Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น2565

ภูมิปัญญาท้องถิ่น2565

Published by jarunee301132, 2022-05-27 07:05:31

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่น2565

Search

Read the Text Version

ทำเนี ยบภูมิปั ญญาท้องถิ่น ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ก ศ น . ตำ บ ล ล า ด ห ญ้ า ศู นย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองกาญจนบุรี สำนั กงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี

ทำเนยี บภูมิปญั ญำทอ้ งถิน่ ตำบลลำดหญ้ำ อำเภอเมอื งกำญจนบรุ ี จังหวัดกำญจนบรุ ี รอ้ ยโทวิเชยี ร ศรจี ันโฉม นางสรินยา นิลบตุ ร นางธนกร เมอื งเกา่ นางพมิ พกาญจน์ สุดประพนั ธ์ ภูมิปัญญาด้านการเกษตร ภมู ิปญั ญาด้านศลิ ปกรรม ภมู ปิ ัญญาดา้ นการเกษตร ภมู ิปัญญาดา้ นโภชนาการ นางสมจิตร เสือสา่ น นายแถม กลว้ ยหอม นางลาพู พินสวุ รรณ นายสน อยไู่ ทย ภมู ิปัญญาดา้ นแพทยแ์ ผน ภูมปิ ญั ญาด้านศลิ ปกรรม ภูมปิ ญั ญาดา้ นแพทย์แผนไทย ภูมิปญั ญาดา้ นการเกษตร ไทย นางอานวย เสอื ส่าน นายถนอม ไชฮะ นายธีระศักดิ์ สคั คบญั ชร ภมู ิปญั ญาด้านศลิ ปกรรม ภูมิปัญญาดา้ นดนตรไี ทยพ้นื บา้ น ภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย ไทย

ภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น ชื่อ : นางลาพู พนิ สวุ รรณ อายุ : 62 ปี ทีอ่ ยู่ : 148/7 หมู่ 2 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี อาชพี : แมบ่ า้ น

ภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย การรักษาโรคดว้ ยหมอเปา่ เปน็ กล่มุ หมอพื้นบ้านในสงั คมของคนชนบท การเป่า เป็นวธิ ีการรักษาของหมอพืน้ บา้ นเพื่อรักษาอาการเจบ็ ปว่ ยโดยใช้เวทมนตรค์ าถาเป่าไป ตามร่างกายผู้ป่วย บางครั้งอาจจะใช้สมุนไพรในการรกั ษาดว้ ย หมอเปา่ จะไดร้ บั การ ถา่ ยทอดความรจู้ ากบรรพบุรุษ เช่น ปู่ ตา พ่อ หรือจากครทู ส่ี ืบทอดกันมา หมอเปา่ เปรียบเสมอื นแพทยท์ ี่พอจะรักษาอาการเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ยให้ผปู้ ว่ ยได้ การรกั ษาโรคงูสวดั ,โรคเรมิ ซง่ึ สบื ทอดการรักษาจากบรรพบรุ ษุ การรกั ษาดว้ ย สมนุ ไพร และการเป่า

ประโยชน์ทไ่ี ด้จากภมู ปิ ญั ญา – เผยแพร่ภมู ิปัญญา การรกั ษาโรคงสู วัด,โรคเรมิ ซึ่งสืบทอดการรกั ษาจากบรรพ บรุ ษุ การรกั ษาดว้ ยสมุนไพร และการเป่า ให้ยั่งยนื ตลอดไป

ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน ชื่อ : นางสมจติ ร เสอื สา่ น อายุ : 53 ปี ท่อี ยู่ : 153 หมู่ท่ี 1 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบรุ ี อาชีพ : พนกั งานนวดแผนไทย (ประธานกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนลูกสาวปชู่ วี กนวดไทย)

ภมู ปิ ัญญาด้านแพทยแ์ ผนไทย (ลูกประคบสมุนไพรไทย) ลูกประคบสมุนไพรไทย คือ การที่ใช้สมุนไพรไทยหลายอย่างมาห่อรวมกันด้วย ผ้าขาวบาง นามานึ่งให้ร้อน เป็นวิธีการบาบัดรักษาของการแพทย์แผนโบราณ แล้ว ประคบบริเวณที่เจ็บปวด เคล็ดขัดยอก โดยอาศัยความร้อนและคุณสมบัติสมุนไพร ทา ให้อาการดีข้ึน ลูกประคบสมุนไพรไทยรักษากันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน โดยมักใช้ รกั ษาควบคู่กบั การนวดไทย คอื หลงั จากนวดเสรจ็ แลว้ จึงประคบนาบไปตามรา่ งกาย ผล ของความร้อนที่ได้จากการประคบ ทาให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว และตัวยาสมุนไพร รอ้ น ๆ ซมึ ผา่ นชัน้ ผวิ หนังเขา้ สูร่ ่างกาย และยงั ช่วยทาใหเ้ น้ือเย่ือพงั ผดื ยดื ตัวออก ลดการ ติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเน้ือ ลดปวด ช่วยลดการบวมที่เกิดจาการ อกั เสบของกล้ามเนอื้ เอน็ และขอ้ ตอ่ และชว่ ยเพ่มิ การไหลเวยี นของโลหติ

วธิ ีทาลกู ประคบ 1. นาหัวไพล ขม้ินชัน ตะไคร้ มะกรูด ล้างทาความสะอาด นามาหั่นหรือสับให้เป็นช้ิน ตามขนาดที่ตอ้ งการตาพอหยาบ ๆ 2. นาใบมะขาม ใบส้มป่อย ผสมกับสมุนไพรในข้อ 1 เสรจ็ แล้วใสเ่ กลือ การบรู คลุกเคลา้ ใหเ้ ขา้ เป็นเนอ้ื เดยี วกนั แต่อยา่ ใหแ้ ฉะเปน็ น้า 3. แบ่งสมุนไพรท่ีคลุกเคล้าให้เข้ากันแลว้ เป็นสว่ นเท่า ๆ กัน โดยใช้ผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบหอ่ เป็นลูกประคบมัดดว้ ยเชือกใหแ้ น่น 4. นาลูกประคบทไี่ ด้ไปน่ึง ใช้เวลานง่ึ ประมาณ 15-20 นาที ประโยชนข์ องการประคบสมนุ ไพร 1. กระตนุ้ หรือเพม่ิ การไหลเวยี นของโลหิต 2. ลดอาการเกรง็ ของกล้ามเน้อื และบรรเทาอาการปวดเมอื่ ย 3. ลดการตดิ ขัดของข้อตอ่ บริเวณท่ีประคบและทาใหเ้ น้ือเยือ่ พังผดื ยดื ตัวออก 4. ลดอาการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเน้ือหรือบริเวณข้อต่อต่าง ๆ หลังจาก 24-48 ชัว่ โมงไปแล้ว

ขอ้ ควรระวังในการประคบ 1. อย่าใชล้ ูกประคบทร่ี อ้ นเกินไป โดยเฉพาะกบั บรเิ วณผวิ หนังทอ่ี ่อน บรเิ วณทีม่ กี ระดกู ยน่ื หรือบรเิ วณทีเ่ คยเป็นแผลมากอ่ น ควรใช้ผา้ ขนหนูรองหรือใช้ลกู ประคบอ่นุ ๆ 2. ตอ้ งระมัดระวังในกรณที ่ีเปน็ ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน อัมพาต เดก็ และผสู้ ูงอายุ เพราะมักมี ความรตู้ อบสนองชา้ อาจทาใหผ้ ิวหนงั ไหมพ้ องไดง้ ่าย ควรใชล้ กู ประคบท่ไี ม่รอ้ นจัด 3. หา้ มใชก้ ารประคบสมุนไพรในกรณที มี่ กี ารอกั เสบ (ปวด บวม แดง รอ้ น) ในชว่ ง 24 ชั่วโมงแรก เพราะจะทาให้บวมมากขึน้ และเลอื ดออกมากข้ึนได้ 4. หลงั การประคบสมุนไพรไมค่ วรอาบน้าทนั ที เพราะจะไปชะลา้ งตวั ยาออกจากผิวหนัง และรา่ งกายยังปรับตวั ไมท่ ัน



ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น ชื่อ : นางอานวย เสือสา่ น อายุ : 79 ปี ทีอ่ ยู่ : 112/1 หมู่ 4 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบุรี อาชพี : แม่บา้ น

ภมู ปิ ญั ญาด้านศลิ ปกรรม ความชานาญ/องคค์ วามรเู้ กี่ยวกบั กลองยาว/เพลงเหยอ่ ย/เพลงฉอ่ ย ซ่งึ ไดร้ ับประสบการณต์ ัง้ แตเ่ ปน็ วยั รนุ่ ร่วมรอ้ งรากลองยาว รอ้ งเพลงเหยอ่ ย เพลงฉอ่ ย ตาม งานเทศกาลต่างๆ จนปจั จบุ ัน

ภูมิปัญญาชาวบา้ น ชื่อ : นายถนอม ไชฮะ อายุ : 73 ปี ทอี่ ยู่ : 144/1 หมู่ 7 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี อาชพี : รบั จา้ ง

ภูมปิ ญั ญาด้านดนตรีไทยพ้นื บ้าน (ซออ)ู้ ซอด้วง ซออู้ เป็นเคร่ืองดนตรีไทยพ้ืนบ้าน ที่ผลิตเองโดยใช้วัตถุดิบในชุมชน ทาด้วยมือใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ได้มาตรฐาน ตั้งเป็นวงในการแสดง ในงานพธิ ีต่าง ๆ รับงานตลอดทง้ั ปี และมกี ารถ่ายทอดการแสดงให้กบั นักเรียน นกั ศกึ ษา และผสู้ นใจเรียน ประโยชน์ท่ีได้จากภูมิปัญญา – เผยแพรภ่ มู ปิ ัญญา รักษาวัฒนธรรมไทยให้ดารงอยอู่ ยา่ งย่งั ยนื และให้ ความบันเทิงกับประชาชน

ภูมปิ ัญญาชาวบา้ น ชื่อ : นายธรี ะศักด์ิ สัคคบัญชร อายุ : 76 ปี ที่อยู่ : 83 หมู่ 6 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบุรี อาชีพ : รับจ้าง

ภมู ปิ ญั ญาด้านแพทย์แผนไทย สาขาสมุนไพรไทย สมุนไพร คือ ผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ ได้แก่ พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ สามารถนามาใช้เป็นยารักษาโรคหรือบารุงร่างกาย เช่น ใช้กิน ใช้ทา ใช้รม เป็นต้น ซ่ึง อาจจะใช้ทั้งหมด เช่น ใช้ท้ังต้น หรือแค่เฉพาะบางส่วนของผลผลิตน้ันๆเพ่ือปรุงเป็นยา รักษาโรค เช่น เฉพาะส่วนราก โดยอาจจะต้องผ่านกระบวนการบางอย่างก่อนนามาใช้ เชน่ บด ต้ม คัน้ ตาก เป็นต้น ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากภูมิปญั ญา – เผยแพร่ภมู ปิ ัญญา การรักษาโรคดว้ ยสมนุ ไพรไทยทกุ ชนดิ ใหย้ ั่งยนื ตลอดไป

ภูมิปญั ญาชาวบ้าน ชื่อ : นายสน อยไู่ ทย อายุ : 62 ปี ทีอ่ ยู่ : 115/1 หมู่ 4 ตาบลลาดหญา้ อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี อาชพี : ข้าราชการเกษยี ณ

