เป็นโปรแกรมสเปรตชีต (Spreadsheet) มีการจัดเก็บและแสดงผลข้อมูล ในลักษณะของตาราง มีการคำนวณตัวเลขและประมวลผลได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว โปรแกรม Microsoft Excel ได้มีการพัฒนามาโดยตลอดเพื่อเพิ่มความสามารถและตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สามารถทำงานร่วมกับอุปกรณ์พกพาที่ไม่มี Microsoft Excel ติดตั้งอยู่ การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ทำได้โดยการใช้ปุ่ม Start และการเรียกใช้งานจาก Shortcut Icon บนหนา้ จอ Workbook และ Worksheet คอื องคป์ ระกอบหลักของหนา้ จอโปรแกรม Microsoft Excel ซึ่งประกอบด้วยกระดาษในแต่ละหน้า, แถว, คอลัมน์, เซลล์ ใช้ในการทำงาน Ribbon เป็นส่วนทร่ี วบรวมชดุ คำส่ังในรูปของไอคอน หรือเครอ่ื งมอื ทใี่ ช้งานท้งั หมดในโปรแกรมจะถูก จัดรวบรวมไว้เป็นกลุ่ม ๆ การเปิดสมุดงานใหม่ขึ้นมาทำงานมีอยู่ด้วยกัน 3 ลักษณะคือ การสร้างสมุด งานใหม่จากแป้นคีย์บอร์ดซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด การสร้างสมุดงานใหม่จากหน้า Start Screen และการสร้างสมดุ งานใหม่จากเท็มเพลต ที่มา : http://www.svc.ac.th/images/Files/Academy/Chananis_Chapter01.pdf 8/11/64 6.1 ความรู้ทวั่ ไปของโปรแกรมตารางงาน Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมหนึ่งที่อยู่ในชุด Microsoft Office มีจุดเด่น ในด้านการ คำนวณเกี่ยวกับตัวเลข โดยการทำงานของโปรแกรมจะใช้ตารางตามแนวนอน (Row) และแนวตัง้ (Column) เปน็ หลัก ซึง่ เรยี กโปรแกรมในลักษณะน้ีว่าตารางทำการ (Spread Sheet) ไฟล์ของ Excel เปรียบเสมือนเอกสารหนังสือ 1 เล่ม ที่ประกอบไปด้วยหน้าหลาย ๆ หน้า เรียกว่าสมุดงาน (Workbook) โดยในแต่ละหน้าเรียกว่า แผ่นงาน (Worksheet) ในแต่ละแผ่นงาน จะแบ่งออกเป็นตารางซึง่ ประกอบไปด้วย ช่องตารางซึง่ เป็นส่วนที่ตัดกันของแถวและ คอลัมน์เรยี กวา่ เซลล์(Cell) ในแผ่นงานหนึ่ง ๆ จะมีแถวทั้งหมด 1,048,576 แถว และ 16,384 คอลัมน์ โดยใชช้ ่อื คอลัมน์ เปน็ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตง้ั แต่ A จนถึง Z และตอ่ ด้วย AA จนถงึ AZ, BA จนถึง BZ ไปจนถึง XFD พ้นื ฐานทคี่ วรทราบเกี่ยวกบั Microsoft Excel 1. แถว (Row) หมายถึง แถวแนวนอน เรมิ่ ต้นจำนวนแถวจาก 1 ถงึ 1,048,576 2. คอลัมน์ (Column) หมายถึง แถวแนวตั้ง จะเริ่มต้นจาก A จนถึง Z และต่อด้วย AA ถึง AZ, BA ถึง BZ ถงึ XFD 3. เซลล์ (Cell) เปน็ จดุ ตัดระหว่างแถวกบั คอลมั น์ (เพอ่ื ใช้เรยี กตำแหน่งของข้อมูล) เช่น A1,A2,B1 เปน็ ต้น 4. มีความสามารถในการรวมเซลล์หลายๆ เซลลเ์ ขา้ ด้วยกัน 5. หลงั การตง้ั ชอ่ื เซลลห์ ลายๆ เซลลส์ ามารถนำชอื่ นั้นไปคำนวณไดด้ ้วย 6. การคำนวณ สามารถใช้ชื่อเซลล์เปน็ ตัวแปรในการสัง่ คำนวณได้ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 9 ผูเ้ รียบเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพ่ือการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 6.2 การเร่มิ ใช้งานโปรแกรม เริม่ ใชง้ านโปรแกรม Microsoft Excel 1. คลิกปมุ่ Start บนแถบ Task bar 2. เลอื ก All Programs เลือก Microsoft Office 3. เลือก Excel 4. เลือกรูปแบบเอกสารเช่น Blank workbook หลังทำการเลือกรูปแบบเสร็จจะปรากฎ หนา้ ตา่ งการทำงานของโปรแกรม Microsoft Office รูปที่ 1 แสดงหนา้ ตา่ งหลังจากเลือกโปรแกรม Microsoft Excel รปู ที่ 2 แสดงหนา้ ตา่ งโปรแกรม Microsoft Excel เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 10 ผเู้ รียบเรียง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพ่อื การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 6.3 ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม หนา้ ต่างโปรแกรม Microsoft Excel มีสว่ นประกอบหลกั ที่ควรทราบ ดังน้ี รปู ท่ี 3 แสดงส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Excel 1. Quick Access Toolbar เป็นแถบเครื่องมือให้คุณเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว ผู้ใช้ สามารถ เพิ่มป่มุ คำสัง่ ทใี่ ช้งานบอ่ ยๆ ไวใ้ นแถบเครือ่ งมอื นไี้ ด้ 2. Title bar เป็นส่วนที่แสดงช่ือไฟล์ข้อมูลและชื่อโปรแกรม Microsoft Excel ที่เปิดใช้งาน ขณะนั้น กรณีที่เป็นการเข้าสู่โปรแกรมครั้งแรก และยังไม่มีการเปิดโฟลเดอร์ข้อมูลใด ๆ โปรแกรม จะแสดงชอื่ ไฟล์ข้อมูลให้ โดยเรม่ิ ตน้ จาก “Book 1” เป็นต้นไป 3. Ribbon เปน็ ท่ีรวบรวมคำสั่งตา่ งๆ ของเมนหู รอื ทูลบาร์ เพอื่ ใหผ้ ใู้ ช้เลอื กใช้งานง่ายขน้ึ 4. Name box ใชร้ ะบตุ ำแหนง่ หรอื ชอื่ เซลลใ์ นขณะที่คลกิ เลือกเซลล์ 5. Formula bar ใช้ในการแสดงสูตรคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือสำหรับพิมพ์ข้อความ ตัวเลข 6. Active cell สถานะของเซลล์ปัจจบุ ันที่กำลังทำงานอยู่ 7. Work Sheet ปา้ ยชือ่ (Sheet) เปน็ ชอ่ื ของแผน่ งานทเี่ ลือกใชง้ านอยู่ในขณะนน้ั 8. Work Space พื้นที่ใช้งานของโปรแกรม เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับพิมพ์ข้อความ หรือกรอก ตวั เลขลงไปในแผ่นงาน 9. Column แถวแนวตง้ั ของแผน่ งาน โดยมชี ่อื หวั คอลัมนเ์ ป็นตวั อกั ษร A,B,C… ไปจนถงึ XFD 10. Row แถวแนวนอนของแผน่ งาน โดยมีหวั แถวเปน็ ตวั เลข 1,2,3… ไปจนถงึ แถว ที่ 1,048,576 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 11 ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพือ่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 6.4 ชุดเครื่องมือของโปรแกรม Microsoft Excel ชุดเครื่องมอื ของ Microsoft Excel ประกอบไปด้วยกลุ่มเครื่องมือหรือคำส่งั ต่าง ๆ ท่ีเรียกว่า “ริบบอน” (Ribbon) ที่ไดจ้ ัดรวบรวมไวเ้ ป็นกลุ่มๆ ตามประเภทของการใช้งาน โดยจะมีการแยกออก เป็นแต่ละเมนู เพื่อให้สามารถค้นหาเครื่องมือได้สะดวกขึ้น ซึ่งแต่ละเมนูนั้นก็มีรายละเอียด ของเครือ่ งมอื ตา่ งๆ ดังน้ี 1. เมนหู นา้ แรก (Home) จะเป็นที่รวบรวมชุดเครื่องมือพื้นฐานที่ผู้ใช้งานส่วนมากต้องใช้บ่อยๆ เช่น การจัดการแบบ ตัวอักษร รปู แบบตารางหรือเซลล์ เป็นต้น โดยจะแสดงขึ้นมาเป็นเมนแู รกเสมอ รปู ท่ี 4 แสดงชดุ เคร่ืองมือเมนูหนา้ แรก 1) A คอื คลิปบอรด์ (Clipboard) ใชส้ ำหรับการตัด คัดลอก และวางรูปแบบ 2) B คือ แบบอักษร (Font) ใช้สำหรับจัดรูปแบบตัวอักษร เช่น รูปแบบตัวอักษร ขนาด ตวั หนา บาง และการเปลีย่ นสีตวั อักษรหรอื สพี นื้ หลังของเซลล์ 3) C คือ การจดั แนว (Alignment) ใชส้ ำหรบั จัดตำแหนง่ ชดิ ซ้าย ชดิ ขวา กึ่งกลาง และจัด ระดับให้อยู่ชิดดา้ นบน ก่งึ กลาง ดา้ นลา่ ง รวมถงึ การจดั ย่อหน้า 4) D คือ ตัวเลข (Number) ใช้สำหรับจัดรูปแบบแสดงตัวเลขในเซลล์ เช่น แสดงรูปแบบ ของเวลา วนั ท่ี สกลุ เงนิ หรอื แบบบญั ชี รวมถึงการใสจ่ ลุ ภาคและจุดทศนยิ ม 5) E คือ ลักษณะ (Styles) ใช้สำหรับจัดรูปแบบตารางแบบสาเร็จรูป เช่น สีของตาราง หรอื สีเซลล์ และจัดรปู แบบตามเง่ือนไข เช่น ใสส่ ญั ลกั ษณ์ หรอื แถบสแี บบไล่ระดบั 6) F คือ เซลล์ (Cells) ใช้สำหรับแทรกหรือลบเซลล์ เปลี่ยนชื่อแผ่นงาน ซ่อนและ ล็อคแผ่นงาน 7) G คือ การแก้ไข (Editing) ใช้สำหรับหาผลรวม ล้างเซลล์ เรียงลำดับ ค้นหา และการ แทนทค่ี ำศัพท์ 2. เมนูแทรก (Insert) เปน็ เมนูที่ใชส้ ำหรบั แทรกออบเจ็กต์หรือองค์ประกอบต่างๆ ลงไปบน แผ่นงาน เพื่อใช้อ้างอิงประกอบข้อมูลให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวมถึงการเพิ่มความสวยงาม เช่น กราฟ รปู ภาพ หรอื ไดอะแกรมเป็นตน้ รปู ท่ี 5 แสดงชดุ เครอื่ งมือเมนูแทรก หน้า || 12 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชพี (30001-2001) ผูเ้ รียบเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพอ่ื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 1) A คือ ตาราง (Tables) ใช้สำหรับสร้างเส้นขอบตาราง การจัดการข้อมูลมากๆ ด้วย PivotTable และ PivotChart 2) B คือ ภาพประกอบ (Illustrations) ใช้สำหรับสรา้ งผังงาน หรอื ไดอะแกรม 3) C คือ แอพพลเิ คชัน (Apps) ใช้สำหรบั เชือ่ มต่อกับแอพพลเิ คชันของไมโครซอฟท์ 4) D คือ แผนภูมิ (Charts) ใชส้ รา้ งแผนภูมิหรือกราฟแบบตา่ งๆ 5) E คือ รายงาน (Reports) ใช้สำหรับสรา้ งรายงานต่าง ๆ 6) F คือ วิเคราะห์ข้อมลู (Spark lines) ใชส้ ำหรับการวเิ คราะหข์ ้อมูล ในลักษณะแผนภมู ิ 7) G คอื ตวั กรอง (Filters) ใช้สำหรับสรา้ งตวั กรองสำหรับกรองข้อมูล 8) H คือ การเช่ือมโยง (Link) ใช้สำหรับสร้างจดุ เชอื่ โยงไปยงั เว็บไซต์ อเี มลห์ รอื โปรแกรมต่างๆ 9) I คือ ข้อความ (Text) ใชส้ ำหรับสรา้ งข้อความศิลป์ ใสห่ ัวหรอื ทา้ ยกระดาษ และใสส่ ญั ลกั ษณ์ 3. เมนูเค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) เป็นเมนูที่ใช้สำหรับปรับแต่งกำหนด ขนาดหรือ มุมมองต่างๆ บนหน้าแผ่นงานใหเ้ ป็นไปตามความต้องการ รปู ท่ี 6 แสดงชุดเครื่องมือเมนูเคา้ โครงหน้ากระดาษ 1) A คือ ชุดรูปแบบ (Themes) ใช้สำหรับออกแบบตาราง ตัวอักษร และสีสัน แบบสำเรจ็ รูป 2) B คือ ตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup) ใช้สำหรับกำหนดระยะห่าง ขนาดกระดาษ รูปแบบการวางกระดาษและขอบกระดาษ 3) C คือ ตนเองปรับพอดี (Scale to Fit) ใช้สำหรับกำหนดความสูงหรือกว้างใหพ้ อดีกับ หนา้ กระดาษ 4) D คือ ตัวเลือกแผ่นงาน (Sheet Options) ใช้สำหรับกำหนดการแสดงมุมมองและ รายละเอยี ดของแผน่ งาน 5) E คือ จัดเรยี ง (Arrange) ใชส้ ำหรบั จดั เรยี งลำดับของวตั ถทุ ่วี างซ้อนกันอยู่ 4. เมนูสูตร (Formula) เป็นเมนูที่ใช้สำหรับใส่สูตรคำนวณและฟังก์ชันสำเร็จรูปต่างๆ ลงในเซลล์ โดยแยกประเภทตามการใช้งาน เช่นฟังก์ชันการเงิน ฟังก์ชันเกี่ยวกับข้อความ ฟังก์ชัน ทางคณิตศาสตร์ เป็นตน้ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 13 ผ้เู รียบเรยี ง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปเพือ่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน รูปที่ 7 แสดงชดุ เคร่อื งมือเมนูสูตร 1) A คือไลบรารีฟังก์ชัน (Function Library) ใชส้ ำหรับใสส่ ตู รและฟังก์ชนั ด้านคำนวณตา่ งๆ 2) B คือช่ือท่ีกำหนด (Define Names) ใช้สำหรบั กำหนดชอื่ ของกล่มุ เซลล์ เพอื่ ใชอ้ ้างองิ ในสตู ร 3) C คอื ตรวจสอบสูตร (Formula Auditing) ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้อง ผลกระทบ และความผิดพลาดจากการคำนวณ 4) D คือ การคำนวณ (Calculation) ใช้สำหรับกำหนดให้โปรแกรมมีการคำนวณ แบบอัตโนมัติ 5. เมนูข้อมูล (Data) เป็นเมนูที่ใช้สำหรับติดต่อข้อมูลกับภายนอกโปรแกรม และทำงานกับขอ้ มูล ทมี่ ีจำนวนมาก เพอ่ื ใหม้ คี วามคลอ่ งตัวในการใช้งานและมีประสิทธภิ าพเพ่ิมขน้ึ รูปท่ี 8 แสดงชดุ เครื่องมือเมนูขอ้ มลู 1) A คือ รับข้อมูลภายนอก (Get External) เป็นส่วนรับข้อมูลจากภายนอกโปรแกรม เชน่ จากฐานขอ้ มูลโปรแกรม Access เว็บไซต์ หรือแหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ 2) B คือ การเชอื่ มต่อ (Connections) ใช้สำหรับเช่อื มโยงไปยังขอ้ มลู ที่อยู่นอกสมดุ งาน 3) C คอื เรียงลำดับและกรองขอ้ มูล (Sort & Filter) ใชส้ ำหรับเรียงลำดบั ตัวเลข/ตัวอกั ษร และกรองข้อมลู เพือ่ ให้แสดงเฉพาะผลลพั ธท์ ่ตี ้องการ 4) D คือ เครื่องมือข้อมูล (Data Tools) ใช้สำหรับจัดการข้อมูล เช่น แบ่งข้อความ เปน็ คอลมั น์ เลอื กรายการทซ่ี ำ้ กันออกไป และกำหนดการตรวจสอบการกรอกข้อมูลลงในเซลล์ 5) E คือ เค้าร่าง (Outline) ใช้สำหรับจัดกลุ่มข้อมูลที่มีมากๆ โดยสามารถยุบหรือขยาย กล่มุ เซลล์นัน้ 6. เมนูตรวจทาน (Review) เป็นเมนูที่รวบรวมประโยชน์หลายๆ อย่างเข้าด้วยกัน ซึ่งประกอบ ด้วยการตรวจสอบความถูกต้องของตัวสะกด การแทรกข้อคิดเห็น และการป้องกัน ความปลอดภยั ของแผน่ งาน เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 14 ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน รูปท่ี 9 แสดงชดุ เคร่อื งมือเมนูตรวจทาน 1) A คือ การพิสูจน์อักษร (Proofing) ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของตัวสะกด คน้ คว้าอา้ งอิง ขอ้ มลู และการใช้พจนานุกรมเพือ่ แปลคำศัพท์ 2) B คอื ภาษา (Language) ใช้สำหรบั เปลย่ี นภาษา 3) C คอื ข้อคดิ เหน็ (Comments) ใช้สำหรับเพ่มิ ข้อคดิ เหน็ หรอื เสนอแนะลงในเซลล์ 4) D คือ การเปลี่ยนแปลง (Changes) ใช้สำหรับล็อคแผ่นงานหรือสมุดงานไม่ให้ ผอู้ น่ื ใชร้ ่วม 7. เมนมู ุมมอง (View) เป็นเมนูที่ใชป้ รับเปลี่ยนมุมมองของแผ่นงานแบบต่างๆ ให้เหมาะสม กับลักษณะการทำงานในขณะนนั้ รูปที่ 10 แสดงชุดเคร่ืองมือเมนูมมุ มอง 1) A คือ มุมมองสมุดงาน (Workbook Views) ใช้สำหรับปรับเปลี่ยนมุมมองของหน้า แผน่ งานให้เปน็ ไปตามลกั ษณะของการใชง้ าน เชน่ มมุ มองแบบปกตหิ รือมมุ มองแบบเคา้ โครง เป็นตน้ 2) B คือ แสดง/ซ่อน (Show/Hide) ใช้สำหรับกำหนดให้แสดง/ซ่อนส่วนต่างๆ ในแผน่ งาน เช่น เสน้ ตาราง หวั เรือ่ ง หรอื แถบสตู ร เปน็ ต้น 3) C คือ ยอ่ /ขยาย (Zoom) ใช้สำหรบั ย่อหรือขยายหน้าแผ่นงานให้ใหญ่ขนึ้ หรือเลก็ ลง 4) D คือ หน้าต่าง (Windows) ใช้สำหรับจัดการแผ่นงาน เช่น ซ่อนแผ่นงาน ตรงึ แนวแผน่ งาน เปน็ ต้น 5) E คือ มาโคร (Macros) ใช้สำหรับสร้างมาโคร โดยการบันทึกขั้นตอนการทำงาน ไวใ้ ช้งานภายหลัง 6.5 การสร้างงาน 6.5.1 สร้างไฟลง์ านใหม่ เมื่อต้องการที่จะสร้างไฟล์งานใหม่ขึ้นมา ให้คลิกที่ปุ่มเมนู File จากนั้นจะปรากฏ หน้าตา่ งให้เลือก เมนู New และเลอื ก Blank Workbook ดังแสดงในรูปด้านล่าง เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 15 ผู้เรยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอ่ื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน รปู ท่ี 11 แสดงข้ันตอนการสรา้ งงานใหม่ 6.5.2 การบันทึกไฟลง์ าน หลังจากที่ทำงานต่างๆ บนโปรแกรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว หากต้องการบันทึกไฟล์งาน เพอื่ นำมาใช้งานในภายหลงั สามารถทำได้ โดยคลกิ ปมุ่ Save หรอื เลือกเมนู File และเลอื ก Save จากนั้นให้เลือกตำแหน่งของข้อมูลที่ต้องการบันทึกและตั้งชื่อไฟล์เอกสาร นอกจากนี้ยังสามารถ เลือกชนิดของไฟล์เอกสารที่ต้องการบันทึกได้ เช่น สมุดงาน Excel 97-2007 เมื่อต้องการให้โปรแกรม Excel เวอร์ชันตั้งแต่ 97-2003 สามารถเปิดไฟล์งานนี้ได้ หรอื ถา้ ไม่ตอ้ งการบนั ทึกแบบ Excel 97-2003 ก็ใหท้ ำการบนั ไฟลข์ อ้ มลู โดยคลิกทีป่ มุ่ Save (บนั ทกึ ) รูปที่ 12 แสดงข้นั ตอนการบันทึกไฟล์งาน หนา้ || 16 เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพือ่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 6.5.3 การทำงานกบั แผ่นงาน (Worksheet) ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทป่ี อ้ นเข้าไปภายในแผ่นงานน้ัน บางครงั้ อาจมจี ำนวนมากและมีประเภท ของข้อมูลที่แตกต่างกันจนทำให้แผ่นงานไม่เป็นระเบียบและไม่สวยงาม ดังนั้นจึงมีการจัดการ แผ่นงานที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการใช้งาน เช่น การย้ายแผ่นงาน การเพิ่มแผ่นงานเปล่า และการตั้งชอ่ื ใหแ้ ผ่นงาน เป็นต้น 1. วธิ ีเลือกแผน่ งาน แผ่นงานที่อยู่ภายใน (Workbook) บางครั้งอาจมีจำนวนหลายแผ่นงานวางเรียงรายซ้อน กนั อยแู่ ละสามารถเปิดดขู ้อมลู ต่าง ๆ ของแต่ละแผ่นงานได้ ดังนี้ 1) นำเมาส์ไปคลกิ แผน่ งานทตี่ ้องการบริเวณดา้ นล่างของหน้าต่างโปรแกรม 2) แผ่นงานที่เลือกไว้จะเกิดการแอ็คทีฟหรือทำงานข้ึนมา ซึ่งเห็นแท็บสีได้ชัดเจนกว่า แทบ็ อน่ื ๆ รปู ท่ี 13 แสดงการเลอื กแผน่ งาน 2. เพมิ่ แผน่ งานเปลา่ สมุดงานท่เี ปิดขึน้ มาใหม่โดยปกติแลว้ จะมีแผน่ งานมาใหจ้ ำนวน 1 แผน่ งานทกุ คร้ัง แต่ถ้า ขอ้ มลู ทป่ี อ้ นเขา้ ไปในแผ่นงานน้นั มีจำนวนมาก กส็ ามารถเพ่ิมแผน่ งานเขา้ ไปอกี ได้ ดงั นี้ รูปที่ 14 แสดงการเพม่ิ แผ่นงานเปลา่ 3. การจัดการแผน่ งาน ปกติแฟม้ งานของ Microsoft Excel จะแสดงแผ่นงานเพียง 1 แผ่นงาน แต่ถ้าต้องการเพ่ิม คดั ลอกหรือตัง้ ช่ือแผ่นงาน ฯลฯ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1) คลิกขวาช่ือ sheet ทต่ี อ้ งการ จะปรากฎคำสง่ั ให้เลือกใช้ 2) เลือกคำสง่ั เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 17 ผ้เู รยี บเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปเพอ่ื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน รูปที่ 15 แสดงการจดั การแผ่นงาน 6.5.4 การป้อนข้อมลู ลงเซลล์ ข้อมูลในเซลล์ มีท้ังตวั เลขและตวั อักษร ตวั เลขสามารถนำไปคำนวณค่าต่าง ๆ ได้โดยการระบุ ตำแหน่งของตัวเลข โดยปกติตวั เลขจะจดั ชดิ ขวาของเซลล์ สำหรบั ข้อความหรอื ตวั อักษร จะจดั ชิดซ้าย ในกรณีที่มีทั้งข้อความ และตัวเลขภายในเซลล์เดยี วกัน Excel จะถือว่าเป็นข้อความไม่สามารถนำไป คำนวณได้ การป้อนข้อมลู ลงในเซลล์ทำได้ ดังนี้ 1. นำเคอรเ์ ซอร์ไปท่เี ซลล์ A1 แล้วคลิก 1 ครัง้ รูปที่ 16 แสดงการป้อนขอ้ มลู ลงเซลล์ หน้า || 18 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) ผเู้ รยี บเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอื่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 2. พมิ พ์คำว่า สารสนเทศ ในช่อง A1 รปู ท่ี 17 แสดงการพมิ พข์ ้อความลงเซลล์ A1 3. ถา้ พิมพ์ผดิ ให้กดปุ่ม Backspace เพ่ือลบทีละตัวอักษร และพิมพใ์ หม่ 4. พมิ พ์เสร็จแลว้ กดปุ่ม Enter 6.5.5 การลา้ งข้อมูล 1. พิมพ์ข้อมลู ตามตวั อย่างต่อไปน้ี รูปท่ี 18 แสดงการพิมพ์ข้อมลู 2. คลกิ เลอื ก เซลล์ A2 3. ไปที่เมนู Home -> Cells คลิกปุ่ม Clear ดังภาพ หรือ กดปุ่ม Del บนแป้นพิมพ์ของ คยี บ์ อรด์ รูปท่ี 19 แสดงขั้นตอนการเลือกเซลล์เพอ่ื ลา้ งขอ้ มลู เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 19 ผู้เรยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 4. คลิกลา้ งทั้งหมด จะไดผ้ ลดังน้ี รูปที่ 20 แสดงการล้างข้อมลู เซลล์ A2 6.5.6 การลบเซลล์ การลบเซลล์จะทำให้ข้อมูลน้ันหายไป และข้อมลู ทอ่ี ยู่ในเซลลอ์ ื่นมาแทนที่ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี 1. พมิ พ์ข้อมูลตามตวั อย่างต่อไปนี้ รูปท่ี 21 แสดงข้อมลู ก่อนลบเซลล์ 2. คลกิ เลือก เซลล์ A2 รูปท่ี 22 แสดงข้นั ตอนการเลอื กเซลล์ 3. ไปทเ่ี มนู Home -> Cells คลิกปุ่ม Delete ดังภาพ รปู ที่ 23 แสดงขน้ั ตอนการลบข้อมลู ในเซลล์ หนา้ || 20 เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) ผู้เรียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพอื่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 4. จะปรากฎผลลัพธด์ งั นี้ รูปที่ 24 แสดงข้อมลู ชอ่ื “สบู่”ถูกลบในเซลล์A2และทำการเลื่อนเซลลม์ าแทนที่ จะเหน็ วา่ รายการสบู่ หายไปและ น้ำหอม เล่ือนขึ้นมาแทนที่ 6.5.7 การคดั ลอกและการวางขอ้ มลู การคัดลอก 1. พิมพ์ข้อมลู ในเซลล์ตามตำแหน่งดังภาพ 2. ใช้เมาสล์ ากตั้งแต่ A1 ถงึ C5 (A1:C5) เพื่อกำหนดบรเิ วณทีต่ อ้ งการคัดลอก รูปที่ 25 แสดงเลอื กเซลล์ A1 ถงึ C5 3. ที่เมนู Home -> คลิกปุ่มคำสั่ง Copy หรือ กดปุ่ม Ctrl + C บนแป้นพิมพ์ของ คยี บ์ อร์ด หรือคลกิ เมาส์ขวาเลือกคำสงั่ Copy จะเกดิ เสน้ ประล้อมรอบบรเิ วณทเ่ี ลอื ก รูปท่ี 26 แสดงขัน้ ตอนการคัดลอก(Copy) หนา้ || 21 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) ผูเ้ รียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน การวางข้อมลู วธิ ที ี่ 1 1. นำเมาส์ไปวางบรเิ วณท่ีต้องการวางส่วนทค่ี ดั ลอกน้ี เชน่ A7 2. ไปทเ่ี มนู Home -> คลกิ ปุ่มคำส่ัง Paste เพอื่ วางขอ้ มลู หรอื กด Ctrl + V บนปุ่มของคยี บ์ อร์ด หรือ คลิกเมาสข์ วาเลอื กคำสั่ง Paste ขอ้ ความที่คัดลอกจะมาปรากฎ ดงั ภาพ บริเวณที่วางขอ้ มูล รปู ที่ 27 แสดงขน้ั ตอนการวางข้อมูล วธิ ีท่ี 2 1. สังเกตดูท่ีมุมล่างด้านขวา จะปรากฎปุม่ เมนูลดั (Shortcut) ให้คลกิ ทีล่ ูกศร หรอื กดปุ่ม Ctrl บนปมุ่ ของคีย์บอร์ด รปู ที่ 28 แสดงข้นั ตอนการวางแบบเมนลู ดั หนา้ || 22 เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี (30001-2001) ผ้เู รยี บเรยี ง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 2. จะเกดิ ตัวเลอื กในการวางอีกหลายลกั ษณะ ดงั นี้ 1) วาง (Paste) เป็นการวางแบบปกติ ถ้าข้อมูลที่คัดลอกเป็นสูตร จะคัดลอกสูตร และมีการ ปรับปรุง การอ้างอิงตามลักษณะของสูตรนั้น นอกจากนั้นยังมีตัวเลือกอื่นเช่น วางโดย ไม่มีเสน้ ตาราง หรือ วางแบบสลับแถวและคอลัมน์ เปน็ ต้น 2) วางค่า (Paste Values) เป็นการคัดลอกและวางสิ่งที่เห็นปรากฎในเซลล์นั้น ๆ ถ้าเซลล์ นน้ั มสี ูตร Microsoft Excel จะตดั สตู รออกไป เหมือนการพมิ พป์ ้อนข้อความตามปกติ 3) ตัวเลือกการวางอื่น ๆ (Other Paste Options) สามารถวางแบบเชื่อมโยง หรือ วางเปน็ ภาพ เพอ่ื นำไปใชเ้ ป็นกราฟกิ ประกอบโปรแกรมอน่ื หรอื เพ่ือการนำเสนองาน เปน็ ต้น 6.5.8 การย้ายข้อมูล ในกรณีที่จะย้ายข้อมูล ให้ลากแถบสว่างให้ครอบคลุมบริเวณที่ต้องการย้าย จากน้ัน จึงใชเ้ มาส์ คลิกที่ขอบ แลว้ ลากไปยงั ตำแน่งทีต่ ้องการ ตวั อย่าง การยา้ ยข้อความที่อยู่ในช่วงเซลล์ A1 ถงึ A4 (A1:A4) ไปยงั ตำแหนง่ เซลล์ C1 ถงึ C4 ทำได้ดังนี้ 1. เลือกบริเวณข้อมูลที่ต้องการย้าย โดยใช้เมาส์คลิกที่ตำแหน่งเซลล์ A1 คลิกเมาส์ ค้างไว้ แล้วลากลงมาที่ตำแหนง่ เซลล์ A4 แล้วปล่อยเมาส์ บริเวณท่ีเลือกขอ้ มลู A1 ถงึ A4 รปู ท่ี 29 แสดงข้ันตอนการเลือกข้อมลู 2. นำเคอร์เซอร์ไปวางที่เส้นขอบ จะเห็นเคอร์เซอร์เปลี่ยนรูปเป็นลูกศร สี่ทิศทาง แสดงว่า เคล่ือนยา้ ยได้ บริเวณท่ีวางเมาส์ รปู ที่ 30 แสดงการวางเมาส์บริเวณขอบเซลล์ข้อมูล 3. กดเมาส์ค้างไว้ แล้วลากไปที่ตำแหน่งที่ต้องการย้าย คือ คอลัมน์ C ขอให้สังเกต กรอบส่ีเหล่ยี ม ซึ่งจะเปน็ บริเวณทข่ี อ้ มลู ที่ถกู ยา้ ยจะมาปรากฎ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 23 ผเู้ รียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอื่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน รปู ท่ี 31 แสดงการลากเมาส์จากคอลมั น์ A ไปยังคอลัมน์ C 4. ปลอ่ ยเมาส์ ข้อมูลจะถูกย้ายตามทีต่ ้องการ รูปที่ 32 แสดงผลการย้ายขอ้ มูล จากคอลัมน์ A ไปยังคอลัมน์ C 6.5.9 การปรับความกว้างคอลมั นเ์ ดียว (Column Width) ในการทำงานกับ Microsoft Excel มักจะมีการปรับความกว้างของคอลัมน์ให้เป็นไป ตามรปู แบบที่ต้องการ เช่น แบบฟอร์ม ตารางตา่ ง ๆ เป็นตน้ 1. ถ้าต้องการขยายความกว้างหรือ ลดความกว้างของคอลัมน์ แต่ละคอลัมน์ ให้นำ เคอร์เซอร์ไป วางไว้ที่เส้นขอบของคอลัมน์ที่ต้องการขยาย เมื่อเคอร์เซอร์เปลี่ยนรูปร่างเป็นลูกศร 2 หวั ดังภาพให้กดปุ่มเมาส์คา้ งไว้ แลว้ ทำการลากไปทางซ้ายหรอื ทางขวาได้ตามตอ้ งการ หรือ บริเวณท่ีวางเมาส์ รูปท่ี 33 แสดงการปรบั ความกวา้ งของคอลัมน์ 2. คลิกเมาส์ขวาคอลัมน์ที่ต้องการ ขยายความกว้าง เลือกเมนู Column width จะปรากฎหนา้ ตา่ ง ใหใ้ ส่คา่ ความกวา้ งของคอลัมนท์ ตี่ อ้ งการ เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 24 ผู้เรียบเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพอื่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน รปู ที่ 34 แสดงการกำหนดความกว้างของคอลัมน์แบบระบุตัวเลข 2. ถ้าในกรณีที่ข้อมูลตัวเลขในช่องเซลล์มีลักษณะ ####### แสดงว่าความกว้างของ เซลลน์ ้อยไป ให้นำเคอรเ์ ซอรไ์ ปวางทีห่ ัวคอลัมน์ และลากออกไปหรือดับเบ้ิลคลิกทีห่ ัวของคอลัมน์ก็ได้ รูปท่ี 35 แสดงการปรบั ความกว้างของคอลมั น์กรณีเซลล์ไม่สามารถแสดงข้อมูลได้ 3. ถ้าต้องการขยายความกว้างของเซลล์ให้ครอบคลุมความยาวของข้อมูลในทุกเซลล์ ของคอลัมน์ ให้นำเคอร์เซอร์ไปวางที่บริเวณชื่อของคอลัมน์และเมื่อเคอร์เซอร์เปลี่ยนเป็นลูกศร สองหวั ใหด้ ับเบิ้ลคลกิ ดังภาพ รูปที่ 36 แสดงการปรับความกวา้ งของคอลัมนก์ รณีเซลล์ไม่สามารถแสดงข้อมูลไดโ้ ดยการดับเบิ้ล คลกิ และผลการแสดงผลหลงั จากดบั เบ้ิลคลกิ 4. จะได้ความกว้างของคอลมั นท์ ีค่ รอบคลุมความยาวของข้อมูลทมี่ ีในคอลัมน์นัน้ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 25 ผู้เรยี บเรยี ง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 6.5.10 การปรับความกวา้ งหลายคอลัมน์ ในการจัดทำแบบฟอร์มตาราง มักจะต้องมีการจัดความกว้างของคอลัมน์หลาย คอลัมน์ ให้ เท่าๆ กัน เช่น ตารางปฏิบัติงานล่วงเวลา ตารางคะแนนนักเรียน เป็นต้น การจัดความ กวา้ งของคอลมั น์หลาย ๆ คอลมั น์ มีดงั น้ี 1. เลือกคอลัมนท์ ีต่ ้องการทำให้ความกวา้ งเทา่ กนั โดยคลกิ และลากบรเิ วณช่ือคอลมั น์ 2. ปรบั ความกว้างของคอลมั น์ ดงั ภาพ 3. เมอื่ ปลอ่ ยเมาส์จะได้คอลัมน์ทเี่ ท่ากันตามที่เลือก 6.5.11 การปรับความสงู ของแถว (Row Height) การปรับความสูงของแถว หรือปรับความสูงหลายๆ แถวพร้อมกัน สามารถทำการ ปรับได้เช่นเดียว กับการปรับความกว้างของคอลัมน์ โดยนำเคอร์เซอร์ไปวางไว้ที่เส้นระหว่างแถว ท่ีช่ือแถวและลากออก เพอ่ื กำหนดความสูง เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 26 ผเู้ รียบเรียง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่อื การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน หรือคลกิ เมาสข์ วาแถวท่ีตอ้ งการขยายความกว้าง เลอื กเมนู Row Height จะปรากฏหน้าตา่ งให้ใส่ค่า ความ กวา้ งของคอลัมน์ท่ีต้องการ 6.5.12 การลบคอลัมน์และแถว การลบ คอลัมน์ทั้งคอลัมน์ หรือ ลบแถวทั้งแถว ตัวอย่าง การลบคอลัมน์ C และ D มีวิธกี าร ดงั นี้ 1. คลกิ เลอื กคอลมั น์ C และ D ดงั ภาพ 2. ไปทเ่ี มนู Home -> Cells และคลิกปุ่มคำสั่ง Delete เพือ่ ลบหรอื แถว เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 27 ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพือ่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 3. จะเห็นว่าข้อมูลในคอลัมน์ C และ D จะถูกลบ และข้อมูลถัดไปจะเข้ามาแทนที่ ดังภาพ 4. จากข้อ 1 ถ้าต้องการล้างข้อมูล โดยไม่มีการเลือ่ นข้อมูลในคอลัมน์ถัดไปมาแทนท่ี ข้อมูลเดิม ให้กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ของคีย์บอร์ด จะล้างข้อมูลโดยไม่เลื่อนข้อมูลมาแทนท่ี ดังภาพ 5. เมอ่ื ลบไปแลว้ แต่เปลย่ี นใจไมล่ บ ใหค้ ลิกทรี่ ปู บนแถบเครอ่ื งมือดว่ น เพ่ือขอ ขอ้ มูลที่ลบ ไปแล้ว คืนมาเหมอื นเดิม ตัวอยา่ ง การลบแถว 2 และ 3 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 28 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 6.5.13 การแทรกคอลัมน์ และแถว การเพิ่ม หรือแทรกคอลัมน์ สามารถทำได้โดยการแทรกคอลัมน์ 1 คอลัมน์ การเพ่ิม คอลมั น์ ทำดงั น้ี 1. คลิกเมาสท์ ่ีชือ่ ของคอลัมน์ ทตี่ อ้ งแทรกคอลมั น์เพิ่ม หลังคลกิ เมาส์ท่ีคอลัมนจ์ ะเกิด แถบคลุมดำยาวตลอดคอลัมน์ 2. เมนู Home -> Cells คลกิ ป่มุ คำส่งั Insert เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 29 ผู้เรียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 3. หลังคลิกปุ่มคำสั่ง Insert ตำแหน่งคอลัมน์ใหม่จะแทรกเข้าทางขวาของคอลัมน์ ที่ถูกเลือก โดยปรากฏคอลัมน์ใหม่เพิ่มเข้ามาและมีการขยับข้อมูลคอลัมน์เก่าไปทางขวา แต่จะยังคง เรยี งและ มีข้อมูลเหมือนเดมิ หรอื คลิกเมาส์ขวาเลือกเมนู Insert หรอื คลิกเมาส์ขวาเลือกเมนู Insert เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 30 ผู้เรยี บเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอ่ื การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 4. การแทรกแถวหรือลบแถว สามารถทำได้เช่นเดียวกันกับขั้นตอนการแทรก คอลัมน์ เพียงแต่เปลี่ยนเป็นจากคอลัมน์เป็นแถว โดยคลิกที่หัวแถวที่ต้องการแทรก และไปที่เมนู Home -> Cells และคลกิ คำสงั่ แทรก (Insert) 6.5.14 การตรงึ แนวหน้าจอ ทางเลือกของการแบ่งหน้าจออีกวิธีหนึ่งคือการทำให้หน้าจอส่วนหนึ่งไม่เคลื่อนไหว ซึ่งต่างจากการ แบ่งหน้าจอ ที่หน้าจอทุกส่วนสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยการใช้ Scroll bar แต่การ ตรึงแนวหน้าจอจะทำให้ ส่วนที่ถูกตรึงไม่เคลื่อนที่ มีประโยชน์ในการทำให้ส่วนหัวของตารางคงท่ี ในขณะทสี่ ่วนท่ีเติมขอ้ มูลเคลื่อนที่ ไปไดเ้ รื่อย ๆ การตรึงแนวทำได้ทงั้ แนวนอนและแนวต้ัง 1. การตรึงแนวหน้าจอ 1) เลือกเมนู View -> Freeze Panes คลิกเลือก Freeze Panes การตรึงแนว จะตรึงแนวในตำแหนง่ ของเคอเซอร์ โดยตรึงทั้งแนวนอนและแนวต้ัง เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 31 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพ่อื การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน (1) ตรงึ แถวบนสดุ (Freeze Top Row) เปน็ การตรึงแนว แนวนอนแถวบนสดุ (2) ตรึงคอลัมนแ์ รก (Freeze First Column) เปน็ การตรึงแนว แนวต้งั คอลมั น์แรก 2. การยกเลิกการตรึงแนว คลิกปุ่มคำสั่ง Freeze Panes และคลิกปุ่มคำสั่ง Unfreeze Panes 6.6 การใช้คีย์ลัด Keyboard shortcut ตารางท่ี 1 การใช้ Keyboard shortcut การกระทำ Shortcut ความหมาย/การกระทำ การพิมพแ์ ละการแก้ไข Ctrl + Enter ออกจากโหมดป้อนค่า หรือแก้ไข โดยไม่เปลย่ี น ตำแหน่งเซลล์ F2 Alt + Enter แกไ้ ขข้อมูลในเซลล์ บงั คับข้ึนบรรทัดใหมใ่ นเซลล์เดียวกนั เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 32 ผู้เรียบเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพ่ือการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน F12 บันทกึ เป็น การกระทำ Shortcut ความหมาย/การกระทำ Ctrl + C คัดลอกเซลล์ทก่ี ำลังถกู เลือก Esc ยกเลิกคำสั่ง Ctrl + V วางเซลลท์ ีค่ ดั ลอก Ctrl + X ตดั เซลลท์ กี่ ำลงั ถูกเลือก Ctrl + Alt + V ถา้ มีการคัดลอกข้อมูลไว้แล้ว จะแสดงหนา้ ต่าง การวางแบบพเิ ศษ การเลือกเซลล์ Ctrl + * เลือกเซลล์ท่ีติดกันทงั้ หมด เช่น มขี ้อมูลใน เซลล์ A1 ถึง A20 ขณะนเี้ คอรเ์ ซอร์อยู่ทเี่ ซลล์ A5 ถ้ากด Ctrl คา้ งไวแ้ ละกดเคร่ืองหมาย * บรเิ วณ A1 ถงึ A20 จะถกู เลือก ข้อมลู ท่ีไมต่ ิด กับข้อมลู ชดุ น้ี จะไม่ถกู เลือก Ctrl + A เลือกพืน้ ทที่ ง้ั หมดของชุดข้อมูลนน้ั ๆ ถา้ กด Ctrl + A อกี ครง้ั จะเป็นการเลือกแผ่นงาน ทัง้ หมด Ctrl + Shift + ขยายพื้นท่ีการเลือกเซลล์จนถึงจุดสนิ้ สดุ ของชดุ ข้อ ปุ่มลูกศร มูล (ชดุ ขอ้ มลู คือบริเวณทไี่ ม่มีเซลลว์ ่างคั่น) Shift + คลกิ เลือกบรเิ วณพื้นท่ีสีเ่ หล่ียม ต้ังแต่เซลลแ์ รกท่ี คลกิ ไว้ ครอบคลมุ ถงึ บรเิ วณท่ีคลิก เชน่ คลิกท่ี เซลล์ B5 และ ไป Shift + คลิก ทเ่ี ซลล์ E30 บริเวณทีถ่ กู เลือกคอื B5:E30 Shift + ขยายพนื้ ที่การเลือกเซลล์อีก 1 เซลล์ ตามแนว ปมุ่ ลกู ศร ทิศทางลูกศร การเคลื่อนทไี่ ปยังเซลล์ตา่ ง ๆ Ctrl+G หรือ เปดิ หน้าจอให้พมิ พต์ ำแหน่งเซลลท์ ีต่ ้องการไป F5 Home เลือ่ นไปยงั เซลล์แรกของแถวนนั้ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 33 ผเู้ รียบเรียง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน การกระทำ ปุ่มลูกศร เลื่อนตำแหนง่ ไปยังเซลล์ ซ้าย ขวา บน ลา่ ง การจดั การเกีย่ วกบั ไฟล์ ตามแนวทิศทางลกู ศร Shortcut Ctrl + ความหมาย/การกระทำ ปมุ่ ลกู ศร เลอ่ื นตำแหนง่ ไปยงั เซลล์รมิ สุดของพ้ืนที่ขอ้ มูล Page ชดุ นัน้ ถ้าไม่มขี ้อมูลจะเลื่อนไปยงั ตำแหน่ง บนสดุ Down/Up ล่างสดุ ซ้ายสุด ขวาสดุ ของแผน่ งาน ตามแนว Ctrl + F4 ทิศทางลูกศร Ctrl + N เลือ่ นตำแหน่งข้ึน-ลง คร้ังละ 1 หนา้ ปดิ โปรแกรม เปดิ ไฟลใ์ หม่ 6.7 การจดั การรูปแบบ 6.7.1 การจดั รูปแบบข้อความ (Format) การจัดข้อความอยา่ งงา่ ยและรวดเร็วท่ีสดุ กค็ ือการใชเ้ คร่ืองมอื บนแถบรบิ บอน ในกลุม่ เมนู Home ซง่ึ มีกลมุ่ ย่อยประกอบด้วย แบบอักษร (Font) การจดั แนว (Alignment) ตัวเลข (Number) ลกั ษณะ (Styles) เซลล์(Calls) และการแก้ไข (Editing) การกำหนดรูปแบบของข้อความในเซลล์บางอย่าง ไมส่ ามารถทำได้เม่อื อย่ใู นสถานะป้อนคำ หรอื แก้ไข ซ่ึงสงั เกตได้จากแถบสถานะขา้ งลา่ ง หรือลกั ษณะกรอบล้อมรอบเซลล์ท่เี ป็นเสน้ สดี ำบาง และเคอร์ เซอร์ทีก่ ำลงั กระพริบพรอ้ มรับการพมิ พ์ แถบแสดงสถานะแก้ไข เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 34 ผู้เรียบเรียง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพือ่ การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน ลกั ษณะเคอรเ์ ซอรก์ ระพรบิ การออกจากสถานะปอ้ นคำ หรือแก้ไข ทำได้โดยการกดแปน้ Enter หรอื กด Ctrl + Enter หรอื คลกิ ทเี่ ครอื่ งหมายถูกหน้าแถบสตู ร หลกั การในการกำหนดรูปแบบข้อความ คอื การเปลี่ยนรูปแบบของเซลล์ ดงั นนั้ เมอื่ ต้องการเปล่ยี น ลกั ษณะของข้อความ จึงต้องเลือกเซลลท์ ีข่ ้อความนั้น ๆ เสียก่อน จากน้ันจงึ กำหนดลักษณะ ให้เปน็ ไปตาม ท่ีกำหนด 6.7.2 การจดั รูปแบบและลกั ษณะตวั อักษร ในเมนู Home -> Font เป็นทรี่ วมเครื่องมือเก่ียวกับการกำหนดตัวอกั ษร เชน่ Fonts ลักษณะ ตัวหนา ตัวเอียง ขนาด และสี เป็นต้น มวี ธิ กี ารใช้งาน ดังน้ี 1. พมิ พ์ขอ้ ความในเซลล์ที่ต้องการจัดรูปแบบ 2. กดปุ่ม Enter บนแปน้ พมิ พ์คียบ์ อร์ดเพ่ือออกจากสถานะป้อนข้อมลู 3. บนริบบอน เมนู Home กล่มุ เมนูยอ่ ย Font ใหค้ ลิกเลือกรูปแบบที่ต้องการ สามารถ กำหนดสี ขนาด ตัวหนา ตัวเอยี งได้ สามารถเลือกให้มลี ักษณะหลาย ๆ อยา่ งได้ เช่น ตัวหนาและเอยี ง เปน็ ตน้ ตัวอยา่ ง 1. พิมพ์คำว่า Information ในตำแหนง่ เซลล์ A1 และกดปุ่ม Enter บนแปน้ พมิ พ์คยี บ์ อร์ด 2. กำหนดลักษณะตัวอักษร เป็นชนิด Times New Roman ขนาด 20 ตวั หนา ตวั เอียง เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 35 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพอื่ การนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 6.7.3 การจดั แนวด้วยเครอ่ื งมือบนริบบอน ในเมนู Home มีกลุ่มการจัดแนวสำหรับจัดตำแหน่งข้อความ (Alignment) เช่น ชดิ บน ก่ึงกลาง ชิดลา่ ง ชดิ ซ้าย ชดิ ขวา การตัดคำ เปน็ ตน้ ตวั อยา่ ง การจัดก่ึงกลาง (Center) มขี ้ันตอนดงั น้ี 1. คลิกที่ตำแหน่งเซลล์ A1 และพมิ พค์ ำวา่ “Information” และกดปุ่ม Enter บนแป้นพิมพ์ คียบ์ อร์ดเพอื่ ออกจากสถานะป้อนขอ้ มลู 2. บนเมนู Home -> Alignment คลกิ ปุ่มคำสงั่ คลิกปุ่มจดั ตรงกลาง คลิกป่มุ ก่ึงกลาง และคลกิ ปุ่มการวางแนว 6.7.4 การวางแนว (Orientation) หนา้ || 36 ใชใ้ นกรณีท่ตี ้องการจดั ทิศทางหรือแนวในการแสดงข้อมูลภายในเซลล์ เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี (30001-2001) ผเู้ รยี บเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอ่ื การนำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 6.7.5 การตัดคำ (Wrap Text) ใช้ในกรณีที่ข้อมูลในเซลล์ยาวเกินขอบเขตที่เซลล์จะแสดงได้ โดยการทำให้เซลล์ สามารถแสดงข้อมลู ไดห้ ลายบรรทดั 6.7.6 การผสานเซลล์ (Merge & Center) ใชใ้ นการผสานช่องเซลลใ์ หม้ ีขนาดใหญ่ขึ้นโดยการเอาหลาย ๆ เซลลม์ ารวมกัน สามารถผสานได้ ท้ังแถวและคอลัมน์ เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 37 ผู้เรียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพือ่ การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน การผสานในแถวคอลมั น์ เช่น ผสาน A1 ถึง A4 (A1: A4) การผสานในแถวคอลมั น์ เช่น ผสาน B1 ถงึ F1 (B1: F1) เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 38 ผเู้ รียบเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพ่อื การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 6.7.7 การเลือกช่วงข้อมูล การเลือกข้อมูลภายใน Worksheet เพื่อนำไปใช้ประกอบการคำนวณหรือสร้าง แผนภูมิ น้นั สามารถการเลือกช่วงข้อมูลไดห้ ลายวิธี เชน่ 1. การเลือกขอ้ มลู แบบเป็นช่วง การ Dragเมาสห์ รอื การทำแถบสใี หก้ ับเซลล์ขอ้ มูลที่ต้องการ จะมวี ิธีการท่ีเหมือนกัน กบั การทำแถบสี ให้กบั ข้อความที่ตอ้ งการในโปรแกรม Word เพยี งแตใ่ น Excel จะเป็นกลมุ่ ของเซลล์ เทา่ นั้น ซึ่งมี ขนั้ ตอนดงั นี้ 1) คลกิ เมาสป์ ุม่ ซา้ ยคา้ งไวท้ ่ีเซลล์เรมิ่ ต้นทตี่ ้องการ 2) ทำการลากเมาส์ (Drag) ผ่านเซลลท์ ่ีต้องการทำแถบสี โดยยงั ไม่ปล่อยคลิก 3) เมื่อ Drag เมาส์ไปถึงเซลล์สุดท้ายที่ต้องการแล้ว จึงปล่อยคลิก สังเกตเซลล์ที่ได้ทำ การ Drag จะเกิดแถบสปี รากฎ 2. การเลือกข้อมลู แบบเป็นช่วงหา่ งกนั หากตอ้ งการเลือกกลุ่มเซลล์ ท่ไี ม่ติดกัน สามารถใช้การ Drag เมาส์รว่ มกับการกดปุ่ม Ctrl คา้ งไว้ เพอ่ื ทำใหส้ ามารถดำเนินการ Drag เมาส์ยงั กลมุ่ เซลล์อ่ืนทตี่ ้องการได้ในคร้ังเดียวกัน ซึ่งมี ขั้นตอน ดังนี้ 1) Drag เมาส์กับกลมุ่ เซลลท์ ี่ต้องการเลอื กกลุม่ แรก 2) กดปุ่ม Ctrl คา้ งไว้ 3) Drag เมาส์กับกลุ่มเซลล์กลุ่มที่สองหรือกลุ่มอื่นที่ต้องการ สังเกตจะเกิดแถบสีเป็น กลุ่ม ๆ ปรากฎ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 39 ผ้เู รียบเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปเพอ่ื การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 3. การเลือกทั้งแถว (Row) คลกิ ทีช่ อื่ หัวแถวที่ตอ้ งการเลือก สังเกตจะเกิดแถบสีทั้งแถวทเี่ ลอื ก ดงั รูป 4. การเลือกท้ังคอลัมน์ (Column) คลกิ ท่ีช่ือหวั คอลัมน์ที่ต้องการเลือก สังเกตจะเกิดแถบสีทัง้ คอลัมนท์ เ่ี ลือก 5. การเลอื กข้อมลู ทงั้ Work Sheets คลกิ ทีเ่ ซลล์มุมบนด้านซ้ายของจุดตัดกันของหัวแถวและหวั คอลมั น์ หรือกดปุ่ม Ctrl+A ตารางที่ 2 สรุปรปู แบบการเลือกข้อมูล หนา้ || 40 เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชพี (30001-2001) ผู้เรยี บเรยี ง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หน่วยท่ี 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพื่อการนำเสนอขอ้ มลู สารสนเทศประเภทตารางงาน วธิ ีการเลือก สญั ลกั ษณ์ของเมาส์ เลือกข้อมลู แบบเป็นช่วง วางเมาส์เป็นรปู drag คลมุ ข้อมลู ทีต่ ้องการ เลือกข้อมูลแบบเปน็ ช่วงห่างกัน Drag คลุมข้อมูลช่วงแรก กดปมุ่ Ctrl+Drag คลุมชว่ งอื่น ๆ เลือกข้อมูลทั้งคอลัมน์ ท้ังแถว คลิกสว่ นหัวคอลัมน์ หรือ หัวแถวทตี่ อ้ งการ เลอื กข้อมลู หมดทัง้ sheet คลิกจดุ ตดั ระหว่างหัวคอลมั น์กบั หัวแถว 6.7.8 การกำหนดคุณสมบตั ิเฉพาะให้กับเซลล์โดยใช้ การจดั รูปแบบเซลล์ การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ เพื่อให้เซลล์นั้นรับข้อมูลที่ถูกต้องตามชนิด ของข้อมูลและทำให้การแสดงผลทางหน้าจอมีความถูกต้องเหมาะสมตามที่ต้องการ หรือเมื่อพิมพ์ ขอ้ มลู เสร็จแล้วตอ้ งการตกแตง่ ขอ้ มูลให้สวยงาม ซง่ึ มีขั้นตอนปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. ทำการ Drag เลือกกลุ่มเซลล์ท่ีต้องการ หรือคลิกเซลล์ที่ต้องการเพ่ือให้เกิด กรอบ ส่เี หลยี่ มเข้มลอ้ มรอบเซลล์ท่ีต้องการ 2. แถบ Ribbon ชือ่ Home คลิกปุ่มเคร่อื งมือบนทูลบาร์ หรอื จดั รูปแบบข้อมูลโดยการใช้เมนู มีข้ันตอนดังน้ี 1) เลอื กชว่ งข้อมลู ท่ีต้องการ 2) คลกิ ขวาเลือกคำส่งั Format Cells จะปรากฎหน้าตา่ ง Format Cells Dialog ซี่งแบง่ ออกเปน็ กลุ่มมีทง้ั หมด 6 กลุ่ม (1) เมนูกลุ่ม Number จดั รูปแบบตวั เลข (2) เมนูกล่มุ Alignment การจดั วางข้อความ เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชพี (30001-2001) หนา้ || 41 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดินนั ต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรปู เพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน (3) เมนูกลมุ่ Font ชนิดของตัวอักษร (4) เมนูกลุ่ม Border กำหนดเส้นขอบ (5) เมนูกลมุ่ Fill กำหนดสีพื้นและลาย (6) เมนูกลมุ่ Protection ปอ้ งกันการแกไ้ ขข้อมูล เมนูยอ่ ยกลมุ่ Number ตัวอย่าง การแสดงตัวเลขให้เป็นแบบต่างๆ เช่นต้องการให้แสดงผลเป็นตัวเลขทศนิยม 2 ตำแหน่ง (1,000.00) มขี ั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเมนูย่อย Number เลือก Category เป็นแบบ Number และกำหนดให้ Decimal Places เป็นเลข 2 2. หากต้องการใหต้ ัวเลขมีการใช้ comma คนั่ เมอื่ ถงึ หลักพัน ให้คลกิ ทำเครื่องหมายถูกหน้า use 1000 Separators (,) 3. หากต้องการให้เซลล์มีการแสดงเลขจำนวนลบในรูปแบบต่าง ให้คลิกเลือกรูปแบบได้ใน Negative Numbers 4. คลกิ OK เพอื่ ให้ Excel กำหนดคุณสมบัตใิ หก้ ับเซลล์ หรอื Cancel เพอ่ื ยกเลกิ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชพี (30001-2001) หนา้ || 42 ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดินันต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู เพือ่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน การป้อนค่าตัวเลข ส่วนใหญ่นิยมป้อนแต่ตัวเลขทั้งหมด ซึ่งสามารถที่จะเปลี่ยนรูปแบบของ เซลล์นั้น ๆ ได้ในภายหลัง เช่น วันที่ เวลา ข้อความ ฯลฯ หรือถ้าต้องการจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ ทางตัวเลขหรือทางการเงินเช่น สกุลเงิน ค่าเปอร์เซ็นต์ จุลภาค เพิ่ม/ลดทศนิยม เป็นต้น ซึ่งสามารถ เรียกใช้ได้จากเมนู Home -> Number หรือคลิกขวาเลือกคำสั่ง Format Cells คลิกเมนูย่อย Number เลอื ก Category และเลือกขอ้ มูลเปน็ Number หรืออืน่ ๆ ตารางท่ี 3 ปุม่ ไอคอนชุดคำสั่งตวั เลข เมนู Home Ribbon Number ท่ีใชจ้ ดั รูปแบบเซลล์ ปุ่มคำสั่ง ชือ่ ปุ่มคำสงั่ หนา้ ทแี่ ละการใช้ รปู แบบตัวเลข เปล่ยี นรปู แบบให้เปน็ ทั่วไป ตัวเลข สกลุ เงนิ บัญชี วันท่ี รูปแบบตัวเลขทางบัญชี สกุลเงนิ เชน่ 25 เปน็ ฿ 25.00 ลกั ษณะ คา่ เปอรเ์ ซน็ ต์ เชน่ .05 เป็น 5% ลักษณะจุลภาค ใสจ่ ุลภาคใหก้ ับคา่ ตวั เลขที่เป็นหลักพนั ขนึ้ ไป เช่น 4,540,255 เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 43 ผเู้ รยี บเรยี ง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่อื การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน เพ่มิ ตำแหน่งทศนยิ ม เพิม่ หลักทศนยิ มทลี ะหลกั เช่น 12.5 เป็น 12.51 ลดตำแหนง่ ทศนิยม ลดหลักทศนยิ มทีละหลกั เชน่ 12.5 เป็น 13 6.7.1 เมนูย่อยกลุ่ม Alignment ตัวอยา่ ง การจัดรูปแบบของข้อมูลในเซลล์ ให้ชดิ ซา้ ย ชิดขวา อยู่ตรงกลาง การตัดคำหรือให้ ข้อความเอยี งไปตามองศาทีต่ ้องการ เพื่อให้เกิดความสวยงาม มขี ัน้ ตอนดังนี้ 1. คลกิ เมนูย่อย Alignment จะมีตัวเลือกท่ีจะพิจารณาดงั นี้ 1) กลมุ่ Text alignment เป็นการกำหนดใหก้ ารจัดวางข้อความอา้ งองิ ตำแหน่งการจดั ในแนวนอน (Horizontal) และแนวตั้ง (Vertical) โดยมีตวั เลือกคลิกเลือกได้ 2) กลุ่ม Orientation เปน็ การกำหนดให้ข้อมูลท่ีอยู่ในเซลล์มีการปรบั เอยี งเปน็ องศา ใดบา้ ง จะอย่ใู นช่วง -90 ถงึ 90 องศา 3) กลมุ่ Text control เป็นการกำหนดให้รูปแบบของเซลล์ขอ้ มลู ที่แสดงเปน็ แบบตา่ ง ๆ เชน่ คลิก Merge Cell จะนำเซลลท์ ่ีทำแถบสที ั้งหมดรวมเป็นเซลล์เดียวกนั Wrap Text จะปดั ตวั หนงั สอื ท่ยี าว ๆ ให้นำเสนอหลายๆ บรรทดั ใน เซลล์เดียวกัน 4) คลิก OK เพื่อให้ Excel กำหนดคุณสมบตั ใิ ห้กับเซลล์ หรือ Cancel เพ่ือยกเลกิ ตัวอย่าง การรวมเซลลห์ รือผสานเซลล์ เช่น เม่อื ต้องการป้อนข้อมูลทมี่ ีความยาวมาก ๆ และต้องการนำเสนอข้อความยาว ๆ น้ันโดยใหส้ ามารถแสดงในช่องเซลลห์ ลาย ๆ เซลล์ได้ แตไ่ มต่ ้องการขยายความกว้างของแถวหรือคอลัมน์ มขี ั้นตอนดงั น้ี 1. เลือกช่วงขอ้ มลู ที่ต้องการ 2. คลิกขวาคลิกปุ่ม ผสานและจัดกึง่ กลาง (Merge & Center) หรอื เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี (30001-2001) หน้า || 44 ผเู้ รยี บเรียง : นายอดนิ ันต์ แวบาดะ

หนว่ ยที่ 6 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพื่อการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศประเภทตารางงาน 1) เลือกช่วงข้อมลู ที่ตอ้ งการ 2) คลกิ ขวาเลือกคำสง่ั Format Cells จะปรากฎหน้าตา่ ง Format Cells Dialog 3) คลกิ เมนู Alignment 4) เมนยู ่อย Text control คลกิ ทำเครื่องหายถูกหนา้ Merge Cell เพอ่ื ทำจะนำเซลล์ท่ที ำแถบสีทั้งหมดรวมเปน็ เซลลเ์ ดยี วกนั 5) คลกิ OK เพ่ือให้ Excel กำหนดคณุ สมบัติให้กบั เซลล์ หรือ Cancel เพื่อยกเลิก หรอื ใช้เคร่ืองมือบน ริบบอน เมนู Home -> Alignment เลือก Merge & Center ถา้ ตอ้ งการยกเลิกการผสานเซลล์ ให้กลับไปที่ เมนู Home -> Alignment เลือก Merge & Center ตัวอยา่ ง การตดั คำ เปน็ การตัดตัวหนงั สอื ที่มีขนาดยาว ใหส้ ามารถแสดงได้หลายบรรทดั ในเซลลเ์ ซลลเ์ ดยี ว เชน่ เมื่อต้องการป้อนข้อมูลที่มคี วามยาวมาก ๆ และต้องการนำเสนอข้อความยาว ๆ นั้นโดยให้สามารถแสดงในช่องเซลลไ์ ด้ครบถว้ นไม่ขาดหาย มีขัน้ ตอนดงั นี้ เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 45 ผ้เู รียบเรยี ง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ

หน่วยที่ 6 การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู เพอื่ การนำเสนอข้อมลู สารสนเทศประเภทตารางงาน 1. เลอื กชว่ งขอ้ มูลท่ตี อ้ งการ 2. คลิกขวาเลือกคำสัง่ Format Cells จะปรากฎหน้าต่าง Format Cells Dialog 3. คลกิ เมนู Alignment 4. คลิกเมนูย่อย Text Alignment เลือกตำแหน่งการจัดในแนวนอน (Horizontal) เป็น Center และแนวต้ัง (Vertical) เป็น Center 5. เมนยู ่อย Text control คลกิ ทำเคร่ืองหายถูกหน้า Wrap Text เพื่อทำการตดั คำจากขอ้ ที่ ยาวๆ จากบรรทัดเดยี วให้สามารถแสดงหลาย ๆ บรรทดั ในเซลลเ์ ดยี วกัน 6. คลกิ OK เพอ่ื ให้ Excel กำหนดคุณสมบัตใิ ห้กับเซลล์ หรือ Cancel เพอื่ ยกเลิก หรือใช้เครอื่ งมือบน ริบบอน เมนู Home -> Alignment เลอื ก Wrap Text ตัวอย่าง การปรับคุณสมบตั ิของตัวอักษรท่ีแสดงในเซลลใ์ ห้เป็นรปู แบบตา่ ง ๆ มีขัน้ ตอนดังน้ี 1. เลือกชว่ งข้อมูลที่ตอ้ งการ 2. คลิกขวาเลือกคำส่ัง Format Cells จะปรากฎหน้าต่าง Format Cells Dialog 3. คลิกเมนู Alignment เอกสารประกอบการสอน วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชพี (30001-2001) หน้า || 46 ผู้เรียบเรยี ง : นายอดนิ นั ต์ แวบาดะ