Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมสร้างคนดี โครงการโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม สพฐ. การจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL 2565

นวัตกรรมสร้างคนดี โครงการโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม สพฐ. การจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL 2565

Description: นวัตกรรมสร้างคนดี โครงการโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม สพฐ. การจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL 2565

Search

Read the Text Version

กติ ติกรรมประกาศ นวัตกรรมสร้างคนดี โครงการโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม สพฐ. การจัดกิจกรรมโครงงาน วิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ อย่างสมบูรณ์ด้วยความอนุเคราะห์จากฝ่ายบริหาร คณะครูและนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ทกุ คน ผู้รายงานหวังว่ารายงานการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและ คณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL เล่มนี้ จะเปน็ ประโยชน์และเป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรยี นการสอนในยุค New Normal และผู้สนใจนาํ ไปเป็นแนวทางในการพฒั นารูปแบบการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพยิ่งข้ึนต่อไป นางสาวศรอี ดุ ร ลา้ นสาวงษ์ ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

สารบัญ กติ ตกิ รรมประกาศ ..................................................................................................................................... ก สารบัญ ....................................................................................................................................................... ข ชื่อผลงาน ................................................................................................................................................... 1 ความสำคัญของปญั หา................................................................................................................................. 2 จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงาน........................................................................................................... 3 เอกสาร แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ยี วข้อง.............................................................................................................. 4 การผลิตและการใชน้ วัตกรรม ..................................................................................................................... 7 ผลการใชน้ วัตกรรม...................................................................................................................................... 10 ปัจจยั ความสำเรจ็ ข้อเสนอแนะและการเผยแพรผ่ ลงาน.............................................................................. 11 เงอื่ นไขความสำเรจ็ ..................................................................................................................................... 12 ภาคผนวก

๑: การนำเสนอผลงานนวตั กรรม “นวตั กรรมสร้างคนดี” โครงการโรงเรยี นส่งเสริมคุณธรรม สพฐ. ชอ่ื ผลงานนวัตกรรม การจดั กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรส์ ู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการและคุณธรรม ดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL ชอ่ื เจา้ ของผลงาน นางสาวศรีอุดร ลา้ นสาวงษ์ โรงเรียน/หนว่ ยงาน โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สงั กัด สพป./สพม. สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาสกลนคร โทรศพั ท์ 042 - 722181 โทรสาร 042 – 722123 โทรศพั ท์มือถือ 084 - 0290556 E-mail: [email protected] ประเภทผลงาน  ด้านการบรหิ าร  ด้านการเรยี นการสอน สอดคล้องกับคุณลกั ษณะโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.  ความพอเพยี ง  ความกตัญญู  ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ  ความรับผดิ ชอบ  อุดมการณ์คุณธรรม  คุณธรรมอัตลกั ษณ์ (โปรดระบ)ุ ........................- นวตั กรรม สรา้ งสรรค์คนดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL

๒: บทที่ 1 ความเปน็ มา ๑. ความสำคญั ของนวัตกรรม การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ให้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักเรียน ในการสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียน และเป็นต้นแบบที่ดีงามของนักเรียน และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนแบบองค์รวม เน้นพัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบและเชิงบวก และส่งเสริมให้นักเรียน เป็นคนที่สมบรู ณแ์ บบ มีความสุข เป็นคนดี และคนเก่ง มีทักษะการใชช้ วี ิตในศตวรรษที่ ๒๑ ได้ดี และเป็นการ ดำเนินงานเพื่อสืบสานพระราชปณิธานเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธิเบ ศร มหาภูมิพลอดุยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรและตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูรซึ่งมีพระราชกระแสรับสั่งให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง” และเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความเป็นเลิศทางวิชาการ และคุณธรรม ตระหนักรู้ เข้าใจและมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล บ่มเพาะคุณค่าแห่งคุณธรรมความดีอย่าง เปน็ ธรรมชาตสิ รา้ งความรู้สกึ ผิดชอบช่วั ดีและภูมิใจในการทำความดี การพฒั นาการศกึ ษาในปจั จุบนั ตอ้ งเร่ิมต้นดว้ ยการพัฒนาคนอยา่ งมีคณุ ภาพ ใหส้ ามารถดำเนนิ ชีวิต อยู่ร่วมกันในสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมที่เผชิญอยู่ได้อย่างมีความสุข ทั้งในปัจจุบันและ อนาคต การศกึ ษาจึงต้องมุง่ พฒั นาผูเ้ รียนในทุกดา้ น ใหม้ คี วามสมดุลท้ังดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ ความรูแ้ ละคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีจุดหมายที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุขโดยจุดหมาย คือ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปญั หาการใช้เทคโนโลยแี ละมที กั ษะชวี ติ (กรมวิชาการ, 2551 : 3) การศึกษาเพื่อพัฒนาคน โดยเฉพาะนักเรียนซึ่งเป็นผู้ที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการวางรากฐาน ในการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมเป็นอย่างยิ่งเพราะ คุณธรรมและจริยธรรมที่ได้ปลูกฝังให้กับนักเรียน ได้ทำการฝึกปฏิบัติอย่างจริงจังสม่ำเสมอจนเกิดความเป็นความเคยชินและกลายเป็นอุปนิสัยที่ฝังแน่นอยู่ในตวั ของนักเรียนทำใหเ้ ปน็ คนดีมีคณุ ธรรมและ จริยธรรมที่ดตี ่อไป จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID –19) ส่งผลต่อระบบการศึกษา เป็นอย่างมาก ทำให้ต้องมีการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ที่สอดรับ กับมาตรการป้องกันการระบาดพร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันให้ผู้เรียนได้รับผลกระทบ จากรูปแบบการเรียนที่เปลี่ยนไป แต่ในขณะเดียวกันการแพร่ระบาดนี้กลับเป็นตัวแปรสำคัญในการสร้าง การเปลี่ยนแปลงให้กับการศึกษาและเป็นพลังขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย ดังนั้นหากทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยได้ร่วมกันทำระบบกลไกการศึกษาที่เข้มเข็ง ก็จะสามารถขับเคลื่อน การศกึ ษาทา่ มกลางสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งแนน่ อน นวตั กรรม สร้างสรรค์คนดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๓: การบริหารจัดการระบบการศึกษาศตวรรษท่ี 21 จำเปน็ ต้องปรับตวั ไปสู่ “การศึกษายกกำลังสอง” ที่จะเปลี่ยนจาก One-Size-Fits-All สู่การเรียนรู้และการพัฒนารายบุคคลมากขึ้น มองระบบการศึกษา เป็น “ระบบนิเวศการศึกษาของไทย” (TE2S: Thailand Education Eco-System) เพื่อผลักดันให้ก้าวไปสู่ การเป็นฐานการผลติ ทนุ มนษุ ย์ (Human Capital) ท่ีเปน็ เลิศ (Office of the Basic Education Commission, 2020 ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นอีกหนึ่งรูปแบบของการดำเนินชีวิตที่แตกต่างจากอดีต ประกอบด้วยวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ และสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ในช่วงที่ผ่านมานั้นเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงกระจายไปทั่วโลก ทุกคนจึงจำเป็น ต้องป้องกันตนเอง เพื่อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไปจากวิถีเดิมโดยมี การปรับหาวิธีการดำรงชวี ติ แบบใหม่เพื่อให้ปลอดภยั จากการติดเชือ้ ควบคู่ไปกับความพยายามรักษาและฟื้นฟู ศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ และธรุ กิจ นำไปสกู่ ารสรรคส์ รา้ งส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ เทคโนโลยใี หม่ ๆ มีการปรับแนวคิด วิสัยทัศน์ วิธีการจัดการได้กลายเปน็ ความปกติใหม่ ทำให้เกิดความคุ้นชินเป็นส่วนหนึง่ ของวถิ ีชีวิตปกตขิ องคน ในสงั คม (Supaporn Phrombut, 2020) การจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมชุมนุมรักษ์โครงงานซึ่งมีกิจกรรมการทดลอง นักเรียนส่วนใหญ่ ยังขาดความรับผิดชอบในการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาทำการทดลองและจัดทำโครงงาน เมื่อทำการ ทดลองเสร็จแล้วไม่เก็บของให้เข้าที่และไม่เก็บทำความสะอาดบริเวณที่ทำกิจกรรมให้เรียบร้อย จากปัญหา ดังกล่าวผู้พัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณธรรมด้านความ รับผิดชอบ ความพอเพียงและความซื่อสัตย์ของนักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ตอบสนองนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมของ สถานศึกษาภายใต้โครงการ “โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” จึงได้จัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรส์ คู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL ขึน้ ๒. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงานนวตั กรรม ๒.๑ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน ๒.๒ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม ในเรื่องความรับผิดชอบ จากกิจกรรมโครงงาน วทิ ยาศาสตรส์ ูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL ๒.๓ เพอื่ ปลูกฝังใหน้ ักเรียนมีความพอเพียง ซอ่ื สัตย์ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และเห็นคุณค่าจาก สงิ่ ทอี่ ยรู่ อบตวั และสามารถพง่ึ ตนเองได้ เป้าหมาย เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ : นักเรยี นชมุ นมุ รกั ษ์โครงงาน จำนวน 25 คน เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงาน จำนวน 25 คน เกิดความ ตระหนักในความพอเพียง มีความความรับผดิ ชอบและความซ่ือสตั ยด์ ว้ ยเทคนิค COVID MODEL นวัตกรรม สร้างสรรค์คนดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL

๔: บทท่ี 2 เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎีทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กระบวนการผลิตนวตั กรรม การดำเนนิ การผลิตนวัตกรรมเพอ่ื เสรมิ สรา้ งคุณธรรมด้านความรับผดิ ชอบ ความซ่ือสัตย์น้นั จะใช้แผนการจัดการเรยี นรู้กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคุณธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODELกบั นกั เรยี นชุมนุมรักษโ์ ครงงาน โดยได้กำหนดวธิ กี ารตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1. การศึกษาเอกสารแนวคิดหลกั การ 1.1 หลักสตู รกลุ่มสารระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมาก ที่สดุ เพ่ือใหไ้ ด้ท้ังกระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกต การสาํ รวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนําผลที่ได้มา จดั ระบบเปน็ หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีเป้าหมายที่สำคญั ดังน้ี 1. เพ่อื ให้เขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีและกฎท่เี ป็นพ้นื ฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจํากัด ในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อให้มีทักษะทสี่ ำคัญในการศึกษาค้นควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยี 4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนุษย์ และสภาพแวดลอ้ มในเชิงทม่ี อี ิทธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน 5. เพื่อนําความรู้ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสงั คมและการดำรงชวี ิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและ การจัดการ ทกั ษะในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สินใจ 7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชื่อมโยง ความรู้กบั กระบวนการ มีทกั ษะสำคัญในการคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรูแ้ ละแก้ปญั หาท่ีหลากหลาย ให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ทุกขัน้ ตอนมีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏิบัตจิ ริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้นโดยกำหนดสาระสำคัญ นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL

๕: 1.2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทงั้ นําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ท่ีทำงานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสมั พันธ์กนั รวมท้ังนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมทีม่ ีผลต่อสิ่งมีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวัฒนาการ ของสิ่งมชี ีวติ รวมทั้งนําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 1.3 คณุ ภาพผู้เรียนเมื่อจบช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 1. เข้าใจการลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภมู คิ ้มุ กันในรา่ งกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใชป้ ระโยชนจ์ ากสารตา่ ง ๆ ที่พืชสร้าง ขึ้น การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการที่ทำให้เกิดความ หลากหลายของสิง่ มีชวี ติ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอต่อมนุษยส์ ่ิงมชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม 2. ระบุปัญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่เปน็ ไปได้ 3. ตั้งคําถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจ ทางวทิ ยาศาสตร์ ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการใช้ความคิดระดบั สงู ท่ีสามารถสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนําไปสู่การสํารวจ ตรวจสอบ ออกแบบวิธกี ารสํารวจตรวจสอบตามสมมตฐิ านที่กำหนดไวไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมมหี ลักฐานเชิงประจักษ์ เลอื กวสั ดุ อุปกรณ์ รวมทง้ั วธิ ีการในการสํารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึก ผลการสํารวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ 4. วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสํารวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูลและ นําเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จดั แสดงหรอื ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ให้ผู้อื่นเข้าใจโดยมีหลกั ฐานอา้ งอิงหรือมีทฤษฎรี องรับ 5. ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิตและ การประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการพฒั นาเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ศกึ ษาหาความรเู้ พมิ่ เตมิ ทำโครงงานหรอื สรา้ งชิ้นงานตามความสนใจ นวตั กรรม สรา้ งสรรค์คนดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรส์ คู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL

๖: 2. ความหมายของโครงงาน โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้า และฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์หรือกระบวนการอ่นื ๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคำตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตนุ้ แนะนำ และให้ คำปรึกษาแก่ผู้เรียนอยา่ งใกล้ชิด ตั้งแตก่ ารเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นควา้ ดำเนินงานตามแผน กำหนดข้ันตอน การดำเนินงานและการนำเสนอผลงาน ซง่ึ อาจทำเป็นบคุ คลหรอื เป็นกลุ่ม ประเภทโครงงาน แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เปน็ การใชบ้ รู ณาการรว่ มกับการเรียนรู้ ทักษะและ เปน็ พ้นื ฐานในการกำหนดโครงงานและปฏบิ ตั ิ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกำหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจความต้องการ โดยใช้ทักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเป็นโครงงานและ ปฏบิ ัติแบง่ ได้ 4 ประเภท ดงั น้ี 1. โครงงานที่เป็นการสำรวจ รวบรวมข้อมูล เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำขอ้ มูลนั้นมา จำแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบทีเ่ หมาะสม ข้อมูล ที่ได้จะนำไปปรับปรุงพัฒนาผลงาน ส่งเสริมผลผลิต ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทำขึ้นแล้ว แต่มีการเปลี่ยนแปลง จึงต้องมีการจัดทำ ใหม่เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้ศึกษา โครงงาน โดยใช้วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มูล ดว้ ย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณแ์ บบบันทกึ 2. โครงงานที่เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยศึกษาหลักการ และออกแบบการค้นคว้า ในรูปแบบการทดลอง เพ่อื ยืนยนั หลักการ ทฤษฎี เพือ่ ศกึ ษาหาแนวทางใน การเพิ่มคุณคา่ และการใชป้ ระโยชน์ใหม้ ากขึ้น 3. โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ๆ เป็นโครงงาน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ี ยังไม่มีใครเคยคิด หรือคิด ขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ จากเนื้อหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎี ต่าง ๆ นำมาปรับปรุง พัฒนา ใหส้ อดคล้องมีความชดั เจน มผี ลงานท่ีเป็นรปู ธรรม ซงึ่ ต้องผา่ นการ พิสจู น์อยา่ งมีหลักการและเชื่อถอื ได้ 4. โครงงานที่เป็นการสร้างประดิษฐ์ คิดค้น เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ โดยประดิษฐ์ เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่างๆ หรอื อาจเปน็ การสรา้ งสรรคส์ ิง่ ประดิษฐ์ขึน้ มาใหม่ หรอื ปรบั ปรงุ ของเดิมใหด้ ขี ึน้ ใช้ประโยชน์ไดม้ ากยง่ิ ข้นึ นวัตกรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL

๗: บทท่ี 3 การผลิตและการใช้นวตั กรรม ขั้นตอนการจดั การเรยี นการสอนโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระยะท่ี 1 การเรม่ิ ต้นโครงงาน (Coaching) เริ่มจากผู้สอนสร้างความสนใจให้เกิดกับนักเรียน โดยนำเรื่องในชีวิตประจำวันของนักเรียน ที่เกิดขึ้นที่บ้านและโรงเรียน เช่น ปริมาณกระดาษที่ใช้แล้วมีจำนวนมาก จำนวนคนที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก ในชุมชน การออกกำลังกายในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้นักเรียนเกิด ความสงสยั และเกิดความสนใจ แล้วจึงนำเร่อื งที่ผูเ้ รียนสนใจมาอภปิ รายรว่ มกัน แล้วกำหนดเร่ืองน้ันเป็นหัวข้อ ในการทำโครงงาน ระยะท่ี 2 ข้นั พฒั นาโครงงาน (Opportuning) เป็นขั้นที่นักเรียนกำหนดหัวข้อคำถาม หรือประเด็นปัญหา ที่นักเรียนสนใจอยากรู้ แล้วตั้งสมมติฐานมาตอบคำถามเหล่านั้น ทดสอบสมมติฐานด้วยการลงมือปฏิบัติ จนค้นพบคำตอบด้วยตนเอง ตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. นกั เรียนกำหนดปญั หาท่ีจะศกึ ษา 2. นกั เรียนต้ังสมมติฐานเบ้อื งตน้ 3. นกั เรยี นตรวจสอบสมมตฐิ านเบือ้ งต้น 4. สรปุ ขอ้ ความร้จู ากผลการตรวจสอบสมมติฐาน ในกรณีที่ผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมติฐาน ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้จากการค้นพบ ด้วยการลงมือปฏิบัติของนักเรียนเองเมื่อได้องค์ความรู้ใหม่แล้ว นักเรียนจะนำองค์ความรู้นั้นไปใช้ในการทำ กิจกรรมตามความสนใจต่อไปได้ ระยะท่ี 3 ขั้นสรปุ (Visit) เป็นระยะสุดท้ายของการทำโครงงานที่นักเรียนค้นพบคำตอบของปัญหาแล้ว ระยะน้ี เป็นระยะที่ครูผู้สอนและนักเรียนได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานและแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จ ของการทำงานแก่คนอ่ืนๆ มกี จิ กรรมท่ีครผู สู้ อนใหน้ กั เรียนดำเนินการในขั้นตอนนี้ ดงั นี้ 1. นกั เรยี นเขียนรายงานเป็นรปู แบบงานวิจยั 2. นักเรียนนำเสนอผลงาน (แสดงเป็นแผงโครงงาน) ให้ผู้สนใจรับรู้ สรุปและ นำไปใชซ้ ึง่ ในกระบวนการเรยี นร้แู บบโครงงานมีขัน้ ตอนการจดั กิจกรรม ดงั น้ี 3.1 ขั้นนำเสนอ เริ่มจากแจ้งจุดประสงค์ เนื้อหาของหลักสูตรให้นักเรียนทราบ ใช้เทคนคิ การตัง้ คำถามเกีย่ วกบั สาระการเรยี นรู้ท่ีกำหนดในแผนการจดั การเรียนรู้ เชน่ - สภาพแวดล้อมในโรงเรียนของเรามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่/ ทำไม นกั เรยี นโรงเรยี นของเราจงึ เปน็ โรคไขเ้ ลอื ดออก (สรา้ งแรงบนั ดาลใจ) - นักเรียนสนใจเรอ่ื งอะไรบ้างเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงนี้ (กำหนดเนอื้ หา) - นกั เรียนอยากเรยี นรู้เรื่องน้ีเพือ่ อะไร (กำหนดจดุ ประสงค)์ - นักเรยี นจะใช้เครื่องมืออะไรบ้างในการศึกษาคร้งั นี้ (กำหนดสือ่ อปุ กรณ)์ - นกั เรียนจะไปศกึ ษาทใี่ ดบา้ ง (กำหนดแหล่งความรู้ แหล่งข้อมลู ) - ผลท่นี กั เรยี นคาดวา่ จะไดร้ บั คืออะไรบา้ ง (สรปุ ความรู้/สมมติฐาน) นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๘: - นักเรียนจะทำอย่างไรจึงจะรู้ว่าผลงานของผู้เรียนดีหรือไม่ดีอย่างไร จะให้ใครเป็น ผตู้ รวจ (กำหนดการวดั และประเมนิ ผล) - นกั เรียนจะเผยแพรผ่ ลงานให้ผู้อ่ืนรไู้ ดอ้ ยา่ งไร (นำเสนอผลงาน รายงาน) - ครูให้นักเรียนที่ส่งคลิปการแนวทางการแก้ปัญหามานําเสนอที่ห้องเรียนออนไลน์ เพื่อให้สมาชิกในห้องเรียนออนไลน์ร่วมกันแสดงความคิดเห็นต่อผลงาน จุดดีที่ควรทำต่อ จุดด้อยที่ควรนําไป แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง 3.2 ขั้นวางแผน คือให้นักเรียนร่วมกันวางแผนงานเป็นกลุ่มตามความสนใจ โดยการระดมความคิด อภิปรายหาข้อสรุปของกลุ่มเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ในขั้นตอนนี้ ครูผู้สอน แนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นการศึกษาให้แตกต่าง และอยู่ในกรอบของเนื้อหาตามแผนการจัด การเรียนรู้ให้แต่ละกลุ่มได้นำประเด็นการศึกษาของตนเองมานำเสนอก่อนปฏิบัติจริง เพื่อให้การศึกษาครั้งนี้ ได้องค์ความรใู้ หมท่ ห่ี ลากหลายและครบถ้วน 3.3 ขั้นปฏิบัติ คือนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม แต่ละกลุ่มศึกษาตามที่ตกลงกันไว้ (จากข้อซักถามของครูผู้สอน) โดยการศึกษาจากเอกสาร แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น นักเรียนใช้ เวลาในการปฏิบัติทั้งในช่วงเวลาเรียน เวลาเลิกเรียนและวันหยุด ตามที่นักเรียนตกลงกันในกลุ่ม เขียนสรุป รายงานผลทเี่ กดิ ขึน้ จากการศึกษาค้นคว้า โดยครผู ู้สอนให้ตัวอย่าง หัวขอ้ รูปแบบการเขยี นรายงานโครงงาน 3.4 ขั้นประเมินผล คือ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีครูผู้เรียนและเพื่อนร่วมกันประเมิน โดยใช้แบบประเมินแผนผงั โครงงานพจิ ารณาตามรายละเอียด ดังนี้ 1. ชื่อโครงงานที่แสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ กับเนอ้ื หาคำถามมีการกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนเกิด ความคิด 2. สมมติฐานมกี ารแสดงถึงพน้ื ฐานความรู้เดมิ 3. วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย และเน้ือหา 4. แหล่งศกึ ษาสามารถคน้ ควา้ คำตอบได้ 5. วิธีการนำเสนอชดั เจน เหมาะสมกับเนอ้ื หาและเวลา การสรา้ งนวัตกรรมและการนำไปใช้ (Initiative) 1. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ ทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODELกำหนดขอบข่ายวัตถุประสงค์ให้สัมพันธ์กับเนื้อหา ทไี่ ด้ศึกษา - ขั้นนำ เกริ่นนำความหมายของโครงงาน ประเภทของโครงงาน รวมท้ัง สร้างความตระหนกั เกีย่ วกบั ความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีและความซอื่ สัตยใ์ นการทำโครงงาน - ขั้นสอนเนื้อหาสาระ ครูผู้สอนกระตุ้นให้นักเรียนนำองค์ความรู้จากการ ทำโครงงาน ไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการสอบถามจะนำความรู้ได้จากการทำโครงงานไปเสริมสร้างคุณธรรม ด้านความ รับผดิ ชอบ และความซ่ือสัตย์ ได้หรอื ไม่ แล้วใหน้ ักเรยี นทกุ คนรว่ มกันวางแผนจัดทำโครงงานกลุ่มละ 1 เรือ่ ง นักเรยี นปฏบิ ัตติ ามแผนกิจกรรมโครงงานที่วางไว้ และเขียนรายงานโครงงาน - ข้ันสรปุ แสดงผลงานนกั เรยี นและนำเสนอด้วยวาจา นวตั กรรม สรา้ งสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๙: 2.จดั ทำแบบสงั เกตพฤติกรรมคุณธรรมดา้ นความรับผดิ ชอบ และความซือ่ สัตย์ 3. ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมตามคำแนะนำ ของผู้เชย่ี วชาญ 4. นำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงานผู้รายงาน ไดด้ ำเนินการตามกระบวนการจดั การเรียนรขู้ องรปู แบบการเรยี นการสอน COVID Model มี 5 ขั้นตอน ดังน้ี การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีและการพัฒนาตนเอง (Digital skill Development) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปจุดประสงค์การเรียนรู้ ครูบอกข้อบกจำกัดจากการ สงั เกตจากคลิปท่นี กั เรยี นส่งมาในภาพรวม และใหน้ ักเรยี นนาํ ขอ้ จำกดั ไปแก้ไขให้ถูกต้อง 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ซกั ถามปญั หา ขอ้ สงสัยต่าง ๆ แลว้ นดั หมาย ขั้นตอนการจัดกิจกรรม โครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL ศกึ ษา เอกสารและ ทฤษฎี Plan นาํ ไปใชก้ บั เทคนคิ ออกแบบ ผูเ้ รยี นและ เพือ่ นชว่ ย กจิ กรรม สะท้อนผล เพอ่ื น Do แกไ้ ขหรอื ตรวจสอบ ปรบั ปรุง กจิ กรรม กจิ กรรม Check Action นวตั กรรม สรา้ งสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตรส์ คู่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL

๑๐ : บทท่ี 4 ผลการใช้นวตั กรรม ผลการดำเนนิ การ/ผลสัมฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODELของนักเรยี นชุมนมุ รักษโ์ ครงงานส่งผลให้นักเรียนสามารถดำเนินโครงงานได้จำนวน 5 กลมุ่ ดังน้ี 1. นักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงานได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการ เรยี นรูแ้ บบโครงงานและสามารถจัดทำโครงงานและนวตั กรรมไดจ้ ำนวน 5 เรอื่ ง ดังนี้ 1. โครงงานสิ่งประดษิ ฐ์ของใช้ในบา้ นจากวัสดุเหลอื ใช้ หัวข้อ“โมเดลกระดาษ” https://www.facebook.com/envi.snru/posts/1974017762765942 2. โครงงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ครือ่ งสำอางและความงาม “สบจู่ ากจอก” 3. นวตั กรรมออกกำลงั กายเพอื่ สขุ ภาพทีป่ ระดิษฐ์จากวสั ดุในท้องถน่ิ https://pubhtml5.com/jhlp/wcwo 4. นวตั กรรมออกกำลังกายเพอ่ื สขุ ภาพทปี่ ระดิษฐจ์ ากวัสดใุ นท้องถน่ิ https://pubhtml5.com/jhlp/odkq 5. โครงงานสิ่งแวดล้อมผลของถ่านชีวภาพผสมไฮโดรเจลต่อสมบัติของดินและการ เจรญิ เตบิ โตของพืช (กรณที ดสอบในกระถาง) การผลติ ส่ือการสอนจากกระดาษ นวตั กรรมออกกำลงั กายเพ่ือสุขภาพ 2 นวัตกรรมออกกำลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ 1 \"โมเดลกระดาษ” 2. นักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงานมีคุณธรรม ความรับผิดชอบ จากกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคุณธรรมดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL 3. นักเรียนชุมนุมรกั ษ์โครงงานมีความพอเพียง ซื่อสัตย์ บริหารงบประมาณและวัสดุในการจัดทำ โครงงานใช้จ่ายอยา่ งประหยัด และเหน็ คณุ คา่ จากสิง่ ทอ่ี ยรู่ อบตวั และสามารถพึง่ ตนเองได้ นวัตกรรม สรา้ งสรรคค์ นดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรส์ คู่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL

๑๑ : บทท่ี 5 ปจั จัยความสำเรจ็ ขอ้ เสนอแนะ และการเผยแพร่ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL ของนักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมีความพอเพยี ง มคี วามรับผิดชอบตรงต่อเวลาและซ่อื สตั ยส์ จุ ริต ดังจะเห็นได้จากการนำไปการ นำนวัตกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ไปใช้กับชุมชนในท้องถิ่นในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ผู้ปกครองซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ กันในสถาบันครอบครัว พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจาก นักเรียน เกิดขึ้นจากการได้รับการเรียนรู้ผ่านเทคนิค COVID MODEL ซึ่งเป็นวิธีการที่มุ่งให้นักเรียนเกิด แรงจูงใจตอ่ กจิ กรรมมากข้ึน เนอื่ งจากนกั เรียนทุกคนเปน็ ผู้ทม่ี บี ทบาทในการทำกิจกรรม การนำวธิ ีการดังกล่าว มาช่วยสร้างแรงจูงใจแก่เพื่อนนักเรียนในการทำกิจกรรม ให้ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนทั้งรูปธรรมและ นามธรรม ซึ่งเป็นบันไดขั้นแรกแห่งความสำเร็จ ด้วยการหากิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียนพร้อมที่จะให้ความ ร่วมมือ ช่วยเหลือครูและเพ่ือนนักเรยี นอย่างเตม็ ใจและพึงพอใจ ผลการจัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL ของนักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงาน นักเรียนร้อยละ ๙6.๙๑ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม เชิงสร้างสรรค์ ในระดับมากที่สุด และเสนอความคิดเห็นว่า อยากให้จัดกิจกรรมแบบนี้ อย่างต่อเนื่อง ทกุ ปกี ารศกึ ษา เนอื่ งจากเปน็ กจิ กรรมที่สานสัมพนั ธค์ รอบครัวและบุคคลในท้องถน่ิ ได้ดีและเห็นคณุ ค่าในส่ิงของ ทต่ี นเองได้รับผิดชอบ ปญั หาทีพ่ บคือ นกั เรยี นมเี วลาวา่ งไม่ตรงกันสง่ ผลให้ดำเนนิ งานไม่ตรงกับเวลาทีน่ ดั หมายไว้ การแก้ปัญหาคือ ให้นักเรียนรับผิดชอบหน้าที่หลักจากครูประจำวิชาที่ได้มอบหมายไว้ แลว้ ตรวจสอบเวลาว่างทีต่ รงกันเพ่อื วางแผนปฏทิ ินในการดำเนนิ งาน ประโยชน์ที่ได้รับ คือ นักเรียนกับเพื่อนได้ช่วยกันทำโครงงานตามที่ตัวเองได้รับมอบหมาย และยังเป็นการฝึกให้นักเรียนมีความพอเพียง มีความรับผิดชอบตรงต่อเวลา และมีความซื่อสัตย์ สามารถ พึง่ ตนเองได้ บทเรียนทไี่ ด้รบั (Lesson Learned) จากการท่ีนักเรียนชุมนุมรักษ์โครงงาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพฤติกรรมคุณธรรมดีขึ้น เพราะนักเรียนเกิดความเข้าใจ เข้าถึงคุณธรรม แล้วนำไปปฏิบัติ โดยผ่าน เทคนิค เพื่อนช่วยเพื่อนทำให้นักเรียนมีความกตัญญูต่อบุพการี และยังได้เข้าใจถึงความพอเพียงจากการปลูกผักบุ้ง อีกทั้งยังมีการนำเสนอความในใจของนักเรียนในการเขียนขอร้องผู้ปกครองให้เลิกดื่มเหล้า เป็นการแสดงออก ดว้ ยความรกั ของนกั เรียนทีม่ ีต่อบุพการี สร้างความรักความสัมพันธ์ทดี่ ตี ่อครอบครัว การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรับ/รางวัลทไ่ี ดร้ บั 1. สมาชิกเครอื ข่ายโครงการครดู ีของแผ่นดนิ ของมลู นิธคิ รูดีของแผ่นดนิ 2. รางวัลรางวัลเหรยี ญทอง ครูผสู้ อนยอดเย่ยี ม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กลมุ่ วิชา วิทยาศาสตร์ ด้านวชิ าการ ระดับภูมิภาครางวลั ทรงคณุ ค่า.สพฐ. OBEC AWARDS ครั้งที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (สพม.) 3. รางวัลคุรุชนคนคณุ ธรรม โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. นวัตกรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL

๑๒ : 4. รางวัลพระพฤหสั บดี ประเภทบุคคล ประจำปี 2564 จากสำนักงาน สกสค. 5. ครูดีของแผน่ ดนิ ช้ันท่ี 5 โครงการเครือข่ายมลู นิธขิ องแผ่นดนิ 6. รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรม “คุรุชนคนคุณธรรม” (ประเภทครูผู้สอน) การประกวด คดั เลือกผลงานกิจกรรมการเรียนรภู้ ายใต้โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. 7. ร่วมนำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง ผลของถ่านชีวภาพผสมไฮโดรเจลต่อสมบัติของดินและ การเจริญเติบโตของพืช (กรณีทดสอบในกระถาง) ในการประกวด GLOBE Student Competition 2021 (GLOBE SRC 2021) ระหวา่ งวันที่ 26 – 27 เมษายน 2564 ในรูปแบบออนไลน์ 8. รางวัลรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ครูที่ปรึกษานักเรียนจากการประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ปี 2564 9. รางวัลรอง Poppular Vote ครูที่ปรึกษานักเรียนจากการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์และความงาม จากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ แหง่ ชาติ ปี 2564 10. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรองชนะเลิศอันดับ 2 ครูที่ปรึกษานักเรียนจากการ ประกวดนวัตกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ ปี 2564 11. รางวัลระดับดี ผลงาน “โมเดลกระดาษ” ครูที่ปรึกษานักเรียนการประกวดสิง่ ประดิษฐ์ ของใช้ในบ้านจากวัสดุเหลือใช้ ระดับมัธยมศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เนื่องในสัปดาห์ วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ ปี 2564 12. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ครูที่ปรึกษานักเรียนการประกวดสิ่งประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์เคร่ืองสำอางและความงาม ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มหาวิทยาลัยราชภฎั ยะลา การเผยแพร่ผลงาน https://pubhtml5.com/homepage/jhlp เงื่อนไขความสำเร็จ 1. ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODELครั้งต่อไปควรทำโครงงานคุณธรรมให้ครบทั้ง ๕ ประการ และแต่ละด้านควรมีหลายเรื่อง เพอื่ ให้นักเรยี นเกดิ คุณธรรมครบทั้ง ๕ ประการ 2. ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL ครั้งต่อไปควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบและเทคนิควิธีสอนในรูปแบบที่หลากหลาย เพอื่ ใหน้ ักเรียนเกิดคุณธรรมอยา่ งย่ังยนื นวัตกรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๑๓ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๑๔ : กจิ กรรมการประชุมสะทอ้ นการคิดในการเปดิ ช้นั เรียน นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรส์ คู่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL

๑๕ : บรรยากาศการเรยี นการสอนแบบ COVID Model นวัตกรรม สรา้ งสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตรส์ คู่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนิค COVID MODEL

๑๖ : ครทู ปี่ รึกษาโครงงานระดับเหรียญทอง ประเภท poster presentation สาขาวิทยาศาสตร์โลกและสงิ่ แวดลอ้ ม โครงการห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ ม นวัตกรรม สรา้ งสรรคค์ นดี : การจดั กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรส์ คู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL

๑๗ : นำนักเรยี นเขา้ โครงการเด็กดีของแผ่นดนิ (Z-iDol) ของมลู นธิ คิ รูดีของแผน่ ดนิ ได้รับรางวัลเด็กดีของแผ่นดินขัน้ พืน้ ฐาน ปีการศึกษา 2564 นวตั กรรม สร้างสรรค์คนดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรส์ คู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรมด้วยเทคนคิ COVID MODEL

๑๘ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๑๙ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๒๐ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๒๑ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๒๒ : นวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนิค COVID MODEL

๒๓ : บุคคลตน้ แบบงดเหลา้ ตลอดชีวติ จงั หวดั สกลนคร ประจำปี 2564 เมอ่ื วนั ที่ 29 ตลุ าคม 2564 จดั โดย สสส. รางวลั ครูผู้ส่งเสรมิ ด้านวิชาการดีเดน่ เนอื่ งในวนั ครู ครั้งที่ 66 ประจำปี พ.ศ.2565 จากสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร นวัตกรรม สร้างสรรค์คนดี : การจดั กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรส์ คู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรมดว้ ยเทคนคิ COVID MODEL