ภูมิปัญญาด้านการเกษตร ทาการเกษตรท่ีมีการเพาะปลูกพืชหลายชนิดทั้งพืชสวน พืชไร่ เล้ียงปลา เป็นต้น การทาการเกษตรผสมผสานไม่มีการจาเพาะเจาะจงในการแบ่งพื้นที่เพาะปลูก ซึ่งแตกต่างจากการทาการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ที่จะต้องมีการกาหนดพื้นที่การ เพาะปลกู ใหไ้ ด้สัดส่วนที่เหมาะสม คือ 30:30:30:10

เนื้อหาสาระของความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรยี นรู้ สบื ทอด และอนรุ กั ษ์ – การปรับปรงุ บารงุ ดนิ โดยใชม้ ลู สตั ว์ และเศษวชั พืช – วิธีการขยายพนั ธุไ์ มผ้ ลต่างๆ – การเก็บรกั ษาและการขยายเมลด็ พันธผุ์ ัก – การดูแลรกั ษาต้นไม้ ก่อนออกดอกและหลงั ตดิ ผล เน้ือหาสาระของความรูท้ ีท่ ่านไดจ้ ากการค้นคว้า ทดลองปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง – การบงั คบั ใหช้ ะอมออกยอดนอกฤดู – การปอ้ งกันมใิ หว้ ัวมากดั กินยอดอ่อนของตน้ ไม้ – การปลกู พืชผกั สวนครวั แบบหมุนเวียนแปลง – เทคนคิ การปลูกพืชผกั สวนครัวและการดแู ล

ภูมปิ ัญญาชาวบา้ น ชื่อ : นางพิมพกาญจน์ สดุ ประพนั ธ์ อายุ : 68 ปี ที่อยู่ : 145 หมู่ท่ี 1 ตาบลลาดหญา้ อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี อาชีพ : ตดั เยบ็ เส้ือผ้า

ภมู ิปัญญาด้านศลิ ปกรรม สาขาการแสดง(ราเหยย่ ) เพลงเหย่ย เป็นการแสดงพ้ืนบ้านนิยมร้องและเล่นมาแต่โบราณเดิมมีชื่อ เรียกกันหลายอย่างแตกต่างกันออกไปตามท้องถิ่น เพลงเหย่ยมีการฟื้นฟูวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้านข้ึนมาที่เรียกว่า เหย่ย เป็นเพราะว่าคาร้องทุกวรรคลงท้ายด้วยเสียง เดียวกันคือ เอย หรอื เหยย่ ซ่งึ เป็นเสียงทเ่ี พีย้ นมาจากคาวา่ \"เอย” เพลงเหยย่ \" หรอื \"ราเหย่ย\" มีลักษณะการเล่น เริ่มจากการประโคมกลองอยา่ งกึกก้องเพ่ือให้ผู้เลน่ และผูด้ ู เกิดความรู้สึกสนุกสนาน วิธีการเล่นไม่จากัดจานวน ผู้เล่นยิ่งมากย่ิงสนุกสนาน โดยแบ่ง ผู้เล่นออกเป็นฝ่ายชาย กับหญิงแต่ละฝ่ายจะมีผู้รอ้ งประกอบด้วยพ่อเพลง แม่เพลง ลกู คู่ และผู้รา เมื่อเร่ิมเล่นฝ่ายชายจะเป็นผู้เริ่มชวนฝ่ายหญิงให้เล่นเพลงเหย่ยกัน ฝ่ายหญิง รับคาชวนกจ็ ะมายนื ลอ้ มเป็นวงกับฝา่ ยชาย แม่เพลงจะร้องโต้ตอบกบั พ่อเพลงโดยมีลูกคู่ รบั ทงั้ สองฝา่ ย เนอื้ รอ้ งส่วนใหญ่จะเปน็ ทานองหยอกลอ้ เก้ียวพาราสี เครื่องดนตรีท่ใี ชใ้ น การแสดงราเหย่ย ประกอบด้วย กลองยาว รามะนา ฉ่ิง ฉาบใหญ่ ฉาบเล็ก กรับ และ โหม่ง

การแตง่ กายของผู้เลน่ เพลงเหย่ย การแต่งกายของผู้เลน่ เพลงเหยย่ ชาย นุ่งโจงกระเบนตา่ งสีกนั สวมเสอื้ คอ กลมแขนสัน้ มผี ้าขาวมา้ คาดพงุ และสไบพาดไหลโ่ ดยให้ชายสไบทงั้ สองข้างอยดู่ ้านหลงั สว่ นผู้หญิง จะนุ่งโจงกระเบนผา้ พิมพล์ ายต่างสสี นั สวมเสอ้ื คอกลมแขนยาว หม่ สไบทับ เส้ือ สวมใส่เครอื่ งประดบั สร้อยคอ ตา่ งหู สรอ้ ยขอ้ มอื และทดั ดอกไมส้ ีสด ส่วนใหญก่ าร แตง่ กายของผเู้ ล่นชายและหญิงจะใชผ้ า้ สสี ด เพอ่ื ความสดใส สวยงาม

ภมู ปิ ัญญาด้านโภชนาการ ( อาหารพน้ื บ้าน ) 1. แกงหนามยอก แกงหนามยอก มคี วามสาคญั คณุ คา่ ทางสังคมและทางจิตใจที่มีในวิถีการ ดาเนนิ ชีวติ ของชมุ ชนนั้นๆ แกงหนามยอก จึงเป็นอาหารพ้นื บ้านของชาวลาดหญา้ ท่ี นยิ มทากินกันในครอบครวั เนื่องจากสว่ นประกอบที่ใช้ทานัน้ หาง่าย ซ่งึ ชาวบ้านปลูกกิน กนั เองในครวั เรอื น และเปน็ อาหารทมี่ ีประโยชนต์ อ่ สุขภาพ สว่ นประกอบของอาหาร 1. มะเขอื 2. ตะไคร้ 3. หอมแดง 4. พรกิ แหง้ 5. กะปิ 6. ใบแมงลกั วธิ ีการประกอบอาหาร 1. ล้างผกั ใหส้ ะอาด 2. นามะเขือ ตะไคร้ หอมแดง กะปิ นามาตารวมกนั จนละเอยี ด แลว้ ตัก ใส่หมอ้ ใส่น้าพอประมาณ แล้วต้ังไฟจนสกุ 3. ปรุงรสชาตใิ หอ้ ร่อยตามตอ้ งการ แล้วใส่ใบแมงลักลงไป แลว้ ยกลง จากเตา

2. น้าพรกิ กะปิมอญ เมนูกะปิมอญน้ันได้รับการถ่ายทอดสูตรลับจากปู่ย่าตายายมาสู่รุ่นลูกหลาน รุ่นต่อรุ่น ชาวบ้านส่วนใหญ่มักจะทาเมนูนี้เป็นเกือบทุกบ้าน และในท้องถ่ินเองก็ได้รับ ความนยิ มเปน็ อย่างมาก ไมว่ ่าจะเปน็ งานมงคล งานอมงคล ขึน้ บา้ นใหม่ งานเอาเสาลง- หลุม แทบทกุ งานจะต้องมีเมนูนา้ พรกิ กะปิมอญ วิธีการประกอบอาหาร 1. นาเคร่อื งปรงุ ทุกชนดิ มาล้างให้สะอาด 2. นากะปิมาโขลกให้เปน็ สีนวล ใส่กงุ้ ตารวมกนั จนละเอยี ด 3. จากนั้นใสห่ ัวหอม หัวกระเทยี มลงโขลกไมต่ อ้ งละเอยี ดนกั 4. ผักชีฝร่งั นามาหั่นละเอียด ใส่ลงโขลกรวมไปดว้ ย 5. นาพริกขีห้ นูใสล่ งโขลก ใส่มะเขือเทศ มะเขือแก่ (เอาเฉพาะเม็ด) 6. ตักนา้ พริกข้นึ ใส่ชาม ปรุงรสดว้ ยมะนาว เติมน้าสุกเลก็ นอ้ ย ให้ รสเปรี้ยวนา ใครชอบหวานกใ็ สน่ ้าตาลปีบลงตามชอบ 7. ตกั ใสถ่ ว้ ย รับประทานกบั เครอ่ื งเคียงซึ่งมที ง้ั ผักดิบและผักต้มสุก เคลด็ ลับความอร่อย คือ ต้องโขลกกะปิใหไ้ ด้ท่ี ใส่หัวหอมให้มากกว่ากระเทยี มและควรจะให้มี รสเปรยี้ วนาข้อควรระวังนา้ ปลาเดด็ ขาด กะปิควรใสใ่ ห้พอเหมาะ

ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น ชื่อ : นางสรนิ ยา นลิ บตุ ร อายุ : 64 ปี ทอี่ ยู่ : หมู่ที่ 1 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบรุ ี อาชพี : ขา้ ราชการเกษยี ณ ( ผอู้ านวยการโรงเรยี นสรา้ งสขุ ผู้สงู อายวุ ัดทงุ่ ลาดหญา้ )

ภูมปิ ญั ญาด้านศิลปกรรม สาขาการแสดง การละเลน่ พน้ื บ้าน การแสดงราไทย การละเลน่ พ้ืนบ้าน การแสดงมีการถ่ายทอดสืบต่อกันและพัฒนาดัดแปลงข้ึนเรื่อยๆ และ ออกมาในรูปแบบของ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ เช่น เต้นการา เคียว เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงอีแซว ลิเก ลาตัด กลองยาว เถิดเทิง เปน็ ต้น บางอยา่ งกลายเปน็ การแสดงนาฏศิลปแ์ บบฉบบั ไปก็มี เช่น ราวง เปน็ ตน้ โรงเรียนสร้างสุขผู้สูงอายุวัดทุ่งลาดหญ้า จึงจัดให้มีกิจกรรมสาหรับ ผู้สูงอายุ เพ่ือให้ผู้สูงอายุมาพบปะกัน และได้ทากิจกรรมร่วมกัน อีกท้ังยังสืบสานและ ถ่ายทอดประเพณีการแสดงให้กับเยาวชนคนรุน่ หลัง

ภาพการแสดง

ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน ชื่อ : นางธนกร เมืองเก่า อายุ : 50 ปี ท่ีอยู่ : หม่ทู ่ี 5 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบุรี อาชพี : ผู้ใหญบ่ า้ น

ภูมปิ ญั ญาด้านการเกษตร (เศรษฐกิจพอเพยี ง) ทาการเกษตรโดยใช้วิธีการทาแบบกางมุ้งให้พืชผักเพื่อลดการกวนของ แมลงและความคมุ อณุ หภูมิให้กับพืชผกั นอกจากนี้ป๋ยุ และยาท่ีใชจ้ ะเป็นการหมกั ชีวภาพ โดยทาการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ การเพาะปลกู จะปลูกพชื หลายชนิดทัง้ พืชสวน พืช ไร่ เลี้ยงปลา เป็นต้น การทาการเกษตรผสมผสานไม่มีการจาเพาะเจาะจงในการแบ่ง พ้ืนที่เพาะปลูก ซึ่งแตกต่างจากการทาการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ที่จะต้องมีการกาหนด พน้ื ท่กี ารเพาะปลูกใหไ้ ด้สัดสว่ นท่ีเหมาะสม คือ 30:30:30:10

เน้อื หาสาระของความร้ทู ไ่ี ด้จากการเรยี นรู้ สบื ทอด และอนรุ กั ษ์ – การปรบั ปรุงบารุงดินโดยใชม้ ลู สตั ว์ และเศษวัชพชื – วิธีการขยายพนั ธุไ์ มผ้ ลตา่ งๆ – การเก็บรกั ษาและการขยายเมลด็ พันธผ์ุ ัก – การดูแลรกั ษาต้นไม้ ก่อนออกดอกและหลังตดิ ผล ประโยชนท์ ่ีได้จากการภูมปิ ัญญาด้านการเกษตร (เศรษฐกจิ พอเพียง) – การบังคับให้ชะอมออกยอดนอกฤดู – การป้องกนั มใิ หว้ วั มากดั กนิ ยอดออ่ นของตน้ ไม้ – การปลูกพืชผักสวนครัวแบบหมุนเวียนแปลง – เทคนคิ การปลูกพืชผกั สวนครัวและการดแู ล





ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน ชื่อ : รอ้ ยโทวิเชยี ร ศรีจนั โฉม อายุ : 55 ปี ทอ่ี ยู่ : บ้านเลขท่ี 286 หมูท่ ่ี 1 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมอื งกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี อาชีพ : รับราชการ (หัวหนา้ สวนเกษตรอนิ ทรีย์วถิ พี อเพียง กองพลทหารราบท่ี 9)

ภูมิปัญญาด้านการเกษตร (เศรษฐกิจพอเพียง) สวนเกษตรอินทรยี ว์ ิถพี อเพยี ง ดาเนินการโดยกรมสนบั สนุนของกองพล ทหารราบที่ 9 ไดด้ าเนินการตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งดังต่อไปน้ี การก่อสร้างบา้ นดว้ ยดิน 1. การก่อสรา้ งบา้ นดว้ ยดนิ นี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยในเรอ่ื งของการ ก่อสรา้ งอยทู่ ี่ประมาณ 40 -50 เปอร์เซ็นต์ เป็นการรกั ษาสภาพส่ิงแวดล้อมโดยใชด้ ินที่มี อยตู่ ามธรรมชาติ 2. ลดอุณหภูมภิ ายในบา้ น 5-6 องศา

การปลูกพชื ผกั ปลอดสารพิษ หรือ พืชอนิ ทรีย์ ผักปลอดสารพิษน้ีทางศูนย์สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ ได้เองในโครงกา ร “ทหารพันธุ์ดี”เมื่อผลผลิตโตเก็บเกี่ยวได้แล้วทางศูนย์ก็จะนาไปจาหน่ายจ่ายแจกให้กับ ประชาชน ราษฎร และอีกส่วนหนึ่งคือ กาลังพลของกองพลทหารราบท่ี 9 ก็ได้บริโภค พชื ผักปลอดสารเคมี

การผลิตปุ๋ยอินทรยี ์ ป๋ยุ อนิ ทรยี ์น้ีพ่ีนอ้ งประชาชน ราษฎร บคุ คลทว่ั ไปกส็ ามารถผลิตข้ึนมาใช้ เองได้ โดยใช้มูลสัตว์ เศษใบไม้ เศษวัฏพืช และนา้ หมักชวี ภาพ เป็นสว่ นประกอบ ซึ่งมี ตน้ ทนุ ในการผลิตคอ่ นขา้ งต่า และสามารถใชไ้ ดต้ อ่ เนอ่ื งและยาวนาน การขยายพันธพุ์ ืช ทางศูนย์สามารถผลิตพนั ธุพ์ ชื เพอ่ื มาปลกู เอง และสามารถตอ่ ยอดการปลกู ไดโ้ ดยจะไมใ่ ช้การตดั ต่อพนั ธุกรรม สว่ นใหญจ่ ะเปน็ พชื ทใ่ี ชบ้ รโิ ภคในชวี ติ ประจาวัน เชน่ ผักบุง้ คะน้า มะเขอื เปราะ มะเขอื ยาว พริก ถ่ัวฝักยาว เปน็ ตน้

ภมู ิปญั ญาชาวบา้ น ชื่อ : นายแถม กลว้ ยหอม อายุ : 93 ปี ทอ่ี ยู่ : 27 หม่ทู ่ี 6 ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี อาชพี : รับจา้ ง ( ตกี ลองยาว , ตีเหลก็ )

ภมู ิปญั ญาด้านศลิ ปกรรม สาขาดนตรไี ทยพนื้ บ้าน (กลองยาว) กลองยาวกลองยาว เป็นเคร่ืองดนตรี สาหรับตีด้วยมือ ตัวกลองทาด้วยไม้ มีลักษณะกลมกลวง ขึงด้วยหนังมีหลายชนิด ถ้าทาด้วยหนังหน้าเดียว มีรูปยาวมากใช้ สะพายในเวลาตี เรียกว่ากลองยาวหรือเถิดเทิง เช่ือกันว่ากลองยาวได้แบบอย่างมาจาก พม่า ในสมัยกรุงธนบุรี หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยที่ไทยกับพม่ากาลังทาสงครามกัน เวลาพักรบ ทหารพม่าก็เล่น \"กลองยาว\" กันสนุกสนาน พวกชาวไทยได้เห็นก็จา แบบอย่างมาเล่นบ้าง แต่บางท่านก็เล่าว่า กลองยาวของพม่าแบบนี้ มีชาวพม่าพวกหนึ่ง นาเข้ามาเล่นในงานท่ีมีกระบวนแห่ เช่น บวชนาค ทอดกฐิน เป็นต้น และนิยมเล่นกัน เปน็ ที่รื่นเริง สนกุ สนานในเทศกาลสงกรานต์ และเลน่ กนั แพร่หลายไปแทบทกุ หวั บ้านหัว เมือง วงหน่งึ ๆ จะใช้กลองยาวหลายลกู ก็ได้ เครอ่ื งดนตรที ี่ใชบ้ รรเลงร่วม มี ฉิ่ง, ฉาบเล็ก, กรับ, โหม่ง เรียกการเล่นชนิดน้ีว่า \"เถิดเทิง\" หรือ \"เทิงกลองยาว\" ที่เรียกเช่นนี้เข้าใจว่า เรยี กตามเสียงกลองทตี่ ีและตามรูปลักษณะกลองยาว

การอนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาด้านศิลปกรรม สาขาดนตรีไทยพน้ื บา้ น (กลองยาว) 1. เปน็ ครูสอนตีกลองยาวให้กับเด็กนกั เรียนและชาวบา้ น 2. ถ่ายทอดความรู้ใหก้ บั เยาวชนคนรุ่นหลัง ประโยชน์ทไ่ี ด้จากภูมิปัญญา – เผยแพร่ภมู ปิ ัญญา รกั ษาวฒั นธรรมไทยใหด้ ารงอยอู่ ยา่ งย่งั ยืน และให้ความ บันเทงิ กับประชาชน

ภูมปิ ัญญาด้านหัตถกรรม (ตเี หล็ก) การตีเหลก็ เป็นการแปรรูปเหลก็ เร่ิมจากการนาเอาเหล็ก มาเผาใน เตาเผา จนเหล็กแดงไดท้ ่ี ใช้คีมคีบมาตีดว้ ยคอ้ นบนทงั่ ตีเหลก็ เมื่อเหลก็ เยน็ ลงก็จะนาไป เผาซา้ อีก จนกวา่ จะตเี หล็กให้ได้รูปร่างท่ตี อ้ งการ

เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการตเี หลก็ 1. คีมด้ามยาว 2. ค้อน 3. เหล็กสกดั 4. เหลก็ ทากน่ั 5. เหลก็ ตะไบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook