Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Published by jarunee301132, 2020-06-10 00:35:17

Description: แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Search

Read the Text Version

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายสัปดาห์ แบบบรู ณาการ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการลงทะเบยี นที่ 1 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กศน.ตาบล............... ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี

แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ รายสัปดาห์ แบบบูรณาการ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการลงทะเบียนที่ 1 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองกาญจนบุรี District Non-formal and Informal Education Centre

คานา แผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการลงทะเบียนที่ 1 ฉบับน้ี จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 6 ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์ มเี นื้อหารายวิชา 6 รายวิชาหลักที่มีการลงทะเบียนเรียน คือ ทักษะการเรียนรู้ สุขศึกษา พลศึกษา ทักษะการขยายอาชีพ ประวัติศาสตร์ชาติไทย การใช้ พลงั งานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวัน 3 และโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ จุดเน้นการปฏิบัติใน การจัดทาแผนการสอนเล่มน้ี ผู้จัดทาได้รวบรวมองค์ความรู้ ทักษะและสภาพปัญหาจากการจัด กระบวนการเรียนรู้ท่ีผา่ นมา เพือ่ นามาปรับปรุงเพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้มี ประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น มีกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีครบตามเน้ือหา ตัวช้ีวัดและพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของสถานศกึ ษา ขอขอบคุณ ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความรู้ คาแนะนาและให้ คาปรึกษาเป็นแนวทาง ทาให้แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้เล่มนี้จนสาเร็จ เป็นรูปเล่มสมบูรณ์ ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สาหรับ ผู้นาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้แก้ไข ปรับปรุงดว้ ยความขอบคณุ ยงิ่

แนวนโยบาย จดุ เนน้ การปฏบิ ตั ิในการจัดการศึกษาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาหนดให้เปน็ ปแี ห่งการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา สานกั งาน กศน.จึง ปรบั ปรงุ การจดั การศกึ ษาต่างๆ เพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ดังน้ี การจัดการเรียนการสอนการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 1. ผเู้ รียน เปน็ นกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียนเรยี น มตี ัวตนจรงิ มเี ลขบัตรประชาชน และสามารถมาเรียนท่ี สถานศึกษาได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2. ครู 2.1 ครสู อนการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน หมายถงึ ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. และ ครอู าสาสมคั ร ครู 1 คน รับผดิ ชอบผู้เรียน 1 กลมุ่ ๆ ละ 50 คน 2.2 ครสู อนผู้พกิ ารทางสตปิ ญั ญา ครู 1 คน รับผดิ ชอบผู้เรยี น 1กล่มุ ๆละ 5 คนไม่เกนิ 8คน 2.3 ครูสอนผู้พกิ ารทางร่างกายครู 1คน รบั ผิดชอบผเู้ รียน 1 กล่มุ ๆ ละ 10คน ไม่เกนิ 15คน 2.4 ครู ศศช. ครู 1 คน รับผิดชอบผู้เรยี น 1 กลมุ่ ๆ ละ 40 – 80 คน ให้นบั รวมผูเ้ รยี นระดับ ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนปลาย มธั ยมศึกษาตอนปลาย และผูไ้ ม่รูห้ นงั สือด้วย 2.5 ครู English Program ครู 1คน รบั ผิดชอบผู้เรยี น 1 กลมุ่ ๆละ 30 คน ไม่เกิน 35คน 2.6 ข้าราชการครู ขา้ ราชการทีป่ ฏิบัตงิ านในสถานศึกษาที่จัดการศึกษา และสานกั งาน กศน.จงั หวัด ใหท้ าหน้าท่สี อนเสริมในวิชาทถ่ี นัด สปั ดาห์ละ 6 ชั่วโมง และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ ครบ 6 ชว่ั โมง 2.7 ครปู ระจากลุ่ม ครูประจากลุ่มให้แตง่ ต้ังครูประจากลุ่ม 3 หน่วยงานคือ หน่วยงานทหาร เรือนจา และ อสม. เท่านัน้ 2.7.1 ครปู ระจากลมุ่ 1 คน รบั ผดิ ชอบผู้เรียน 1 กลมุ่ ๆ ละ 80 คน 3.7.2 ครูประจากลุ่ม ให้มีในหน่วยงานทหาร เรอื นจา และ อสม. เทา่ นั้น 2.7.3 บุคลากร กศน. ทุกคนทร่ี ับเงินเดอื นจาก สานกั งาน กศน. และต้องการขอใบประกอบวิชาชีพครู ให้แต่งต้ังครูประจากลุ่มได้ และต้องปฏิบัติการสอนจริงโดยไม่เบิกค่าตอบแทน เม่ือมีใบประกอบ วิชาชพี ครแู ล้วไมต่ ้องทาการสอน

3. การจดั การเรียนการสอน 3.1 กาหนดให้มีการเรียนการสอน 9 ชั่วโมง แทนการพบกลุ่มแบบเดิม และใช้คาว่า การ เรียน กศน. กล่าวคือ ครูและผู้เรียนต้องมีการเรียนการสอน และทากิจกรรมร่วมกัน 9 ช่ัวโมง แบ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนและสอนเสริม จานวน 6 ช่ัวโมง จานวน 3 ชั่วโมงท่ีเหลือ เป็นการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เรียนและครู ซ่ึงเป็นกิจกรรมในแหล่ง เรยี นรู้ หรือ ICT ฯลฯ 3.2 ผู้เรยี นท่มี เี วลาเรียนไม่ครบร้อยละ 75 ไมม่ ีสิทธิเขา้ สอบปลายภาคเรยี น 3.2 ให้จดั ทาตารางการเรียนการสอน ช่วั โมงท่ี 1 ,ชว่ั โมงท่ี 2 …….. สอนวิชาอะไร สอนเสรมิ อะไร เวลาเท่าไร 3.4 ให้จัดทาตารางการสอนของข้าราชการครูท่ีทาหน้าที่สอนเสริมด้วย โดยผู้บริหารจัดทา คาสง่ั แต่งตง้ั 3.5 การสอนเสริมให้ข้าราชการครูทาหน้าท่ีสอนเสริมกลุ่มละ 1 ช่ัวโมง ถ้าข้าราชการครูไม่ พอจงึ จ้างบุคคลภายนอกมาสอนเสรมิ บคุ คลภายนอกที่สอนเสริม จะสอนเสริมได้ไม่เกิน 3 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ ส่วนจะสอนจานวนก่ีสัปดาห์ให้พิจารณาจากความเหมาะสม ความจาเป็น และวงเงิน งบประมาณของสถานศกึ ษา 4. กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.) กาหนดให้ทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) 200 ช่ัวโมง ตลอดหลักสูตร แม้ว่า ผ้เู รยี นเทยี บโอนผลการเรยี นแลว้ และเหลอื ระยะเวลาเรยี น 1-2 ภาคเรยี น กต็ ้องทา กพช. 200 ช่ัวโมง โดยใหใ้ ชห้ ลักเกณฑ์ดงั กลา่ วกบั ผ้เู รียนท้งั เก่าและใหม่ท่ลี งทะเบียนเรียน 5. การเทยี บระดบั การศกึ ษา 5.1 การเทยี บระดับการศึกษา (เดมิ ) ใหร้ ับสมัครใหมเ่ ฉพาะระดับประถมศึกษาเท่านั้น ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายและตอนปลาย ให้รับประเมินซ่อมเฉพาะผู้ขอเทียบระดับการศึกษาท่ีมีผล คะแนนบางมิติอยู่แล้ว ซึ่งจะเปิดประเมินอีก 2 ครั้ง เท่าน้ัน การเทียบระดับการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ให้มีการประเมินทกั ษะการอา่ น เขียนภาษาไทยก่อนจบด้วย 5.2 การเทยี บระดับการศึกษา (เดมิ ) และการเทียบระดับการศึกษาในระดับสงู สดุ การศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน (การเทียบระดับสูงสดุ ) ให้มกี ารจัดสัมมนาวิชาการ 3 วัน 2 คนื หรือ 50 ชวั่ โมง โดยใช้ แนวปฏิบัตเิ ชน่ เดยี วกับการเทียบระดับการศกึ ษา (เดิม) 6. การจดั การศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) 6.1 จงั หวดั ใดทีย่ งั ไม่เคยจัดการเรียนการสอน ปวช.ให้เปิดได้ 1 ห้อง 6.2 จังหวัดที่เคยจัดการเรียนการสอน ปวช.แล้ว ใหเ้ ปิดเพิม่ ไดอ้ ีก 1 ห้อง 6.3 ให้สานักงาน กศน.จังหวัด จัดทา MOU (Memorandum Of Understanding) กับ สถานประกอบการ และสถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สาหรับสถานศึกษา ขึ้นตรงใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจัดทา MOU ได้โดยตรง 6.4 ครู ปวช. 1 คน รบั ผดิ ชอบผเู้ รยี น 1 กลุ่มๆ ละ 40 คน ไม่เกิน 45 คน

7. การจัดการเรยี นการสอนผูไ้ ม่รูห้ นงั สอื 100 % 7.1 การสารวจข้อมลู ผ้ไู มร่ ู้หนังสือและความตอ้ งการทางการศกึ ษา ใหส้ ารวจประชากรทกุ คน 7.1.1 ทีม่ ีอายุ 15 ปีขนึ้ ไป 7.1.2 เก็บขอ้ มลู ทกุ ครัวเรอื น ทกุ คนและเกบ็ เป็นรายบคุ คล แมค้ นท่ีมชี ่ือแต่ไม่อยบู่ า้ นใหเ้ ก็บขอ้ มูล ทางโทรศัพท์ หรือสอบถามผู้ใกล้ชดิ ท่ที ราบข้อมูล 7.1.3 การรวบรวมข้อมูลใหค้ รู กศน. และอาสาสมัคร กศน.เป็นผู้ดาเนินการ และเบิกจ่ายค่าตอบแทน ใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบียบราชการ 7.2 การประเมินระดบั การรู้หนังสือ การประเมินระดับการรหู้ นงั สอื ประเมนิ เฉพาะผทู้ ม่ี อี ายรุ ะหวา่ ง 15-59 ปี 7.3 การสอนผูไ้ ม่รู้หนงั สือ สอนโดย ครู กศน.ทกุ คน โดยเฉล่ยี กลุ่มเป้าหมายใหค้ รูทกุ คนรบั ผดิ ชอบ ตัวอย่าง จากการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือแล้ว มผี ไู้ ม่รู้หนงั สอื 20 คน สถานศกึ ษามคี รู 5 คน (ครู กศน.ตาบล, ครู ศรช., ครูอาสาสมัคร) ใหเ้ ฉลย่ี ความรบั ผิดชอบให้ครูทั้ง 5 คน 8. อ่นื ๆ ใหแ้ ต่งตัง้ หวั หน้า กศน.ตาบล ใหค้ รบทุกตาบล โดยคัดเลอื กจากครูอาสาสมัครเปน็ อันดบั แรก

วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลกระทบตอ่ การจัดการเรียนรขู้ องผู้เรยี น การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหา ความรู้ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ และสรา้ งองค์กรความร้สู าหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซึ่งกาหนดการจัด กระบวนการเรียนรู้แบบ กศน. หรือ ONIE MODEL เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีความ หลากหลาย ประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอน ดังน้ี ขนั้ ที่ 1 กาหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O: Orientation) ขั้นที่ 2 แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรียนรู้ (N: New ways of learning) ขั้นที่ 3 ปฏิบัตแิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้ (I: Implementation) ข้นั ที่ 4 ประเมินผลการเรยี นรู้ (E: Evaluation) การจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีเหมาะสมกับผู้เรียนที่หลากหลาย มีความแตกต่างกันทั้งด้าน อาชีพ อายุ สภาพสังคม ศาสนา ฯลฯ จาเป็นต้องวิเคราะห์สภาพปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนด้านต่างๆ แล้วนามาจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนโดย บูรณาการสภาพปัญหาทั้งหมด เข้ากบั หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อมุ่งสู่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ สามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาใน ปัจจุบันได้ ดังนี้ ดา้ นการศึกษา การสบื คน้ ขอ้ มูลจากส่อื แหลง่ เรียนรู้ อนิ เตอรเ์ น็ต ความสาคัญของการเรยี นร้แู บบ กศน. และ การนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั ด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การเมืองการปกครอง สถานการณ์ทางการเมือง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ดา้ นสงั คม การวางแผนการดารงชพี ที่เหมาะสมกบั สภาพสงั คมปัจจุบนั การปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพชุมชน จารีตประเพณี ธรรมเนียมปฏิบตั ิในการอยู่ร่วมในสงั คม ด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความสาคัญของวฒั นธรรมประเพณี คุณธรรม จรยิ ธรรมในการดาเนินชวี ติ วัฒนธรรม ต่างประเทศ การปฏบิ ัติตนตามหลกั คาสอนของพทุ ธศาสนา ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม มลพศิ ทางเสยี ง ทางอากาศ ทางนา้ ป่าไมแ้ ละการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ การดาเนนิ ชีวิตตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นสขุ ภาพ ความรู้ ความเข้าใจในด้านสาธารณสขุ การใชย้ าสมนุ ไพรในการรกั ษาโรค ก กฎหมายท่ี เก่ียวข้องกบั การค้มุ ครองผู้บรโิ ภคพฤตกิ รรมการเลียนแบบ ความรเู้ รือ่ งสารเสพตดิ

ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ท และสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้ส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศทีท่ ันสมยั การเขา้ ถึงแหล่งส่งเสริมการใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างท่ัวถงึ

รายวชิ าที่ลงทะเบยี นเรียน แผนการลงทะเบยี นที่ 1

รายวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรยี น ภาคเรียนท่ี ................ ปกี ารศกึ ษา ....................... สาระการเรียนร้แู ละรายวิชาที่ลงทะเบยี นเรยี นภาคเรยี นที่ ................. ปีการศึกษา ..................... ท่ี สาระการเรียนรู้ รหสั รายวชิ าบงั คับ หนว่ ยกิต 1 ทักษะการเรียนรู้ ทร 31001 รายวิชา 5 2 ทักษะการดาเนินชวี ิต ทช 31002 2 3 การประกอบอาชีพ อช 31002 ทักษะการเรียนรู้ 4 สขุ ศึกษา พลศึกษา 11 รวม ทกั ษะการขยายอาชพี ท่ี สาระการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกและบงั คบั เลือก หนว่ ยกิต 1 การพัฒนาสังคม รหัส รายวชิ า 3 2 การพฒั นาวิชาชีพ 3 3 ทกั ษะการเรียนรู้ สค32034 ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย พว32023 3 การใช้พลังงานไฟฟา้ ใน 9 ทร02006 ชวี ติ ประจาวนั 3 รวม โครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรียนรู้

ปฏทิ ินการเรียนรู้นักศกึ ษา กศน. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนที่ .............. ปกี ารศกึ ษา .................... กศน.ตาบล........................ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบุรี

ปฏทิ นิ การเรียน หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั กา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี กศน.ตาบล............................ กศน.อาเ สปั ดาห์ที่ ว/ด/ป การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 1 ปฐมนเิ ทศนัก 2 วิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง - ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรียนร้ดู ้วยตน - ทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะการแก้ปญั หา และเ เรียนร้ดู ้วยตนเอง - การทาแผนผังความคิด - ปัจจยั ท่ที าใหก้ ารเรยี นรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ 3 วชิ า ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การใช้แหลง่ เรยี นรู้ - ความหมาย ความสาคัญ ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ - แหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทห้องสมดุ - ทักษะการเขา้ ถึงสารสนเทศของห้องสมดุ - การใช้แหล่งเรยี นรูส้ าคญั ๆ ในประเทศ

นรนู้ ักศึกษา กศน. ารศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ยนท่ี ........... ปกี ารศกึ ษา .................... เภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวัดกาญจนบุรี กจิ กรรมการเรยี นรู้ กศึกษาภาคเรียนที่ ........../................... วิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 เอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง เทคนคิ ในการ - ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรียนร้ดู ว้ ย ตนเอง - ทกั ษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และ เทคนคิ ในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง - การทาแผนผงั ความคิด - ปัจจัยที่ทาใหก้ ารเรียนรดู้ ว้ ยตนเองประสบความสาเรจ็ วิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ - ความหมาย ความสาคญั ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ - แหลง่ เรยี นรู้ประเภทหอ้ งสมดุ - ทักษะการเข้าถงึ สารสนเทศของห้องสมุด - การใชแ้ หลง่ เรียนรสู้ าคัญ ๆ ในประเทศ

สปั ดาห์ท่ี ว/ด/ป การเรียนร้แู บบบรู ณาการ - การใชแ้ หล่งเรยี นรูผ้ ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ 4 วชิ า ทกั ษะการเรียนรู้ ทร31001 การจดั การความรู้ - ความหมาย ความสาคญั หลักการ - กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การรวมกลุ่มเพอ่ื ต่อยอดความรู้ และก สารสนเทศเพอื่ เผยแพรค่ วามรู้ - ทักษะกระบวนการจัดการความรู้ 5 วชิ า ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การคดิ เป็น - ความเช่ือพนื้ ฐานทางการศกึ ษาผ้ใู หญก่ บั กระบวนการคดิ เป็น การ ปรัชญาคดิ เป็น และการคดิ การตัดสินใจแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบแ - ระบบข้อมลู การจาแนกลักษณะของข้อมูล การเกบ็ ข้อมลู การวเิ ข้อมูลทง้ั ด้านวิชาการ ดา้ นตนเอง และสงั คมสภาวะแวดล้อม โดยเน คณุ ธรรมจริยธรรมที่เกย่ี วขอ้ งกบั บุคคล ครอบครวั และชุมชน เพ่ือน ประกอบการตดั สินใจแก้ปญั หาตามแบบอย่างของคนคดิ เป็น - กรณตี วั อย่าง และสถานการณจ์ ริงในการฝกึ ปฏิบตั ิเพอ่ื การคดิ กา คนคดิ เปน็ 6 วิชา สขุ ศกึ ษา พลศึกษา ทช31002 มกี ารทางานของระบบในรา่ งกาย

กิจกรรมการเรียนรู้ - การใชแ้ หลง่ เรยี นรูผ้ ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ วิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การจัดทา การจัดการความรู้ - ความหมาย ความสาคญั หลักการ - กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การรวมกล่มุ เพื่อต่อยอดความรู้ และการ จัดทาสารสนเทศเพ่ือเผยแพรค่ วามรู้ - ทกั ษะกระบวนการจัดการความรู้ วชิ า ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 การคิดเปน็ รเชอ่ื มโยงสู่ - ความเชื่อพนื้ ฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่กับกระบวนการคดิ เปน็ การ แบบคนคดิ เป็น เชื่อมโยงส่ปู รชั ญาคดิ เป็น และการคิดการตดั สินใจแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ เคราะห์ สังเคราะห์ ระบบแบบคนคิดเป็น นน้ ไปทข่ี อ้ มลู ด้าน - ระบบข้อมลู การจาแนกลกั ษณะของขอ้ มลู การเกบ็ ข้อมลู การ นามาใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ข้อมลู ท้งั ดา้ นวิชาการ ด้านตนเอง และสังคม สภาวะแวดลอ้ ม โดยเนน้ ไปท่ขี ้อมลู ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมท่เี กย่ี วขอ้ ง ารแกป้ ัญหา แบบ กบั บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน เพอ่ื นามาใช้ประกอบการตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาตามแบบอย่างของคนคดิ เป็น - กรณตี ัวอย่าง และสถานการณจ์ รงิ ในการฝึกปฏิบตั ิเพอ่ื การคิด การ แก้ปญั หา แบบคนคิดเป็น วชิ า สุขศกึ ษา พลศึกษา ทช31002 มีการทางานของระบบในร่างกาย

สปั ดาห์ท่ี ว/ด/ป การเรยี นร้แู บบบรู ณาการ - การทางานของระบบยอ่ ยอาหาร - การทางานของระบบขบั ถ่าย - การทางานของระบบประสาท - การทางานของระบบสืบพนั ธ์ุ - การทางานของระบบต่อมไรท้ ่อ - การดูแลรกั ษาระบบของร่างกายทสี่ าคญั ปัญหาเพศศกึ ษา - ทักษะการจัดการปัญหาทางเพศ - ปัญหาทางเพศในเด็กและวยั รุ่น - การจัดการกบั อารมณ์ และความตอ้ งการทางเพศ - ความเช่ือที่ผดิ ๆ ทางเพศ - กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั การละเมดิ ทางเพศ อาหารและโภชนาการ - โรคขาดสารอาหาร - การสุขาภบิ าลอาหาร - การจดั โปรแกรมอาหารให้เหมาะสมกบั บคุ คลในครอบครวั การเสรมิ สร้างสุขภาพ - การรวมกลุ่มเพ่อื เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพในชุมชน - การออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ 7 วชิ า สุขศึกษา พลศกึ ษา ทช31002 โรคที่ถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม

กิจกรรมการเรยี นรู้ - การทางานของระบบย่อยอาหาร - การทางานของระบบขบั ถ่าย - การทางานของระบบประสาท - การทางานของระบบสืบพันธุ์ - การทางานของระบบตอ่ มไรท้ ่อ - การดูแลรักษาระบบของร่างกายทีส่ าคัญ ปัญหาเพศศกึ ษา - ทกั ษะการจดั การปญั หาทางเพศ - ปญั หาทางเพศในเดก็ และวยั รนุ่ - การจดั การกบั อารมณ์ และความต้องการทางเพศ - ความเชอ่ื ที่ผิดๆ ทางเพศ - กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการละเมดิ ทางเพศ อาหารและโภชนาการ - โรคขาดสารอาหาร - การสุขาภิบาลอาหาร - การจดั โปรแกรมอาหารใหเ้ หมาะสมกบั บุคคลในครอบครวั การเสริมสรา้ งสขุ ภาพ - การรวมกลมุ่ เพื่อเสริมสร้างสขุ ภาพในชุมชน - การออกกาลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ วชิ า สขุ ศึกษา พลศกึ ษา ทช31002 โรคทถ่ี ่ายทอดทางพันธกุ รรม

สปั ดาห์ท่ี ว/ด/ป การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ - โรคท่ีถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม - โรคทางพันธุกรรมที่สาคญั ความปลอดภัยจากการใช้ยา - หลกั การและวิธีการใช้ยาท่ีถกู ตอ้ ง - อนั ตรายจากการใชย้ า - ความเชือ่ เก่ยี วกับการใชย้ า ผลกระทบจากสารเสพตดิ - ปญั หาการแพร่ระบาดของสารเสพติดในปจั จบุ ัน - แนวทางการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของสารเสพติด - กฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั สารเสพติด ทักษะชีวิตเพอ่ื สขุ ภาพจิต - ความหมาย ความสาคญั ของทักษะชวี ติ - ทกั ษะการตระหนกั ในการรูต้ น - ทักษะการจัดการกับอารมณ์ - ทกั ษะการจดั การความเครียด 8 วชิ า ทกั ษะการขยายอาชีพ อช31002 ทักษะในการขยายอาชีพ - ความจาเปน็ ในการฝกึ ทักษะอาชีพ - ทกั ษะการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการขยายอาชีพ 9 วิชา ทักษะการขยายอาชีพ อช31002 ตรวจสอบระบบความพร้อมการสรา้ งอาชพี ให้มีความมนั่ คง

กจิ กรรมการเรียนรู้ - โรคทถ่ี ่ายทอดทางพันธุกรรม - โรคทางพนั ธุกรรมทีส่ าคญั ความปลอดภัยจากการใชย้ า - หลกั การและวธิ ีการใช้ยาที่ถูกต้อง - อันตรายจากการใช้ยา - ความเชอ่ื เกีย่ วกับการใชย้ า ผลกระทบจากสารเสพตดิ - ปัญหาการแพรร่ ะบาดของสารเสพติดในปจั จุบนั - แนวทางการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของสารเสพติด - กฎหมายทเี่ ก่ียวกบั สารเสพตดิ ทักษะชวี ติ เพือ่ สขุ ภาพจิต - ความหมาย ความสาคัญของทกั ษะชีวติ - ทักษะการตระหนกั ในการรู้ตน - ทักษะการจดั การกบั อารมณ์ - ทกั ษะการจดั การความเครียด วิชา ทักษะการขยายอาชพี อช31002 ทกั ษะในการขยายอาชีพ - ความจาเปน็ ในการฝกึ ทักษะอาชพี - ทกั ษะการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการขยายอาชีพ วชิ า ทักษะการขยายอาชีพ อช31002 ตรวจสอบระบบความพรอ้ มการสร้างอาชพี ให้มคี วามมน่ั คง

สปั ดาห์ท่ี ว/ด/ป การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ - การตรวจสอบระบบความพรอ้ มการสรา้ งอาชพี ให้มั่นคง 10 วชิ า ทกั ษะการขยายอาชพี อช31002 การพฒั นาตนเองเพอ่ื การขยายอาชีพ - การวเิ คราะห์ทาความเข้าใจและรจู้ ักตวั ตนท่แี ท้จรงิ - การพฒั นาทกั ษะการขยายอาชพี ให้เป็นลักษณะนสิ ัย ความหมาย ความสาคญั ของการขยายอาชพี - ความหมายของการจดั การขยายอาชพี ตามแนวคิดปรัชญาของเศ - ความสาคญั ของการจัดการขยายอาชพี เพอื่ ความม่นั คง ตามแนว เศรษฐกิจพอเพยี ง 11 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย สค32034 ความภูมิใจในความเป็นไทย - สถาบันหลักของชาติ - บทสรปุ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์เปน็ ศนู ยร์ วมใจของคนในชาติ - บุญคุณของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยตง้ั แตส่ มัยสโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี การประยกุ ตใ์ ช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ - ความหมาย ความสาคญั และประโยชนข์ องวธิ ีการทางประวัตศิ าส - วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 12 วิชา ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย สค32034

ศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรมการเรียนรู้ วคิดปรชั ญาของ - การตรวจสอบระบบความพร้อมการสรา้ งอาชีพให้มัน่ คง และรัตนโกสนิ ทร์ วิชา ทักษะการขยายอาชีพ อช31002 สตร์ การพฒั นาตนเองเพอ่ื การขยายอาชีพ - การวเิ คราะห์ทาความเข้าใจและรจู้ ักตัวตนทแี่ ท้จรงิ - การพัฒนาทักษะการขยายอาชพี ใหเ้ ปน็ ลกั ษณะนิสยั ความหมาย ความสาคัญของการขยายอาชพี - ความหมายของการจดั การขยายอาชีพ ตามแนวคดิ ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง - ความสาคัญของการจดั การขยายอาชพี เพ่อื ความมัน่ คง ตาม แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วชิ า ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย สค32034 ความภมู ิใจในความเปน็ ไทย - สถาบันหลักของชาติ - บทสรุปสถาบันพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ศนู ยร์ วมใจของคนในชาติ - บุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทยตงั้ แตส่ มยั สโุ ขทัย อยุธยา ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร์ การประยกุ ตใ์ ช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ - ความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของวธิ กี ารทาง ประวัติศาสตร์ - วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ วิชา ประวัติศาสตรช์ าติไทย สค32034

สปั ดาหท์ ี่ ว/ด/ป การเรยี นรู้แบบบูรณาการ พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทยสมัยรัตนโกสินทร์ - พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทยสมยั รตั นโกสินทร์ - คุณประโยชนข์ องบุคคลสาคญั มรดกไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ - ความหมาย และความสาคัญของมรดกไทย - มรดกไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ - มรดกไทยท่มี ีผลต่อการพฒั นาชาติไทย - การอนุรกั ษม์ รดกไทย - การมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์มรดกไทย 13 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย สค32034 การเปล่ยี นแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร์ - เหตุการณส์ าคญั ทางประวตั ศิ าสตรท์ ่มี ีผลต่อการพฒั นาชาตไิ ทย - ตัวอย่างการวเิ คราะห์ และอภิปรายเหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวัตศิ การพัฒนาชาติไทย 14 วิชา การใช้พลงั งานไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวัน 3 พว32023 พลังงานไฟฟ้า - การกาเนิดของไฟฟา้ - สถานการณพ์ ลังงานไฟฟา้ ของประเทศไทย ประเทศในอาเซยี น แ - หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องด้านพลงั งานไฟฟา้ ในประเทศไทย

ศาสตร์ ที่มีผลตอ่ กิจกรรมการเรยี นรู้ และโลก พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์ - พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทยสมยั รตั นโกสินทร์ - คณุ ประโยชนข์ องบคุ คลสาคญั มรดกไทยสมัยรตั นโกสินทร์ - ความหมาย และความสาคญั ของมรดกไทย - มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร์ - มรดกไทยทม่ี ผี ลตอ่ การพัฒนาชาติไทย - การอนุรกั ษ์มรดกไทย - การมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์มรดกไทย วชิ า ประวัติศาสตรช์ าติไทย สค32034 การเปลย่ี นแปลงของชาตไิ ทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ - เหตกุ ารณ์สาคัญทางประวัติศาสตรท์ ม่ี ีผลตอ่ การพัฒนาชาติไทย - ตัวอยา่ งการวิเคราะห์ และอภิปรายเหตุการณ์สาคญั ทาง ประวตั ิศาสตร์ ทมี่ ีผลตอ่ การพัฒนาชาตไิ ทย วชิ า การใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน 3 พว32023 พลังงานไฟฟา้ - การกาเนดิ ของไฟฟา้ - สถานการณพ์ ลงั งานไฟฟา้ ของประเทศไทย ประเทศในอาเซียน และโลก - หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องดา้ นพลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทย

สปั ดาหท์ ี่ ว/ด/ป การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 15 วิชา การใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวนั 3 พว32023 การผลิตไฟฟ้า - เชื้อเพลงิ และพลังงานทใี่ ชใ้ นการผลติ ไฟฟา้ - โรงไฟฟ้ากบั การจัดการดา้ นส่ิงแวดล้อม 16 วชิ า การใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวัน 3 พว32023 อปุ กรณไ์ ฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า - อปุ กรณไ์ ฟฟ้า - วงจรไฟฟา้ - สายดินและหลกั ดิน การใชแ้ ละการประหยัดพลงั งานไฟฟ้า - กลยทุ ธ์การประหยัดพลงั งานไฟฟ้า 3 อ. - การเลอื กซ้ือ การใช้ และการดแู ลรกั ษาเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ภายในบา้ น - การวางแผนและการคานวณคา่ ไฟฟา้ ในครวั เรือน 17 วิชา โครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ทร02006 หลกั การและแนวคิดของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ - หลกั การของโครงงาน - แนวคดิ ของโครงงาน ความหมายของโครงงานเพ่อื พฒั นาทักษะการเรียนรู้ - ความหมายของโครงงาน - ประเภทของโครงงาน 18 วชิ า โครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ ทร02006

กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ า การใช้พลังงานไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั 3 พว32023 การผลติ ไฟฟา้ - เชื้อเพลิงและพลงั งานที่ใช้ในการผลิตไฟฟา้ - โรงไฟฟ้ากับการจดั การด้านส่งิ แวดล้อม วชิ า การใช้พลงั งานไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวนั 3 พว32023 อุปกรณ์ไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า - อปุ กรณไ์ ฟฟ้า - วงจรไฟฟา้ - สายดนิ และหลกั ดนิ การใช้และการประหยัดพลงั งานไฟฟา้ - กลยทุ ธ์การประหยดั พลงั งานไฟฟ้า 3 อ. น - การเลอื กซ้อื การใช้ และการดูแลรักษาเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ภายในบา้ น - การวางแผนและการคานวณคา่ ไฟฟ้าในครัวเรือน วชิ า โครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการเรียนรู้ ทร02006 หลักการและแนวคิดของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการเรียนรู้ - หลกั การของโครงงาน - แนวคิดของโครงงาน ความหมายของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ - ความหมายของโครงงาน - ประเภทของโครงงาน วิชา โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ทร02006

สปั ดาหท์ ี่ ว/ด/ป การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ การเตรยี มทาโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ - ข้นั ตอนการทาโครงงาน - การพจิ ารณาเลอื กโครงงาน ทกั ษะและกระบวนการท่ีจาเปน็ ในการทางานโครงงานเพ่ือพฒั นาท (การหาข้อมูล การเลอื กใชข้ อ้ มลู การนาเสนอขอ้ มลู การตอ่ ยอดพฒั - ขัน้ ตอนการทาโครงงาน - การวางแผนกอ่ นทาการทดลอง 19 วชิ า โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ทร02006 การดาเนนิ งานในการทาโครงงาน เช่น การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ การ ออนไลน์ - การตดั สนิ ใจทาโครงงาน การสะท้อนความคิดเหน็ ต่อโครงงาน - การเตรยี มนาเสนอโครงงาน 20 สอบปลา

กจิ กรรมการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ การเตรยี มทาโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ฒนาความร)ู้ - ขน้ั ตอนการทาโครงงาน - การพจิ ารณาเลอื กโครงงาน ทกั ษะและกระบวนการท่ีจาเป็นในการทางานโครงงานเพื่อพฒั นา ทักษะการเรียนรู้ (การหาข้อมลู การเลือกใชข้ อ้ มูล การนาเสนอขอ้ มลู การต่อยอดพัฒนาความรู้) - ขัน้ ตอนการทาโครงงาน - การวางแผนก่อนทาการทดลอง วชิ า โครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ทร02006 รทาไดอารี่ การดาเนนิ งานในการทาโครงงาน เชน่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การ ทาไดอารี่ ออนไลน์ - การตดั สินใจทาโครงงาน การสะทอ้ นความคดิ เหน็ ต่อโครงงาน - การเตรยี มนาเสนอโครงงาน ายภาคเรียนท่ี ........./....................



แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE Model หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หัวเร่ือง เพิม่ ทักษะส่งเสรมิ การเรียนรู้ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ……….. ปกี ารศึกษา ……………. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั กาญจนบรุ ี สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรีได้ดาเนินการ จัดทาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หัวเพ่ิมทักษะส่งเสริมการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นคู่มือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาค เรียนที่ ......... ปีการศึกษา .................... เอกสารประกอบการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการ เรยี นรู้ท่ี 1 หวั เรอ่ื ง เพิม่ ทกั ษะส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ประกอบด้วยแผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู้ แบบประเมินการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ แนวตอบ และแบบบนั ทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ที่ .......... ปีการศึกษา ............. ในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ นายศักดิ์ชัย นาคเอย่ี ม ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชานาญการเป็นอย่างสูงท่ีเป็น ผใู้ หค้ าปรกึ ษา ในการดาเนินการจดั ทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หัวเรื่อง เพ่ิมทักษะส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี ………… ปีการศึกษา ………………… มาโดยตลอดทาให้การ ดาเนินการจัดทาแผนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ จดั ทาโดย กศน.อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี

สารบญั เรอื่ ง หน้า คานา สารบญั แผนผังการจดั หน่วยการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการ แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการตามรูปแบบ ONIE MODEL ใบความรู้ที่ 1 เรือ่ งการใช้ภาษาในการสือ่ สารความหมายในชวี ติ ประจาวนั ใบความรู้ท่ี 2 เรื่องคณุ รสู้ กึ อยา่ งไร (How do you feel?) ใบความรทู้ ี่ 3 เรอ่ื งคุณคิดอยา่ งไร (What do you think?) ใบความร้ทู ี่ 4 เร่ืองรปู แบบประโยคในภาษาองั กฤษ (Types of English Sentence) แบบประเมินการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวตอบแบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ บรรณานุกรม คณะทางาน

แผนผังหนว่ ยการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบรู ณาการ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั กา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเร รายวชิ า ทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร31001) รายวชิ า ทกั ษะการเรยี น หัวเรอื่ ง การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง หวั เร่อื ง การใชแ้ หลง่ เรีย เน้อื หา เน้อื หา - ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของ - ความหมาย ความสาค การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง - แหลง่ เรยี นร้ปู ระเภทหอ้ - ทักษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะ - ทักษะการเขา้ ถงึ สารสน - การใช้แหล่งเรียนรูส้ าคัญ การแก้ปญั หา และเทคนคิ ในการ - การใช้แหล่งเรยี นรู้ผา่ น รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ (ทร31001) หวั เรอ่ื ง เพม่ิ ทักษะส่งเส หัวเร่อื ง เรียนร้ดู ้วยตนเอง สภาพปัญหา เนือ้ หา 1. การไม่มีความรู้ทกั ษะท 2. การอา่ นไมอ่ อกเขยี นไ - การทาแผนผงั ความคิด 3. การฟังจับใจความไม่ได - ปัจจยั ทีท่ าใหก้ ารเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. การไม่มคี วามสามารถ ประสบความสาเรจ็

ร หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 หัวเร่ือง เพมิ่ ทักษะสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ารศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รยี นท่ี .......... ปีการศกึ ษา ............ นรู้ (ทร31001) กรต. ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง ยนรู้ (สค31002) คญั ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ องสมดุ หัวเรือ่ ง 1 ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี นเทศของหอ้ งสมุด ญ ๆ ในประเทศ เน้ือหา นเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ 1. คา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงคข์ องประเทศต่าง ๆ ในโลก - การตรงตอ่ เวลา - ความมรี ะเบยี บ ฯลฯ หนว่ ยท่ี 1 รายวชิ า ภาษาองั กฤษ (พต31001) สริมการเรยี นรู้ หัวเรอื่ ง สนุกกบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ที่ควรรู้ ไมไ่ ด้ เนอ้ื หา ด้ ถในการคน้ ควา้ หากระบวนการเรียนรู้ คาศัพท์ - Recycle = แปรรูปแล้วนากลับมา ใชใ้ หม่ - Material = วัสดุ - Economy = เศรษฐกิจ - World scout =ลกู เสือโลก - Religion = ศาสนา

ประเดน็ /ปัญหา/ส่งิ จาเปน็ ทีต่ อ้ งเรยี นรู้ ก 1. ผเู้ รียนขาดความรแู้ ละทักษะทีค่ วรรู้ 1 2. ผ้เู รยี นขาดความรู้และทกั ษะในการอ่าน การสะกดคา และการเขยี น แ 3. ผเู้ รียนขาดทกั ษะในการจับใจความประโยคต่างๆ ค 4. ผู้เรียนขาดทกั ษะในการสนทนาและคน้ ควา้ หากระบวนการเรยี นรู้ 2 เ ว 3 เ ก 4 แ ณ

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูกาหนดให้ผู้เรียนไปศกึ ษาค้นคว้าคาศพั ท์เก่ยี วกบั กิจวตั รประจาวัน เชน่ อาบน้า กินข้าว แปรงฟัน ทางาน ขับรถ เป็นต้น เขยี นลงในใบงานท่ี 2 พร้อมมานาเสนอหน้าช้ันเรียน โดยมี ครแู ละเพ่ือนสรุปรว่ มกัน ในวันพบกล่มุ ณ กศน.ตาบล 2. ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาเรื่องคาปฏญิ าณของลกู เสือ จากสอื่ ออนไลน์ ห้องสมดุ หนังสอื เรียน พร้อม เขียนเปน็ ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ลงในใบงานท่ี 3 ครูความคิดเห็นพร้อมให้กาลังใจใน วนั พบกล่มุ ณ กศน.ตาบล 3. ใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เล่านทิ านพรอ้ มแสดงบทบาทสมมุติเก่ียวกับการรีไซเคิล เป็นประโยคบอกเล่าหน้าชั้นเรียน โดยมีครูและเพ่ือนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ กาลังใจ ในวนั พบกลุ่ม ณ กศน.ตาบล 4. ให้ผเู้ รียนจบั ค่กู ับเพ่ือน แล้วเดินทางไปค้นคว้าหากระบวนการเรียนรู้ท่ีสะพานข้ามแม่น้า แคว พร้อมถา่ ยคลปิ วิดิโอสั้น ๆ ไม่เกิน 1 นาที พร้อมมานาเสนอหน้าชั้นเรียนในวันพบกลุ่ม ณ กศน.ตาบล

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ก หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 หัวเร่ือง หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั กา ระดับมธั ยมศึก ภาคเรยี นที่ .......... ปกี า ครั้งท่ี วนั /เดือน/ ปี ตวั ชวี้ ัด เนื้อหาสาระการ หวั เรื่อ 4. มีทักษะในการ เรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 ปฏบิ ตั ติ น รายวชิ า ทักษะ เพิ่มทักษะส่งเส เรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทร สภาพปญั หา 31001 1. การไม่มีควา ทกั ษะท่คี วรรู้ หวั เร่ือง 2. การอ่านไม่อ ไม่ได้ การเรียนรูด้ ้วย 3. การฟงั จบั ใจ ตนเอง ไม่ได้ - ความหมาย 4. การไมม่ ี ความสาคัญ และ ความสามารถใ กระบวนการของ ค้นคว้าหากระบ การเรยี นรูด้ ้วย เรียนรู้ ตนเอง - ทักษะพ้นื ฐาน ทางการศึกษาหา ความรู้ ทกั ษะการ แก้ปญั หา และ

กศน. ตามรูปแบบ ONIE Model เพ่มิ ทกั ษะสง่ เสริมการเรียนรู้ ารศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กษาตอนปลาย ารศกึ ษา ..................... อง ประเดน็ /ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเป็นทต่ี อ้ งเรียนรู้ 1. ผ้เู รยี นขาดความรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สรมิ การ และทักษะท่ีควรรู้ 1. ครูกาหนดให้ผู้เรียนไป 2. ผเู้ รียนขาดความรู้ และทักษะในการอ่าน ศึกษาคน้ คว้าคาศัพท์เก่ียวกับ การสะกดคา และการ กิ จ วั ต ร ป ร ะ จ า วั น เ ช่ น ามรู้ เขยี น อาบน้า กินข้าว แปรงฟัน 3. ผู้เรียนขาดทักษะใน ทางาน ขับรถ เป็นต้น เขียน ออกเขียน การจบั ใจความ ลงในใบงานท่ี 2 พร้อมมา ประโยคตา่ งๆ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมี จความ 4. ผเู้ รยี นขาดทกั ษะใน ครูและเพ่ือนสรุปร่วมกัน ใน การสนทนาและ วนั พบกล่มุ ณ กศน.ตาบล คน้ คว้าหากระบวนการ ในการ เรียนรู้ บวนการ 2. ให้ผู้เรียนศึกษาเร่ืองคา ปฏิญาณของลูกเสือ จากส่ือ ออนไลน์ ห้องสมุด หนังสือ เ รี ย น พ ร้ อ ม เ ขี ย น เ ป็ น

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เนือ้ หาสาระการ หวั เร่ือ เรยี นรู้ เทคนิคในการ เรียนรดู้ ้วยตนเอง - การทาแผนผัง ความคิด - ปัจจยั ทีท่ าใหก้ าร เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ประสบความสาเร็จ การจดั การความรู้ - ความหมาย ความสาคญั หลักการ - กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การ รวมกลมุ่ เพ่ือต่อ ยอดความรู้ และ การจัดทา สารสนเทศเพือ่ เผยแพรค่ วามรู้ - ทกั ษะ กระบวนการ จัดการความรู้

อง ประเด็น/ปญั หา/ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเปน็ ทตี่ ้องเรียนรู้ ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ลงในใบงานท่ี 3 ครูความ คิดเห็นพร้อมใหก้ าลังใจในวัน พบกลมุ่ ณ กศน.ตาบล 3. ใหผ้ ู้เรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 5 คน เล่านิทานพร้อมแสดง บทบาทสมมุติเก่ียวกับการรี ไซเคิลเป็นประโยคบอกเล่า หน้าชั้นเรียน โดยมีครูและ เ พื่ อ น ร่ ว ม กั น แ ส ด ง ค ว า ม คิดเห็นและให้กาลังใจ ในวัน พบกลมุ่ ณ กศน.ตาบล 4. ให้ผู้เรียนจับคู่กับเพื่อน แ ล้ ว เ ดิ น ท า ง ไ ป ค้ น ค ว้ า ห า กระบวนการเรียนรู้ที่สะพาน ข้ามแม่น้าแคว พร้อมถ่าย คลิปวิดิโอสั้น ๆ ไม่เกิน 1 นาที พร้อมมานาเสนอหน้า ชั้นเรียนในวันพบกลุ่ม ณ กศน.ตาบล



ใบงานท่ี 1 วชิ า ทักษะการเรียนร(ู้ ทร 31001) ระดับ ม.ปลาย คาสั่ง ให้นกั ศึกษาตอบคาถามให้มีความหมายทส่ี มบรู ณ์ 1. การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง หมายถึงอะไร และมีความสาคญั และกระบวนการอย่างไร ......................................................................................................................... 2. จงอธิบายปัจจัยที่ทาใหก้ ารเรียนรูด้ ว้ ยตนเองประสบความสาเร็จ ..............................................................................................................

ใบความรู้ เร่ือง หอ้ งสมดุ และแหลง่ เรยี นรอู้ ่ืนๆ หอ้ งสมดุ ถือเป็นหวั ใจของการเรยี นรู้ท่ีสาคญั ในสังคมแห่งภมู ปิ ัญญา และสังคม แห่งการ เรียนรู้ ผู้เรยี นในสถานศกึ ษาจะตอ้ งศกึ ษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง หอ้ งสมุดจึงเป็น แหลง่ เรยี นรู้ทม่ี ีสว่ นสาคัญในการจดั ประสบการณ์ให้แก่ผูเ้ รียนตามหลกั สูตร เปรยี บเสมอื นคลงั ความรูท้ ีช่ ่วย พัฒนาผเู้ รยี นในทุก ๆ ดา้ นใหเ้ ป็นผู้รักการเรียน และสนใจเรียนรู้ ตลอดชีวติ เพ่ือพัฒนาคนและสงั คมให้ สมบรู ณ์แบบ จดุ ประสงคใ์ นการเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายของหอ้ งสมดุ ได้ 2. บอกความสาคัญของหอ้ งสมุดได้ 3. บอกประโยชน์ของห้องสมดุ ได้ 4. บอกองค์ประกอบของหอ้ งสมดุ ได้ถูกตอ้ ง 5. บอกวตั ถปุ ระสงค์ของหอ้ งสมุดได้ 6. จาแนกประเภทของหอ้ งสมุดได้ 7. อธิบายถงึ ลักษณะของห้องสมุดที่ดไี ด้ 8. สามารถใช้บริการของหอ้ งสมดุ ได้ตรงตามความตอ้ งการ 9. บอกประวัติความเป็นมาของหอ้ งสมดุ ในประเทศไทยได้ 10. บอกประวตั คิ วามเป็นมาของห้องสมุดในตา่ งประเทศได้ 11. ปฏบิ ัติตนไดถ้ กู ต้องเม่อื เข้าใช้หอ้ งสมุด 12. ใชแ้ หล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ ในการคน้ ควา้ หาขอ้ มูลได้ 1. ความหมายของหอ้ งสมดุ คาว่า “หอ้ งสมุด” มีคาใช้อยูห่ ลายคา ในประเทศไทยสมยั กอ่ นเรยี กวา่ “หอหนังสือ” หอ้ งสมุด ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Library มาจากศัพทภ์ าษาละตินวา่ Libraria แปลว่าท่เี ก็บหนังสอื ห้องสมุด คือ สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการตา่ งๆ ซึ่งไดบ้ นั ทึกไวใ้ นรปู ของ หนงั สือ วารสาร ตน้ ฉบับตัวเขียน ส่งิ ตีพิมพ์อนื่ ๆ หรอื โสตทัศนวัสดุ และมกี ารจดั อยา่ งมรี ะเบียบเพือ่ บรกิ ารแกผ่ ูใ้ ช้ ในอนั ทจี่ ะส่งเสรมิ การเรยี นรู้และความจรรโลงใจตามความสนใจ และความตอ้ งการของ แต่ละ บุคคล โดยมีบรรณารักษเ์ ป็นผจู้ ัดหา และจดั เตรียมให้บรกิ ารแก่ผู้ใชห้ อ้ งสมุด 2. ความสาคญั ของห้องสมดุ ความสาคัญของห้องสมุด การศึกษาไทยตามแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษามงุ่ พัฒนาเยาวชนไทย ให้ เกง่ ดี มคี วามสขุ จากสังคมแห่งการเรยี นรู้ ซงึ่ เป็นสงั คมคุณภาพท่ีสรา้ งคนให้ตระหนกั ถงึ ความสาคัญ ของการเรียนรู้ การสรา้ งนิสยั รักการอ่าน และการแสวงหาแหลง่ เรยี นรู้ เพื่อนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ซง่ึ ปัจจุบันนี้เปน็ ยุคแหง่ ขอ้ มูลขา่ วสาร (Information Age) ผ้ทู ่ีสนใจจะศกึ ษาคน้ ควา้ ใหเ้ ป็นผู้รอบรใู้ น วิทยาการ เชีย่ วชาญในงานวิชาชีพ และทนั สมยั ต่อเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ นนั้ จาเปน็ ต้องพ่ึงพาหอ้ งสมดุ เปน็ อย่างยง่ิ ห้องสมุดเปน็ ปัจจัยสาคญั สง่ิ หน่ึงที่จะบง่ ช้ถี ึงความมมี าตรฐาน ด้านการศกึ ษาของ สถาบนั การศกึ ษาแห่งนั้น ๆ ความสาคญั ของห้องสมุดในแต่ละสถาบนั การศึกษาน้ัน อาจสรปุ ได้ดังนี้

2.1 หอ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ รวมทรพั ยากรสารสนเทศต่าง ๆ เปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้ของ สถาบันการศึกษาที่ผู้ใช้สามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลท่ตี ้องการได้ทุกสาขาวชิ าที่มกี ารเรียนการสอน ใน สถานศึกษา เพื่อใหค้ รอู าจารย์ผู้สอน และนักเรียนนักศึกษาเขา้ ค้นควา้ หาความรู้ เป็นสอ่ื กลาง ใน กระบวนการเรยี นการสอน

ใบงานท่ี 2 วชิ า ทกั ษะการเรียนรู(้ ทร 31001) ระดบั ม.ปลาย คาส่ัง ใหน้ ักศกึ ษาตอบคาถามใหม้ คี วามหมายท่สี มบูรณ์ 1. แหล่งเรียนรู้ หมายถึง ............................................................................................................. ........................................................................................................................................................ 2. มีความสาคญั อยา่ งไร .............................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............ 3. แหล่งเรียนรู้ มกี .่ี ............ประเภท อะไรบา้ ง .............. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .............................. 4. ให้นักศกึ ษาอธิบายขอ้ ดี ข้อเสียของแหลง่ เรยี นรู้ อย่างน้อย 5ขอ้

ใบความรู้ ที่ 3 ความหมายของการจดั การความรู้ การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขา้ ถงึ ความรู้และการ ถา่ ยทอดความรทู้ ่ี ต้องดาเนินการร่วมกนั กับผูป้ ฏิบตั ิงาน ซ่งึ อาจเริม่ ต้นจากการบ่งช้คี วามรู้ที่ ตอ้ งการใช้ การสร้างและแสวงหา ความรู้ การประมวลเพือ่ กล่นั กรองความรู้ การจัดการ ความร้ใู หเ้ ปน็ ระบบ การสรา้ งช่องทางเพอื่ การสือ่ สารกบั ผเู้ กย่ี วขอ้ ง การแลกเปลีย่ นความรู้ การจัดการสมัยใหม่ใชก้ ระบวนการทางปญั ญาเปน็ ส่ิงสาคญั ในการคิด ตดั สินใจ และสง่ ผล ใหเ้ กิดการกระทา การจัดการจงึ เน้นไปท่กี ารปฏบิ ตั ิ ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรูท้ ่ีควบค่กู ับการปฏิบัติ ซึง่ ในการปฏิบตั ิจาเป็น ต้องใช้ ความรูท้ ี่หลากหลายสาขาวิชามาเชอ่ื มโยงบูรณาการเพอ่ื การคิดและตัดสินใจ และ ลงมือปฏบิ ัติ จุดกาเนิดของ ความรู้คือสมองของคน เป็นความร้ทู ่ีฝังลึกอยใู่ นสมอง ช้ีแจงออก มาเป็นถอ้ ยคาหรอื ตวั อักษรได้ยาก ความรู้ นั้นเมือ่ นาไปใชจ้ ะไม่หมดไป แตจ่ ะยงิ่ เกิดความรู้ เพมิ่ พนู มากขึ้นอยใู่ นสมองของผปู้ ฏบิ ตั ิ ในยุคแรก ๆ มองว่า ความรู้ หรอื ทุนทางปัญญา มาจากการจดั ระบบและการ ตคี วามสารสนเทศ ซงึ่ สารสนเทศก็มาจากการ ประมวลข้อมลู ข้ันของการเรยี นรู้ เปรยี บดัง ปริ ะมิดตามรูปแบบนี้ ความรแู้ บ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ 1. ความรเู้ ดน่ ชัด (Explicit Knowledge) เปน็ ความรู้ท่ีเปน็ เอกสาร ตารา คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน สือ่ ตา่ ง ๆ กฎเกณฑ์ กติกา ขอ้ ตกลง ตารางการทางาน บนั ทึกจากการทางาน ความร้เู ด่นชัดจงึ มชี อื่ เรยี กอกี อยา่ งหน่ึงวา่ “ความรู้ใน กระดาษ” 2. ความรูซ้ อ่ นเร้น /ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เปน็ ความร้ทู ีแ่ ฝงอยูใ่ นตวั คน พัฒนาเป็นภมู ิปญั ญา ฝงั อยใู่ นความคิด ความเชือ่ ค่านยิ ม ที่คนได้มาจากประสบ การณ์สัง่ สมมานาน หรอื เป็นพรสวรรคอ์ นั เปน็ ความสามารถพเิ ศษเฉพาะตัวทีม่ มี าแตก่ าเนดิ หรือเรยี กอีกอยา่ งหนึ่งวา่ “ความรู้ในคน” แลกเปล่ยี นความรูก้ ัน ไดย้ าก ไม่สามารถแลก เปลี่ยนมาเปน็ ความรู้ทเี่ ปิดเผยได้ทัง้ หมด ต้องเกดิ จากการเรยี นรู้รว่ มกัน ผา่ นการเปน็ ชมุ ชน เชน่ การสังเกต การแลกเปลยี่ นเรยี นร้รู ะหวา่ งการทางาน หากเปรียบความรู้เหมอื นภเู ขานา้ แข็ง จะมลี กั ษณะดังน้ี ส่วนของน้าแข็งทล่ี อยพ้นนา้ เปรยี บเหมือนความรทู้ เี่ ดน่ ชัด คือความรู้ที่อยูใ่ น เอกสาร ตารา ซีดี วดี ีโอ หรือสื่อ อ่นื ๆ ทีจ่ ับต้องได้ ความรนู้ ้มี เี พยี ง 20 เปอรเ์ ซ็นต์ สว่ นของน้าแขง็ ทจ่ี มอยู่ใต้นา้ เปรียบเหมือนความรู้ท่ียังฝงั ลึกอย่ใู นสมองคน มี ความรูจ้ ากสิง่ ทตี่ นเองได้ปฏบิ ัติ ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นตวั หนังสือให้คนอนื่ ได้รับรู้ได้ ความรทู้ ี่ฝงั ลกึ ในตัวคนน้มี ีประมาณ 80 เปอร์เซน็ ต์ ความรู้ 2 ยคุ ความรูย้ คุ ที่ 1 เนน้ ความร้ใู นกระดาษ เน้นความรขู้ องคนสว่ นนอ้ ย ความรู้ทีส่ ร้าง ขึ้นโดยนกั วชิ าการทมี่ คี วาม ชานาญเชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น เรามักเรียกคนเหลา่ นนั้ ว่า “ผูม้ ปี ัญญา” ซึง่ เช่อื ว่าคนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ ไม่มี ปญั ญา ไมส่ นใจทีจ่ ะใช้ความรูข้ องคนเหล่าน้ัน โลกทัศนใ์ นยคุ ที่ 1 เปน็ โลกทศั น์ที่คับแคบ ความรยู้ ุคที่ 2 เป็นความรใู้ นคน หรอื อย่ใู นความสัมพนั ธร์ ะหว่างคน เปน็ การค้น พบ “ภูมิปญั ญา” ท่ีอยู่ในตวั คน ทุกคนมคี วามรู้เพราะทกุ คนทางาน ทกุ คนมีสัมพนั ธก์ ับ ผู้อ่ืน จงึ ย่อมมคี วามรู้ท่ฝี งั ลึกในตวั คนทเี่ กิดจากการ ทางาน และการมีความสัมพันธ์กนั นัน้ เรียกวา่ “ความรอู้ นั เกิดจากประสบการณ์” ซึง่ ความรู้ยคุ ที่ 2 นี้ มี คณุ ประโยชน์ 2 ประการ คอื ประการแรก ทาให้เราเคารพซึง่ กนั และกนั ว่าตา่ งก็มีความรู้ ประการท่ี 2 ทาให้

หน่วยงาน หรอื องคก์ รท่ีมีความเช่อื เช่นน้ี สามารถใช้ศกั ยภาพแฝงของทกุ คนในองคก์ รมาสร้างผลงาน สร้าง นวตั กรรมใหก้ ับองค์กร ทาให้องค์กรมีการพฒั นามากขึน้ การจัดการความรู้ การจดั การความรู้ (Knowledge Management) หมายถงึ การจัดการกับความรู้ และ ประสบการณท์ ่มี อี ยู่ในตวั คน และความรู้เด่นชัด นามาแบง่ ปนั ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ตนเอง และองค์กร ด้วยการ ผสมผสานความสามารถของคนเขา้ ด้วยกันอย่างเหมาะสม มีเป้าหมาย เพอื่ การพัฒนางาน พัฒนาคน และ พฒั นาองค์กรให้เปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ ในปจั จุบันและในอนาคต โลกจะปรับตัวเข้าสกู่ ารเป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ซึ่งความ รู้กลายเปน็ ปจั จัยสาคญั ในการพัฒนาคน ทาให้คนจาเปน็ ตอ้ งสามารถแสวงหาความรู้ พัฒนา และสร้างองคค์ วามรู้อยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื นาพาตนเองสูค่ วามสาเร็จ และนาพาประเทศชาติไป สูก่ ารพัฒนา มีความเจริญกา้ วหนา้ และ สามารถแขง่ ขันกับตา่ งประเทศได้ คนทกุ คนมีการจดั การความรูใ้ นตนเอง แต่ยงั ไมเ่ ปน็ ระบบ การจัดการความรเู้ กิด ขน้ึ ไดใ้ น ครอบครัวทม่ี ีการเรียนรตู้ ามอัธยาศัย พอ่ แม่สอนลูก ปู่ย่า ตายาย ถ่ายทอดความรู้ และภมู ปิ ัญญาให้แก่ ลูกหลานในครอบครัว ทากันมาหลายชวั่ อายุคน โดยใชว้ ิธธี รรมชาติ เชน่ พูดคุย ส่งั สอน จดจา ไมม่ ี กระบวนการทีเ่ ปน็ ระบบแตอ่ ย่างใด วิธีการดังกลา่ วถือเปน็ การจัดการความรรู้ ูปแบบหนง่ึ แตอ่ ย่างไรก็ตาม โลกในยคุ ปัจจบุ ันมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ ง รวดเรว็ ในดา้ นตา่ ง ๆ การใช้วิธีการจัดการความรู้แบบธรรมชาติ อาจ กา้ วตามโลกไมท่ ัน จงึ จาเปน็ ต้องมีกระบวนการทเ่ี ปน็ ระบบ เพื่อช่วยใหอ้ งค์กรสามารถทาให้บุคคลไดใ้ ช้ความรู้ ตาม ที่ต้องการไดท้ นั เวลา ซึ่งเปน็ กระบวนการพฒั นาคนใหม้ ีศกั ยภาพ โดยการสรา้ งและใช้ความรู้ ในการ ปฏิบตั งิ านให้เกิดผลสมั ฤทธด์ิ ขี ้นึ กวา่ เดมิ การจดั การความรู้หากไมป่ ฏิบัตจิ ะไม่เขา้ ใจ เรื่องการจัดการความรู้ นัน่ คือ “ไมท่ า ไม่รู้” การจดั การความรู้จงึ เป็นกิจกรรมของนักปฏิบัติ กระบวนการจดั การความรจู้ ึงมลี กั ษณะ เปน็ วงจรเรยี นรทู้ ี่ตอ่ เนื่องสมา่ เสมอ เปา้ หมายคือ การพฒั นางานและพฒั นาคน การจัดการความรทู้ ี่แทจ้ ริง เป็นการจดั การความรโู้ ดยกลุ่มผู้ ปฏิบตั งิ าน เป็นการดาเนินกิจกรรมรว่ มกันในกลมุ่ ผู้ทางาน เพือ่ ช่วยกนั ดงึ “ความรู้ในคน” และคว้าความรภู้ ายนอกมาใชใ้ นการทางาน ทาให้ไดร้ ับความรมู้ ากขึน้ ซึง่ ถือเปน็ การยก ระดบั ความรู้ และนาความร้ทู ไ่ี ดร้ ับการยกระดับไปใช้ในการทางานเปน็ วงจรต่อเนือ่ งไม่จบสนิ้ การจัดการความรู้จงึ ตอ้ งร่วมมือกนั ทาหลายคน ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกต่างในแต่ละบคุ คล จะกอ่ ให้เกดิ การสร้างสรรค์ด้วยการใชก้ ระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ มีปณิธานมงุ่ มั่นทจ่ี ะทางาน ให้ประสบ ผลสาเร็จดีขนึ้ กวา่ เดิม เมอื่ ดาเนินการจัดการความรู้แล้วจะเกดิ นวตั กรรมในการ ทางาน น่นั คือเกดิ การตอ่ ยอด ความรู้ และมีองคค์ วามรเู้ ฉพาะเพ่ือใช้ในการปฏิบัตงิ านของ ตนเอง การจดั การความรู้มิใชก่ ารเอาความรูท้ ่มี ีอยู่ ในตาราหรอื จากผู้เชย่ี วชาญมากองรวมกัน และจัดหมวดหมู่ เผยแพร่ แต่เปน็ การดงึ เอาความรู้เฉพาะส่วนท่ใี ช้ ในงานมาจัดการใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ตนเอง กลมุ่ หรือชมุ ชน การจดั การความรู้เปน็ การเรยี นร้จู ากการปฏิบตั ิ นาผลจากการปฏิบัตมิ าแลก เปลย่ี นเรียนรู้กัน เสริมพลังของ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ด้วยการชนื่ ชม ทาใหเ้ ปน็ กระบวน การแหง่ ความสุข ความภูมิใจ และการเคารพเห็น คณุ ค่าซึ่งกันและกนั ทกั ษะเหล่านี้ นาไปสกู่ ารสร้างนิสยั คดิ บวกทาบวก มองโลกในแงด่ ี และสรา้ งวฒั นธรรมใน องค์กรท่ี ผคู้ นสัมพันธ์กันด้วยเรือ่ งราวดี ๆ ดว้ ยการแบง่ ปันความรู้ และแลกเปลี่ยนความรูจ้ าก ประสบการณ์ ซ่ึงกนั และกนั โดยท่กี จิ กรรมเหล่านีส้ อดคลอ้ งแทรกอยู่ในการทางาน ประจาทุกเรื่อง ทุกเวลา...

ความสาคญั ของการจัดการความรู้ หวั ใจของการจัดการความร้คู ือ การจัดการความรทู้ มี่ ีอยู่ในตัวบุคคล โดยเฉพาะ บุคคลที่มี ประสบการณใ์ นการปฏิบัตงิ านจนงานประสบผลสาเร็จ กระบวนการแลกเปลย่ี น เรยี นรรู้ ะหว่างคนกบั คน หรอื กลุ่มกับกลุ่ม จะก่อให้เกดิ การยกระดบั ความรู้ท่ีสง่ ผลตอ่ เปา้ หมายของการทางาน นั่นคือเกดิ การพัฒนา ประสทิ ธิภาพของงาน คนเกิดการพฒั นา และ สง่ ผลต่อเนอ่ื งไปถึงองค์กร เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ ผลท่เี กิด ขนึ้ กบั การจัดการความรู้ จึง ถอื วา่ มีความสาคัญต่อการพัฒนาบคุ ลากรในองคก์ ร ซึง่ ประโยชน์ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ตอ่ บคุ คล กลุ่ม หรอื องค์กร มีอยา่ งน้อย 3 ประการ คอื 1. ผลสมั ฤทธิข์ องงาน หากมีการจัดการความรู้ในตนเอง หรือในหน่วยงาน องคก์ ร จะเกดิ ผลสาเรจ็ ทรี่ วดเร็ว ยง่ิ ข้ึน เนอ่ื งจากความรู้เพือ่ ใชใ้ นการพัฒนางานนนั้ เป็นความรูท้ ไี่ ด้ จากผู้ที่ผ่านการปฏิบัตโิ ดยตรง จึงสามารถ นามาใช้ในการพัฒนางานไดท้ ันที และเกิด นวตั กรรมใหม่ในการทางาน ทง้ั ผลงานท่เี กิดข้ึนใหม่ และวฒั นธรรม การทางานร่วมกนั ของ คนในองคก์ รที่มคี วามเอ้ืออาทรต่อกนั 2. บคุ ลากร การจัดการความรใู้ นตนเองจะส่งผลให้คนในองค์กรเกดิ การพฒั นา ตนเอง และสง่ ผลรวมถึงองค์กร กระบวนการเรียนรจู้ ากการแลกเปลีย่ นความร้รู ว่ มกัน จะทาใหบ้ ุคลากรเกิดความม่นั ใจในตนเอง เกดิ ความเปน็ ชุมชนในหมู่เพ่ือนรว่ มงาน บุคลากร เปน็ บคุ คลเรียนรูแ้ ละส่งผลใหอ้ งคก์ รเป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรอู้ ีกดว้ ย 3. ยกระดับความร้ขู องบคุ ลากรและองค์กร การแลกเปล่ียนเรียนรู้ จะทาให้ บุคลากรมีความรู้เพมิ่ ขึ้นจากเดมิ เห็นแนวทางในการพัฒนางานท่ีชัดเจนมากข้นึ และเม่ือ นาไปปฏบิ ัติจะทาให้บุคคลและองคก์ รมีองค์ความรู้ เพอ่ื ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านในเรอื่ งทส่ี ามารถ นาไปปฏิบัติได้ มีองค์ความรู้ที่จาเป็นตอ่ การใชง้ าน และจัดระบบให้ อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใช้ การท่เี รามีการจดั การความรูใ้ นตวั เอง จะพบว่าความรใู้ นตัวเราท่ีคิดว่าเรามี เยอะแล้วน้นั จรงิ ๆ แลว้ ยงั น้อยมากเม่อื เทยี บกับบุคคลอน่ื และหากเรามกี ารแบ่งปัน แลกเปล่ยี นความรู้กับบคุ คลอืน่ จะพบว่ามี ความรู้บางอย่างเกดิ ข้ึนโดยท่เี ราคาดไม่ถึง และหากเราเหน็ แนวทางมีความรแู้ ลว้ ไมน่ าไปปฏบิ ตั ิ ความรนู้ ั้นก็จะ ไม่มีคณุ คา่ อะไร เลย หากนาความร้นู นั้ ไปแลกเปลี่ยน และนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิที่เปน็ วงจรต่อเนื่องไมร่ จู้ บ จะเกดิ ความรูเ้ พ่ิมข้ึนอยา่ งมาก หรือทเี่ รียกวา่ “ยิ่งให้ ย่งิ ได้รบั ” หลกั การของการจดั การความรู้ การจัดการความรู้ ไมม่ สี ตู รสาเรจ็ ในวธิ กี ารของการจัดการเพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ในเรอื่ งใดเร่ือง หนึ่ง แตข่ ึน้ อย่กู บั ปณิธานความมุ่งมัน่ ท่ีจะทางานของตน หรือกจิ กรรมของกลุม่ ตนให้ดีขึน้ กวา่ เดมิ แลว้ ใช้ วิธกี ารจดั การความรูเ้ ปน็ เครื่องมอื หน่ึงในการพัฒนางานหรอื สรา้ งนวัตกรรมในงาน มีหลักการสาคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. ให้คนหลากหลายทศั นะ หลากหลายวิถชี ีวิต ทางานรว่ มกนั อย่างสรา้ งสรรค์ การจัดการความร้ทู ่ีมีพลงั ต้อง ทาโดยคนทีม่ พี ้นื ฐานแตกตา่ งกัน มคี วามเชอื่ หรือวธิ ีคดิ แตกต่างกัน (แตม่ ีจุดรวมพลัง คือ มีเป้าหมายอย่ทู ่ีงาน ด้วยกนั ) ถ้ากลมุ่ ที่ดาเนนิ การจัดการความรู้ประกอบด้วยคนท่คี ดิ เหมอื น ๆ กัน การจดั การความร้จู ะไมม่ พี ลงั ใน การจัดการความรู้ ความแตกตา่ งหลากหลาย มีคุณคา่ มากกว่าความเหมอื น 2. ร่วมกนั พัฒนาวธิ ีการทางานในรูปแบบใหม่ ๆ เพอ่ื บรรลุประสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธผลท่ีกาหนดไว้ ประสทิ ธิผลประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ คอื 2.1 การตอบสนองความต้องการ ซง่ึ อาจเปน็ ความตอ้ งการของตนเอง ผรู้ ับบริการ ความต้องการของสังคม หรือความตอ้ งการท่กี าหนดโดยผ้นู า องค์กร 2.2 นวัตกรรม ซ่งึ อาจเปโ็ นนวตั กรรมด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรือวธิ กี ารใหม่ ๆ กไ็ ด้ 2.3 ขดี ความสามารถของบุคคล และขององคก์ ร

2.4 ประสทิ ธภาพในการทางาน 3. ทดลองและการเรยี นรู้ เนอื่ งจากกิจกรรมการจดั การความรู้ เป็นกิจกรรมที่ สรา้ งสรรค์ จึงต้องทดลองทา เพียงนอ้ ย ๆ ซ่ึงถา้ ล้มเหลวก็ก่อผลเสยี หายไมม่ ากนัก ถ้าได้ผล ไมด่ กี ย็ กเลิกความคิดน้นั ถา้ ได้ผลดีจึงขยายการ ทดลองคอื ปฏิบตั ิมากขน้ึ จนในท่ีสุดขยาย เป็นวิธีทางานแบบใหม่ หรือที่เรยี กวา่ ได้วธิ กี ารปฏิบตั ทิ ่ีสง่ ผลเปน็ เลิศ (best practice) ใหม่ นนั่ เอง 4. นาเข้าความร้จู ากภายนอกอยา่ งเหมาะสม โดยต้องถอื วา่ ความรู้จากภายนอก ยงั เป็นความรทู้ ี่ “ดิบ” อยู่ ตอ้ งเอามาทาให้ “สุก” ใหพ้ รอ้ มใชต้ ามสภาพของเรา โดยการ เตมิ ความรู้ที่มตี ามสภาพของเราลงไป จึงจะเกดิ ความรู้ที่เหมาะสมกับทเ่ี ราต้องการใช้ หลักการของการจดั การความรู้ จึงมุง่ เนน้ ไปทกี่ ารจัดการที่มปี ระสิทธิภาพ เพราะ การจดั การความรู้เปน็ เครือ่ งมอื ระดมความรใู้ นคน และความรู้ในกระดาษทงั้ ท่ีเปน็ ความรู้ จากภายนอก และความรู้ของกล่มุ ผู้รว่ มงาน เอามาใช้และยกระดบั ความรู้ของบคุ คล ของ ผู้ร่วมงานและขององคก์ ร ทาให้งานมคี ณุ ภาพสูงขนึ้ คนเปน็ บุคคลเรยี นรู้และองค์กรเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ การจดั การความรจู้ งึ เป็นทักษะสิบสว่ น เปน็ ความรู้ เชงิ ทฤษฎีเพยี ง ส่วนเดียว การจัดการความรู้จงึ อยู่ในลักษณะ “ไม่ทา-ไมร่ ”ู้ กระบวนการในการจัดการความรู้ การจัดการความร้นู ้นั มหี ลายรปู แบบ หรอื ทเี่ รยี กกันว่า “โมเดล” มหี ลากหลาย โมเดล หัวใจของ การจัดการความร้คู ือ การจดั การความรู้ที่อยู่ในตัวคน ในฐานะผู้ปฏบิ ัติ และเป็นผูม้ ีความรู้ การจัดการความร้ทู ี่ ทาให้คนเคารพในศักดิ์ศรีของคนอนื่ การจัดการ ความรู้นอกจากการจัดการความรใู้ นตนเองเพอื่ ใหเ้ กดิ การ พฒั นางานและพฒั นาตนเองแลว้ ยังมองรวมถึงการจดั การความร้ใู นกลมุ่ หรือองค์กรดว้ ยรปู แบบ การจดั การ ความรจู้ ึงอยู่บน พ้ืนฐานของความเชอื่ ท่ีวา่ ทกุ คนมคี วามรู้ ปฏบิ ตั ิในระดับความชานาญท่ตี ่างกนั เคารพ ความรู้ท่อี ยูใ่ นตวั คน ดร.ประพนธ์ ผาสกุ ยดึ ไดค้ ิดคน้ รปู แบบการจัดการความรไู้ ว้ 2 แบบ คือ รปู แบบ ปลาทูหรือท่ีเรียกวา่ “โมเดลปลาทู” และรปู แบบปลาตะเพยี น หรือทีเ่ รยี กวา่ “โมเดลปลา ตะเพียน” แสดงใหเ้ ห็นถึงรปู แบบการ จดั การความรู้ในภาพรวมของการจัดการ ท่ีครอบคลุม ทง้ั ความร้ทู ชี่ ดั แจง้ และความรทู้ ี่ฝังลกึ ดังนี้ โมเดลปลาทู เพอื่ ใหก้ ารจัดการความรู้ หรอื KM เปน็ เร่ืองทเ่ี ขา้ ใจง่าย จงึ กาหนดใหก้ ารจัดการ ความรเู้ ปรียบ เหมือนกับปลาทูตวั หน่งึ มสี ง่ิ ที่ต้องดาเนินการจดั การความรอู้ ยู่ 3 สว่ น โดย กาหนดวา่ ส่วนหัว คอื การกาหนด เป้าหมายของการจดั การความรู้ทช่ี ัดเจน ส่วนตวั ปลา คอื การแลกเปลี่ยนความรซู้ ่ึงกันและกัน และส่วนหาง ปลา คอื ความรู้ทไี่ ด้รบั จากการแลกเปล่ยี น เรียนรู้ รปู แบบการจดั การความรตู้ าม “โมเดลปลาทู สว่ นที่ 1 “หวั ปลา” หมายถงึ “Knowledge Vision” หรอื KV คือเปา้ หมายของ การจัดการความรู้ ผใู้ ช้ต้องรู้ ว่าจะจัดการความรเู้ พือ่ บรรลุเปา้ หมายอะไร เกีย่ วข้องหรอื สอด คล้องกับวิสัยทัศน์ พนั ธกิจและยทุ ธศาสตรข์ อง องค์กรอย่างไร เชน่ จดั การความรู้เพ่อื เพิ่ม ประสทิ ธิภาพของงาน จัดการความร้เู พอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ ดา้ นยา เสพตดิ จัดการความรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิตด้านสิ่งแวดล้อม จัดการความรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ ดา้ นชีวิตและ ทรพั ยส์ นิ จัดการความรเู้ พือ่ ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียมประเพณดี งั้ เดิมของคนในชุมชน เป็นตน้ สว่ นท่ี 2 “ตัวปลา” หมายถึง “Knowledge Sharing” หรือ KS เปน็ การแลก เปลย่ี นเรียนรหู้ รอื การแบง่ ปัน ความรู้ท่ฝี ังลกึ ในตวั คนผ้ปู ฏบิ ัติ เป็นการแลกเปลี่ยนวธิ กี าร ทางานท่ปี ระสบผลสาเรจ็ ไมเ่ นน้ ที่ปัญหา เครือ่ งมอื

ในการแลกเปลย่ี นเรยี นรมู้ หี ลากหลาย แบบ อาทิ การเลา่ เรื่อง การสนทนาเชิงลึก การช่นื ชมหรือการสนทนา ในเชงิ บวก เพือ่ นชว่ ย เพอื่ น การทบทวนการปฏิบัตงิ าน การถอดบทเรียน การถอดองค์ความรู้ ส่วนที่ 3 “หางปลา” หมายถงึ “Knowledge Assets” หรอื KA เป็นขมุ ความรู้ ทไ่ี ดจ้ ากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีเครื่องมอื ในการจัดเกบ็ ความรูท้ ่มี ีชีวิตไม่หยุดนิ่ง คือ นอก จากจัดเกบ็ ความร้แู ลว้ ยงั ง่ายในการนาความรู้ ออกมาใชจ้ ริง ง่ายในการนาความรอู้ อกมาตอ่ ยอด และงา่ ยในการปรับขอ้ มูลไม่ให้ลา้ สมยั ส่วนนจ้ี งึ ไม่ใช่สว่ นท่ี มีหน้าท่เี กบ็ ข้อมลู ไว้เฉย ๆ ไม่ใช่หอ้ งสมดุ สาหรบั เก็บสะสมขอ้ มูลทน่ี าไปใช้จริงได้ยาก ดังนน้ั เทคโนโลยกี าร สอ่ื สารและ สารสนเทศ จงึ เปน็ เคร่ืองมอื จัดเกบ็ ความรอู้ ันทรงพลงั ยงิ่ ในกระบวนการจัดการความรู้ ตัวอยา่ งการจดั การความรเู้ รื่อง “พัฒนากลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชน” ในรปู แบบปลาทู โมเดลปลาตะเพยี น กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการจดั การความรู้ เป็นกระบวนการแบบหน่งึ ที่จะชว่ ยใหอ้ งคก์ รเขา้ ถึง ขัน้ ตอน ที่ทาใหเ้ กิด การจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรูท้ ีจ่ ะเกิดข้นึ ภายในองค์กร มีข้ันตอน 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การบง่ ชีค้ วามรู้ เปน็ การพิจารณาวา่ เปา้ หมายการทางานของเราคอื อะไร และ เพือ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายเรา จาตอ้ งร้อู ะไร ขณะน้เี รามีความร้อู ะไร อยใู่ นรูปแบบใด อยกู่ ับใคร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ เปน็ การจัดบรรยากาศและวฒั นธรรมการทางาน ของคนในองคก์ รเพอ่ื เอื้อให้ คนมคี วามกระตือรอื รน้ ในการแลกเปล่ยี นความรู้ซง่ึ กนั และกนั ซงึ่ จะก่อใหเ้ กดิ การสร้างความร้ใู หม่ เพ่ือ นาไปใชใ้ นการพฒั นาอย่ตู ลอดเวลา 3. การจัดการความรูใ้ ห้เปน็ ระบบ เปน็ การจดั ทาสารบัญและจัดเก็บความรูป้ ระเภท ตา่ ง ๆ เพ่อื ใหก้ ารเกบ็ รวบรวมและการคน้ หาความรู้ นามาใชไ้ ดง้ ่ายและรวดเรว็ 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ เปน็ การประมวลความรูใ้ หอ้ ยใู่ นรูปเอกสาร หรือรปู แบบอ่ืน ๆ ที่มี มาตรฐาน ปรบั ปรงุ เนือ้ หาให้สมบรู ณ์ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย และใชไ้ ด้ ง่าย 5. การเขา้ ถึงความรู้ เปน็ การเผยแพร่ความรู้เพือ่ ใหผ้ อู้ น่ื ได้ใชป้ ระโยชน์ เข้าถงึ ความรไู้ ด้ง่ายและสะดวก เชน่ ใช้เทคโนโลยี เว็บบอร์ด หรือบอร์ดประชาสัมพันธ์ เปน็ ตน้ 6. การแบง่ ปันแลกเปลยี่ นความรู้ ทาได้หลายวธิ ีการ หากเป็นความรเู้ ดน่ ชดั อาจ จัดทาเป็นเอกสาร ฐานความรู้ทีใ่ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หากเปน็ ความรู้ทฝ่ี ังลึกท่ีอยู่ในตวั คน อาจจัดทาเป็นระบบแลกเปลยี่ น ความรเู้ ป็นทมี ข้ามสายงาน ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ พ่ีเลี้ยง สอนงาน การสับเปล่ียนงาน การยืมตวั เวที แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เป็นต้น 7. การเรยี นรู้ การเรียนรูข้ องบุคคลจะทาให้เกดิ ความรใู้ หม่ ๆ ข้ึนมากมาย ซ่งึ จะ ไปเพิ่มพนู องคค์ วามรู้ของ องค์กรท่มี อี ยู่แล้วให้มากขึน้ เรื่อย ๆ ความรู้เหล่านี้จะถกู นาไปใช้ เพื่อสร้างความรูใ้ หม่ ๆ เปน็ วงจรทไี่ ม่ส้ินสดุ เรียกว่าเปน็ “วงจรแหง่ การเรียนร”ู้ เครอ่ื งมอื ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การความรู้ การจัดการความรู้ หัวใจสาคญั คือการจดั การความรู้ท่อี ยู่ในตัวคน เครอื่ งมอื ที่ เก่ียวข้องกบั การจดั การ ความรเู้ พือ่ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ จึงมีหลากหลายรูปแบบ ดงั น้ี 1. การประชุม (สมั มนา ปฏิบัติการ) ทั้งทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ เปน็ การแลกเปลีย่ นเรยี นร้รู ว่ มกัน หน่วยงานองค์กรต่าง ๆ มีการใช้เครอ่ื งมือการจัดการความรู้ ในรูปแบบน้กี ันมาก โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ 2. การไปศึกษาดงู าน นั่นคอื แลกเปล่ียนเรยี นรู้จากการไปศกึ ษาดงู าน มีการ ซักถาม หรือจัดทาเวทีแสดงความ คิดเหน็ ในระหว่างไปศึกษาดูงาน กถ็ ือเป็นการแลกเปลี่ยน ความรู้ร่วมกนั คือ ความรู้ยา้ ยจากคนไปสู่คน

3. การเล่าเรือ่ ง (storytelling) เป็นการรวมกลุ่มกันของผปู้ กิบตั งิ านท่ีมลี ักษณะ คล้ายกนั ประมาณ 8-10 คน แลกเปล่ยี นเรียนร้โู ดยการเล่าเรอื่ งสูก่ นั ฟัง การเล่าเรอื่ งผู้ฟัง จะตอ้ งนง่ั ฟงั อย่างมีสมาธิ หรอื ฟังอย่างลึกซ้งึ จะ ทาใหเ้ ข้าใจในบริบทหรือสภาพความเป็นไป ของเรื่องทเี่ ล่า เมอื่ แต่ละคนเล่าจบ จะมกี ารสกัดความรู้ทเี่ ปน็ เทคนิค วิธีการที่ทาให้งาน ประสบผลสาเร็จออกมา งานที่ทาจนประสบผลสาเร็จเรยี กว่า best practice หรือ การปฏบิ ตั ิ งานท่ีเลิศซึ่งแต่ละคนอาจมีวธิ กี ารทีแ่ ตกตา่ งกนั ความร้ทู ไ่ี ดถ้ อื เป็นการยกระดับความรู้ให้กบั คนท่ี ยังไมเ่ คยปฏบิ ตั ิ และสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับประยกุ ตใ์ ช้เพอ่ื พฒั นางานของตนเองได้ 4. ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ (Community of Practice : CoPs) เปน็ การรวมตวั กันของ คนที่สนใจเร่ืองเดียวกัน รวมตัวกันเพือ่ แลกเปลี่ยนท้ังเป็นทางการ ผ่านการส่อื สารหลาย ๆ ช่อง ทาง อาจรวมตัวกนั ในลกั ษณะของการ ประชมุ สัมมนา และแลกเปล่ยี นความรู้กัน หรือการ รวมตวั ในรปู แบบอืน่ เช่น การตง้ั เปน็ ชมรม หรือใช้ เทคโนโลยใี นการแลกเปล่ยี นความรกู้ นั ในลักษณะของเว็บบล็อก ซึง่ สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา และประหยดั ค่าใช้จ่ายอกี ด้วย การแลกเปล่ียนเรียนรู้จะทาให้เกดิ การพฒั นาความรู้ และตอ่ ยอดความรู้ 5. การสอนงาน หมายถึง การถา่ ยทอดความร้หู รือบอกวิธีการทางาน การชว่ ย เหลอื ให้คาแนะนา ใหก้ าลังใจ แกเ่ พอื่ นรว่ มงาน รวมทง้ั การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือถา่ ยทอดและ แลกเปล่ยี นความรูจ้ ากคนทร่ี มู้ าก ไปสู่คนท่รี ู้ นอ้ ยในเรือ่ งนนั้ ๆ 6. เพื่อนชว่ ยเพอื่ น (Peer Assist) หมายถึง การเชิญทมี อืน่ มาแบง่ ปนั ประสบ การณ์ดี ๆ ทเ่ี รียกวา่ best practice ใหเ้ รา มาแนะนา มาสอน มาบอกตอ่ หรอื มาเลา่ ให้ เราฟัง เพ่อื เราจะได้นาไปประยกุ ต์ใช้ในองคก์ ร ของเราได้ และเปรียบเทยี บเป็นระยะ เพอ่ื ยก ระดบั ความรูแ้ ละพฒั นางานให้ดียิ่งข้นึ ต่อไป 7. การทบทวนกอ่ นการปฏิบตั งิ าน (Before Aciton Review : BAR) เปน็ การ ทบทวนการทางานก่อนการ ปฏบิ ตั ิงาน เพือ่ ดูความพรอ้ มก่อนเรม่ิ การอบรม ใหค้ วามรู้ หรือ ทากิจกรรมอื่น ๆ โดยการเชญิ คณะทางานมา ประชมุ เพือ่ ตรวจสอบความพร้อม แตล่ ะฝ่าย นาเสนอถงึ ความพรอ้ มของตนเองตามบทบาทหน้าท่ีที่ไดร้ ับ การ ทบทวนกอ่ นการปฏบิ ัติงาน จึงเปน็ การปอ้ งกนั ความผดิ พลาดท่ีจะเกดิ ขน้ึ กอ่ นการทางานนนั่ เอง 8. การทบทวนขณะปฏิบัติงาน (During Action Review : DAR) เป็นการทบทวน ในระหวา่ งท่ที างาน หรอื จัด อบรม โดยการสังเกตและนาผลจากการสังเกตมาปรกึ ษาหารอื และแก้ปญั หาในขณะทางานรว่ มกนั ทาให้ลด ปัญหา หรืออปุ สรรคในระหว่างการทางานได้ 9. การทบทวนหลังการปฏิบัตงิ าน (After Action Review : AAR) เปน็ การติดตาม ผลหรือทบทวนการทางาน ของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม หรอื คณะทางานหลังเลิกกิจกรรมแล้ว โดย การน่ังทบทวนสิ่งทไี่ ด้ปฏบิ ัตไิ ปร่วมกนั ผา่ น การเขยี นและการพดู ด้วยการตอบคาถามงา่ ย ๆ ว่า คาดหวังอะไรจากการทากิจกรรมน้ี ไดต้ ามทีค่ าดหวงั หรอื ไม่ ได้เพราะอะไร ไมไ่ ดเ้ พราะ อะไร และจะทาอย่างไรตอ่ ไป 10. การจัดทาดชั นีผู้รู้ คือการรวบรวมผทู้ ี่ เชี่ยวชาญ เกง่ เฉพาะเร่อื ง หรอื ภมู ิปญั ญา มารวบรวมจดั เก็บไวอ้ ย่าง เปน็ ระบบ ทั้งรูปแบบท่ีเป็นเอกสาร ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ เพอื่ ให้คน ไดเ้ ข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้งา่ ย และนาไปสู่ กจิ กรรมการแลกเปล่ียนรตู้ ่อไป เครื่องมอื ในการแลกเปลีย่ นเรียนรนู้ ี้เปน็ เพียงส่วนหนงึ่ ของเคร่ืองมอื อกี หลายชนิดท่ี นาไปใชใ้ น การจดั การความรู้ เคร่ืองมือที่มีผนู้ ามาใช้มากในการแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นระดับ ตนเองและระดับกลุ่ม คือ การ แลกเปลย่ี นเรยี นรูโ้ ดยเทคนคิ การเล่าเร่อื ง การเลา่ เรอื่ งเป็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากวธิ ีการทางานของคนอื่น ทปี่ ระสบผลสาเร็จ หรอื ที่เรยี กวา่ Best practice เปน็ การเรยี นร้ทู างลัด น่ันคอื เอาเทคนคิ วธิ กี ารทางานที่คน อน่ื ทาแลว้ ประสบผล สาเร็จมาเป็นบทเรียน และนาวธิ กี ารน้ันมาประยกุ ต์ใช้กับตนเอง เกดิ วิธีการปฏบิ ตั ิใหมท่ ี่ ดี ขนึ้ กวา่ เดิม เป็นวงจรเร่ือยไปไมส่ น้ิ สุด การแลกเปลยี่ นเรียนรู้จากการเลา่ เร่ือง มลี ักษณะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook