Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศึกษาเอกสารทางวิชาการ การพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมาเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ

ศึกษาเอกสารทางวิชาการ การพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมาเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ

Description: ศึกษาเอกสารทางวิชาการ การพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมาเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ

Keywords: ศึกษาเอกสารทางวิชาการ การพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมาเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ

Search

Read the Text Version

การพฒั นาความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ของครใู นสถานศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน จงั หวดั นครราชสมี าเพือ่ พัฒนาผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น แหง่ ศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือ THE DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT ABILITY OF BASIC EDUCATION SCHOOLS TEACHERS IN NAKHON RATCHASIMA TO IMPROVE 21st CENTURY STUDENTS’ LEARNING RESULTS BY USING COOPERATIVE LEARNING ลลติ า ธงภกั ดี LALITA THONGPHUKDEE สิทธศิ กั ด์ิ จลุ ศิริพงษ์ SITTISAK CHULSIRIPHONG มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า NAKHONRATCHASIMA RAJABHAT UNIVERSITY จังหวดั นครราชสีมา NAKHONRATCHASIMA บทคัดย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาความสามารถการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของครูผูส้ อน 2) ศกึ ษาผลการเรยี นรูข้ องนักเรยี นด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ทักษะการท�ำงานรว่ มกนั และ ความพึงพอใจในการเรียน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของครูท่ีมีต่อการด�ำเนินโครงการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย เปน็ ครผู ู้สอนในสังกัดสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จงั หวดั นครราชสมี า จ�ำนวน 10 คน ใชก้ ารเลือกแบบเจาะจง และ พิจารณาจากความสมัครใจเข้าร่วมโครงการ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกการเรียนรู้ของคร ู แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น แบบวดั ทกั ษะการท�ำงานรว่ มกนั แบบประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียน แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครู แบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รว่ มโครงการของครู และแบบสะทอ้ นผลการสรปุ บทเรยี นของครู วเิ คราะห์ ข้อมูลใชส้ ถติ เิ ชงิ บรรยาย และการวเิ คราะห์เนอ้ื หา ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้และความสามารถในการจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือของครูผู้สอน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากการจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือ พบว่า นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น คะแนนทักษะ การทำ� งานร่วมกันหลงั เรียนเพม่ิ ข้ึน และความพงึ พอใจในการเรยี นอยใู่ นระดับมากถงึ มากท่ีสุด และ 3) ความ พึงพอใจของครูท่มี ตี อ่ การด�ำเนินโครงการวิจยั โดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สดุ คำ� ส�ำคญั : การจดั การเรียนร้แู บบร่วมมือ, ความสามารถในการจัดการเรียนร,ู้ ผู้เรียนแห่งศตวรรษท่ี 21 NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 139

ABSTRACT The purpose of this research was to: 1) develop the teachers’ collaborative learning management skills, 2) study the students’ learning achievement with their collaboration skills, and 3) revise the teachers’ satisfaction on the research project. By using purposive sampling method upon their consent, the target group assigned in the study consisted of 10 teachers, in Nakhon Ratchasima Basic Education Schools. The research instruments used in this study were the teacher’s learning log, lesson plan evaluation form, learning achievement test, cooperative learning skills checklist, students’ satisfactory evaluation form, teachers’ learning and teaching ability evaluation form and reflection form towards teachers’ lesson summary. Descriptive statistics were content and analysis. The results were 1) teachers’ ability towards instructional design and teachers’ ability towards cooperative learning management in general was reported at high level, 2) students’ learning outcomes were from cooperative learning management which showed the higher achievement scores of students after the study, the collaborative skills scores also increase after class, and 3) overall teachers’ satisfaction towards the research project was at the highest level. Keywords : Cooperative learning, Learning management ability, 21st century students’ บทนำ� ในสงั คมโลกในศตวรรษที่ 21 ซง่ึ มคี วามกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) ทที่ ำ� ให้ โลกทั้งโลกเช่ือมโยงและสื่อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจ�ำเป็นต้องพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นผู้ที่มีความสามารถ มีทักษะการคิด เพื่อให้พร้อมส�ำหรับการเปล่ียนแปลง จากนโยบายรัฐบาลด้านการ ศึกษาท่ีจะยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้วยการปฏิรูปการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล และ สอดคล้องกับสังคมโลกยุคใหม่ ท้ังนี้ได้ก�ำหนดเป้าหมายมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู ้ ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 (ส�ำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, 2559) ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องนกั เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ครผู สู้ อนคอื การบรู ณาการ ทักษะเข้าในการสอนเน้ือหาหลักด้านวิชาการ โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความช�ำนาญการ และความรู้เท่าทันด้านต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อให้ประสบความส�ำเร็จท้ังในด้านการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิต นักเรยี นตอ้ งเรียนรู้ทกั ษะท่ีจำ� เปน็ เพื่อให้ประสบความส�ำเรจ็ ในโลกทุกวนั นี้ จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีพื้นท่ีขนาดใหญ่ มีบริบทที่มีความแตกต่างกันท้ังทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ในแต่ละพ้ืนท่ี จึงมุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามศักยภาพที่หลากหลาย เพ่ือสร้างความ ภาคภมู ใิ จในความเป็นนครราชสมี า โดยมกี ารปฏิรปู การศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 จาก การประชมุ ระดมความคดิ เหน็ เพอื่ พฒั นาครจู งั หวดั นครราชสมี า เมอ่ื วนั ท่ี 26 พฤษภาคม 2558 ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา มีบุคลากรที่เข้าร่วมระดมความคิดเห็นมาจากนักการศึกษาทุกสังกัด ประกอบด้วย ผู้แทนส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาท้ัง 7 เขต ส�ำนักงานเขตพื้นท ี่ 140 วารสารชุมชนวิจยั ปที ่ี 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

การศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครราชสมี า เขต 31 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ เขตการศึกษา 11 สำ� นกั งานการศกึ ษาเอกชน ไดแ้ ก่ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู ศึกษานิเทศก์ และนักวิชาการ พบว่า การอบรมและพัฒนาครู ไม่สอดคล้องกับความต้องการ เม่ืออบรมพัฒนาไปแล้วขาดการติดตาม ภาระงานของครูที่ไม่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนมีมากเกินไป ครูปัจจุบันไม่มุ่งมั่นหรือไม่รับผิดชอบในการสอนเท่าที่ควร ครูสอนโดยไม่มีการเตรียมการสอน ครูสอนไม่ตรง วชิ าเอกและไมต่ รงตามความถนดั อตั ราสว่ นของครตู อ่ นกั เรยี นไมเ่ หมาะสม ครยู งั เขา้ ถงึ เทคโนโลยใี นการสอนนอ้ ย ยังใช้เทคนิคการสอนแบบเดิม ๆ ครูขาดสื่อการเรียนการสอนและเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ครูขาดความรู ้ ด้านการวัดผลประเมินผลและการน�ำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูขาดขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน ครูต้องทิ้งห้องเรียนเนื่องจากต้องไปอบรมในเวลาท่ีมีการเรียนการสอน และการจัดอบรมส่วนใหญ่ไม่ค่อยตรง ตามความต้องการในการพฒั นาของครู (ส�ำนักงานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรียนร้แู ละคณุ ภาพเยาวชน, 2559) จากสภาพปัญหาด้านการพัฒนาครูดังกล่าวข้างต้น คณะผู้วิจัยในฐานะอาจารย์ผู้สอนคณะครุศาสตร ์ ท่ีมีบทบาทในการผลิตบัณฑิตสาขาการศึกษา และพัฒนาครูประจ�ำการในจังหวัดนครราชสีมา ซ่ึงเป็นจังหวัด หน่ึงที่มีสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นจ�ำนวนมาก การพัฒนาด้านครู ผู้สอนเพอ่ื ให้มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนทกั ษะดา้ นการสอนส�ำหรบั ผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ในลักษณะ การเป็นพเ่ี ลีย้ ง (Coaching and mentoring) จงึ มีความจ�ำเป็นอย่างยง่ิ ดงั น้นั เพอื่ ให้ครูผูส้ อนมีความรแู้ ละ ประสบการณด์ า้ นการสอนไมห่ ยดุ นง่ิ และมกี ารตอ่ ยอดองคค์ วามรหู้ รอื ขยายตอ่ ใหผ้ อู้ น่ื เพอ่ื นำ� ไปใชใ้ นการพฒั นา การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงการจัดการเรียนรู ้ แบบรว่ มมอื เปน็ รปู แบบการสอนรปู แบบหนงึ่ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 กลา่ วคอื ประการแรก ชว่ ยเตรยี มผเู้ รยี นใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะเผชญิ กบั ชวี ติ จรงิ เพราะลกั ษณะของการเรยี นแบบรว่ มมอื เปดิ โอกาส ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ผิดชอบตอ่ การเรยี นร้ขู องตนเอง ได้ลงมือปฏบิ ัติ ได้ท�ำกจิ กรรมกลุม่ ไดฝ้ ึกฝนทักษะการเรยี นรู้ ทกั ษะการบรหิ ารการจดั การ การเปน็ ผนู้ ำ� การเปน็ ผตู้ าม และทสี่ ำ� คญั เปน็ การเรยี นรทู้ ม่ี คี วามสมั พนั ธส์ อดคลอ้ ง กับชีวิตจริงของผู้เรียนมากที่สุด ประการที่ 2 ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีดี ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ความเป็นประชาธิปไตย ฝกึ การชว่ ยเหลือเก้ือกลู กนั ฝึกการอย่รู ่วมกนั อย่างเปน็ สขุ ชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ ทศั นคติ ทด่ี ตี อ่ การเรยี นตอ่ ครตู อ่ สถานศกึ ษา และตอ่ สงั คม ประการท่ี 3 ชว่ ยลดปญั หาทางวนิ ยั ในชนั้ เรยี น เพราะผเู้ รยี น ทกุ คน จะไดฝ้ กึ ฝนจนกระทง่ั เกดิ วนิ ยั ในตนเอง ไดร้ บั การยอมรบั จากครู จากเพอื่ น ไดม้ สี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท�ำให้เกดิ การยอมรบั ตนเอง เกดิ ความสุขในการอยรู่ ว่ มกนั กบั เพ่อื น ๆ ปัญหาทางวนิ ยั จงึ ลดนอ้ ยลงและหมดไป ในที่สุด และประการท่ี 4 ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยของนักเรียนทั้งชั้นสูงขึ้น การช่วยเหลือกัน ในกลุ่มเพ่ือน ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในส่ิงที่เรียนได้ดียิ่งข้ึน (สุมณฑา พรกุล และ อรพรรณ ศิริมหาสาคร, 2540) ดังนั้น การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือช่วยให้ผู้เรียนมีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมาย มากขึ้น ผู้เรียนมีความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น มีสุขภาพจิตดีข้ึน ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดี ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่มย่อย ช่วยลดปัญหาวินัยในชั้นเรียน ช่วยยกระดับคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เฉล่ียของท้ังห้องเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีทักษะการจัดการ การเป็นผู้น�ำ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือช่วยเตรียมผู้เรียนให้ออกไปใช้ชีวิตในโลกของความเป็นจริงได้ ดังน้ัน ผวู้ จิ ยั จงึ ไดท้ ำ� การพฒั นาความสามารถในการจดั การเรยี นรขู้ องครใู นสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานจงั หวดั นครราชสมี า เพื่อพัฒนาผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นแห่งศตวรรษท่ี 21 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือขน้ึ ในครัง้ นี้ NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 141

วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพอ่ื พฒั นาความสามารถในการออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ของครผู สู้ อน ในสถานศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน จงั หวัดนครราชสีมา 2. เพอ่ื ศึกษาผลการเรยี นรู้ของนักเรยี นในสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน จังหวดั นครราชสมี า จากการจดั การ เรียนร้แู บบร่วมมือ ในประเด็นดงั น้ี 2.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี น จากการจัดการเรียนร้แู บบรว่ มมอื 2.2 ทักษะการท�ำงานร่วมกนั ของนักเรียน จากการจัดการเรียนร้แู บบรว่ มมอื 2.3 ความพึงพอใจในการเรยี นของนกั เรยี นที่มีต่อการจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ 3. เพอื่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของครูทีเ่ ข้าร่วมโครงการท่ีมตี ่อการด�ำเนนิ โครงการวิจัย กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี น การพัฒนาความสามารถ ในการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ แบบร่วมมือของครผู ู้สอน การจัดการเรียนรู้ ทกั ษะการท�ำงานรว่ มกนั ของนกั เรียน แบบร่วมมอื ความพงึ พอใจในการเรยี นของนักเรยี น ท่ีมตี ่อการจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ ความพงึ พอใจของครทู ่ีมีตอ่ โครงการวิจยั ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจยั ประโยชน์ของการวิจัย 1. ได้องค์ความรู้ด้านการสอนในรูปการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือท่ีเกิดจากครูผู้ท่ีมีความรู้และ ประสบการณใ์ นการใชจ้ ริง และสามารถประยุกต์ให้เขา้ กับบริบทของสถานศกึ ษาและนักเรียนของตนได้ 2. สามารถนำ� องคค์ วามรดู้ า้ นการสอนโดยใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ไปใชพ้ ฒั นาการจดั การเรยี น การสอนของครูในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานอ่ืน ๆ 3. เกิดครูแกนน�ำด้านการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ และส่งผลตอ่ การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นตามแนวทางการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 142 วารสารชมุ ชนวิจยั ปที ่ี 12 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

วิธีด�ำเนินการวิจัย ส�ำหรบั การดำ� เนินการวิจัย แบง่ ออกเปน็ 5 ข้ันตอน โดยมีรายละเอยี ดแตล่ ะข้นั ตอน ดงั นี้ ขนั้ ที่ 1 การพฒั นาความสามารถในการออกแบบการจัดการเรยี นรใู้ หก้ ับครู 1. กลุ่มเป้าหมาย ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม ดังน้ี 1.1 กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จังหวัดนครราชสีมา รวมจ�ำนวน 4 คน ประกอบด้วย ผอู้ �ำนวยการ และรองผูอ้ �ำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะช�ำ) และ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นหนองไขน่ ำ�้ ไดม้ าจากการเลอื กแบบเจาะจง และพจิ ารณาจากความสมคั รใจเขา้ รว่ มโครงการ 1.2 ครูผู้สอนในสังกัดสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 10 คน ได้มาจาก การเลือกแบบเจาะจง และพิจารณาจากความสมัครใจเข้าร่วมโครงการของครู ประกอบด้วย 2 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะช�ำ) จ�ำนวน 3 คน และโรงเรียนชมุ ชนบา้ นหนองไขน่ �ำ้ จำ� นวน 7 คน 2. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในขนั้ ตอนน้ี แบ่งเป็น 2 สว่ น ดังนี้ 2.1 เครื่องมือส�ำหรับพัฒนาความสามารถในการออกแบบจัดการเรียนรู้ของครู ได้แก่ เอกสาร แนวทางการจัดการเรียนรู้ เพ่อื ยกระดบั คุณภาพครสู ูก่ ารจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ท่คี ณะผ้วู ิจัยจดั ท�ำข้ึน เพอ่ื ใชป้ ระกอบการอบรมครู และใชเ้ ปน็ แนวทางในการออกแบบการจดั การเรยี นรสู้ ำ� หรบั ครู โดยลกั ษณะเอกสาร ประกอบเป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่ประกอบด้วยสาระส�ำคัญ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การออกแบบการเรียนรู้ PLC นวตั กรรมการการเรยี นรู้ และการวัดและประเมนิ ผลพรอ้ มตวั อยา่ งแบบวัดต่าง ๆ 2.2 แบบบนั ทกึ การเรยี นรขู้ องครู เปน็ แบบบนั ทกึ ทใ่ี หค้ รไู ดส้ ะทอ้ นการเรยี นรขู้ องตนเองภายหลงั ได้รับการพัฒนาและการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการจากคณะผู้วิจัย ประกอบด้วย ข้อค�ำถามเก่ียวกับ ความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการเรียนรู้ในนวัตกรรมท่ีเลือก การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อนครู และผู้บริหาร การแลกเปล่ียนเรยี นร้กู บั คณะผวู้ ิจยั และการน�ำความรไู้ ปใชใ้ นการพฒั นาวิชาชีพครู 3. วิธีดำ� เนินการ การพัฒนาความสามารถในการออกแบบการจดั การเรียนรใู้ ห้กับครู ดังน้ี 3.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อช้ีแจงรายละเอียดของโครงการและวางแผนการด�ำเนิน โครงการวิจัย พร้อมทั้งเตรียมการพัฒนาครูร่วมกันกับผู้บริหารและรองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ท่ีเปน็ กลุ่มเป้าหมาย จำ� นวน 1 วนั 3.2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 และ การจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือใหก้ บั ครูในโรงเรียนกลุม่ เปา้ หมาย จำ� นวน 3 วนั 4. การวิเคราะห์ข้อมูลความรู้และความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูจากการท�ำจากบันทึก การเรยี นรู้ของครู โดยใช้การวิเคราะห์เนอ้ื หา ขั้นที่ 2 การออกแบบการจดั การเรยี นรูข้ องครู 1. กลมุ่ เปา้ หมายในการวจิ ยั เปน็ ครผู สู้ อนในสงั กดั สถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จงั หวดั นครราชสมี า จำ� นวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยพิจารณาจากความสมัครใจในการใชน้ วตั กรรมการจัดการเรียนรู้ แบบรว่ มมือ กลมุ่ เปา้ หมายในการวจิ ัยมาจาก 2 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นเทศบาล 4 (เพาะช�ำ) จำ� นวน 3 คน และโรงเรียนชมุ ชนบา้ นหนองไขน่ ้�ำ จำ� นวน 7 คน NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 143

2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินแผนหน่วยการเรียนรู้โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นแบบประเมินที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนดิ 4 ระดบั โดยประเมนิ ในมติ ขิ องความสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสมของแผนหนว่ ยการเรยี นรู้ ซง่ึ มขี น้ั ตอน การสรา้ งดังน้ี 2.1 คณะผูว้ จิ ัยยกรา่ งแบบประเมนิ แผนหน่วยการจัดการเรยี นรู้ 2.2 ให้ผทู้ รงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 คน ประกอบดว้ ย ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านหลักสูตรและการสอน 2 คน และด้านวดั และประเมนิ ผล 1 คน ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของข้อคำ� ถามกับประเดน็ การประเมนิ 2.3 น�ำผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อค�ำถามกับประเด็นการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ ทัง้ 3 คน มาคำ� นวณคา่ IOC ได้ค่า IOC ระหวา่ ง 0.67-1.00 3. วิธดี ำ� เนนิ การ ในการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ดังนี้ 3.1 ครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการวจิ ัย ทง้ั 10 คน ด�ำเนินการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื โดยจดั ทำ� เปน็ หนว่ ยการเรยี นรใู้ นรายวชิ าทร่ี บั ผดิ ชอบสอน คนละ 1 หนว่ ย 3.2 จัดประชุมติดตามและประเมินผลการออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือของครูผู้สอน โดยคณะผู้วิจัยได้ออกนิเทศและติดตามให้ความช่วยเหลือครูในการจัดท�ำหน่วย การเรยี นรทู้ ี่โรงเรยี นกลุม่ เป้าหมายทัง้ 2 โรง 4. การวิเคราะห์ข้อมูลความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู ้ แบบรว่ มมอื ของครู จากการประเมนิ แผนหนว่ ยการจดั การเรยี นรทู้ ค่ี รจู ดั ทำ� ขน้ึ วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชก้ ารแจกแจง ของคะแนนทไี่ ด้จากการประเมนิ หาคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนน ขัน้ ท่ี 3 การดำ� เนินการจดั การเรยี นรูข้ องครู น�ำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือไปใช้จัดการเรียนการสอนกับนักเรียน ของครูผู้สอน โดยมีรายละเอยี ดการด�ำเนนิ การวจิ ยั ดงั นี้ 1. กลมุ่ เปา้ หมายในการวจิ ยั เปน็ ครผู สู้ อนในสงั กดั สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จงั หวดั นครราชสมี า จำ� นวน 10 คน ตามรายละเอยี ดทีก่ ล่าวไวใ้ นขั้นท่ี 1 และขนั้ ที่ 2 2. เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ ดงั น้ี 2.1 เครื่องในการด�ำเนินการทดลองหรือเคร่ืองมือท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน คือ แผนหนว่ ยการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ทคี่ รผู สู้ อนจดั ทำ� ขนึ้ โดยผา่ นการประเมนิ คณุ ภาพรวม ทง้ั ใหแ้ นะนำ� เพอ่ื ปรับปรงุ แก้ไขให้มคี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสมโดยคณะผูว้ ิจัย 2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบวัดทักษะ การท�ำงานรว่ มกัน แบบประเมินความพงึ พอใจในการเรยี นของนกั เรยี น และแบบประเมินความสามารถในการ จัดการเรยี นรู้ของครู ส�ำหรับการสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเครอื่ งมอื มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 2.2.1 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ แบบวดั ทกั ษะการท�ำงานร่วมกนั และแบบประเมนิ ความ พึงพอใจในการเรียนของนกั เรยี น ดำ� เนินการดังนี้ 1) ครูผู้สอนด�ำเนินการยกร่างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบวัดทักษะการท�ำงาน ร่วมกนั และแบบประเมินความพึงพอใจในการเรยี นของนักเรียน 2) นำ� เครอื่ งมอื เสนอคณะผวู้ จิ ยั เพอ่ื ตรวจสอบความเทยี่ งตรงตามเนอื้ หา และภาษา ทีใ่ ช้ 144 วารสารชุมชนวิจัย ปที ่ี 12 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

3) ดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะของคณะผวู้ จิ ยั และนำ� ไปทดลองใชก้ บั นักเรียนท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพในด้านความยากง่ายและอ�ำนาจจ�ำแนก ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ โดยเกณฑ์คัดเลือกข้อท่ีมีค่าความยากง่ายเท่ากับ 0.20-0.80 และค่าอ�ำนาจ จ�ำแนกตั้งแต่ +.20 ขึ้นไป ส่วนแบบวัดทักษะการท�ำงานร่วมกันและแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียน มตี รวจสอบค่าอำ� นาจจำ� แนกโดยพิจารณา คา่ อ�ำนาจจ�ำแนกต้ังแต่ +.20 ข้ึนไป 4) ด�ำเนินการจัดพิมพ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบวัดทักษะการท�ำงานร่วมกัน และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเรียนของนักเรียนฉบับจริงเพ่ือนำ� ไปใช้ตอ่ ไป 2.2.2 แบบประเมนิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ของครู ด�ำเนินการ ดงั น้ี 1) คณะผวู้ จิ ัยยกรา่ งแบบประเมนิ ความสามารถในการจัดการเรยี นร้ขู องครู 2) น�ำแบบประเมินส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ดา้ นหลักสูตรและการสอน 2 คน และด้านวัดและประเมนิ ผล 1 คน ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำ� ถาม กบั ประเด็นการประเมนิ 3) น�ำผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อค�ำถามกับประเด็นการประเมิน ของผู้ทรงคุณวุฒิทงั้ 3 คน มาค�ำนวณคา่ IOC ได้คา่ IOC ระหวา่ ง 0.67-1.00 4) ดำ� เนนิ การจดั พมิ พแ์ บบประเมนิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรขู้ องครฉู บบั จรงิ เพอ่ื น�ำไปใชต้ อ่ ไป 3. วธิ ดี ำ� เนินการในการด�ำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ มรี ายละเอียดดังน้ี 3.1 ครูผู้สอน ท�ำการทดสอบก่อนเรียนเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและวัดทักษะการท�ำงาน ร่วมกนั ของนักเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย 3.2 ด�ำเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ตามแผนหน่วยการเรียนรู้ ที่พัฒนาขึ้น คนละ 1 หน่วย ในข้ันตอนที่ 2 โดยในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีการสังเกตชั้นเรียน โดยเพอื่ นครูและคณะผู้วจิ ยั เพื่อประเมนิ ความสามารถในการจัดการเรยี นรูข้ องครผู ้สู อน 3.3 ครูผู้สอน ท�ำการทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวัดทักษะการท�ำงาน รว่ มกนั ของนักเรียนกลมุ่ เป้าหมายหลงั ส้นิ สดุ การจัดการเรยี นรูต้ ามแผน 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล มีดงั น้ี 4.1 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการท�ำงานร่วมกัน ใช้การวิเคราะห์ ค่าร้อยละของคะแนนความก้าวหนา้ และค่าเฉลีย่ สว่ นความพงึ พอใจของนกั เรียนวิเคราะห์โดยใชค้ ่าเฉลย่ี 4.2 การวเิ คราะหค์ วามสามารถในการจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ของครู ใชก้ ารประเมนิ หาคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนน ขั้นท่ี 4 การนเิ ทศ ติดตามความกา้ วหน้าในการจัดการเรียนรู้ของครู คณะผู้วิจัย ด�ำเนินการนิเทศ และติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูในระหว่างท่ีครูด�ำเนินการ จดั การเรยี นการสอนทโ่ี รงเรยี นทง้ั 2 โรงเรยี น ในระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม 2559-สงิ หาคม 2559 โดยในการนเิ ทศ ติดตามใช้การสังเกตชั้นเรียนขณะที่ครูปฏิบัติการสอนหลังจากนั้นใช้การประชุมสะท้อนผลการสังเกต ช้ันเรียนและใหข้ ้อเสนอแนะแก่ครู NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 145

ข้นั ท่ี 5 การสะท้อนผลและการสรุปบทเรยี นจากกิจกรรมการดำ� เนนิ งานโครงการ ในข้ันตอนน้ีเป็นการจัดประชุมสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ของครูและสรุปบทเรียนจากกิจกรรม การด�ำเนินงานของโครงการ ร่วมกันระหว่างครูผู้สอนและคณะผู้วิจัย โดยจัดในลักษณะการประชุมเผยแพร ่ ผลการวิจัย ในกิจกรรมประกอบด้วยการบรรยายทางวิชาการในหัวข้อ “การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” การนำ� เสนอผลการใชน้ วตั กรรมการสอนของครผู รู้ ว่ มวจิ ยั การสะทอ้ นภาพความสำ� เรจ็ ของการเขา้ รว่ มโครงการ วิจัยและแนวทางการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยส�ำหรับสถานศึกษา ครู และศึกษานิเทศก์ หลังจากเสร็จสิ้น คณะผวู้ จิ ยั ไดใ้ หผ้ บู้ รหิ ารและครใู นโรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายตอบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รว่ มโครงการวจิ ยั ผลการวิจยั 1. การพัฒนาความสามารถการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูผู้สอนในสถานศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน จังหวดั นครราชสมี า พบวา่ ผลการพฒั นาการออกแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบรวมมือของครูผสู้ อน มีความสอดคล้อง/ความเช่ือมโยง/ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือของครใู นภาพรวมอยใู่ นระดับมาก (X = 3.42) พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ ก�ำหนดเวลาได้เหมาะสม กับกิจกรรม และสามารถน�ำไปปฏิบัติจริงได้อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการพัฒนาความสามารถในการจัด การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ของครผู สู้ อน ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก (X = 4.41) พจิ ารณาเปน็ รายดา้ นการจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ แบ่งช่วงเวลาในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม (X = 4.53) ส่วนด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ คือ สร้างบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมในห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัด การเรียนรู้ (X = 4.50) 2. การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา จากการจัด การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ ในประเดน็ ดงั นี้ 2.1 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียน จากการจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ นกั เรยี นที่ได้รับการ จดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือของครูทั้ง 10 คน มคี ะแนนหลงั เรยี นเพิ่มขึน้ โดยมีคะแนนความก้าวหนา้ อยู่ระหวา่ ง ร้อยละ 9.31 ถงึ รอ้ ยละ 47.00 แสดงดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นทคี่ รูใช้การจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ คร/ู โรงเรียน รายวชิ า/หน่วยการเรียนรู้/ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น วิธีการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ชั้น/จำ� นวนนักเรยี น ครูคนที่ 1 - ภาษาไทย คะแนนก่อนเรียนเฉล่ีย 6.04 การจัดการเรียนรู้แบบ โรงเรียนเทศบาล 4 - ชนิดของคำ� ในภาษาไทย คะแนนหลงั เรยี นเฉลย่ี 15.44 รว่ มมอื โดยใชเ้ ทคนคิ ทีม (เพาะช�ำ) - ป.4 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน แข่งขนั (Team Games - 25 คน มคี วามกา้ วหนา้ เฉลีย่ 9.40 Turnament : TGT) คดิ เปน็ ร้อยละ 47.00 146 วารสารชุมชนวิจัย ปที ี่ 12 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

ตารางที่ 1 (ต่อ) คร/ู โรงเรยี น รายวิชา/หน่วยการเรียนรู/้ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ ระดบั ชนั้ /จำ� นวนนกั เรยี น ครูคนที่ 2 - วทิ ยาศาสตร์ คะแนนกอ่ นเรยี นเฉล่ยี 3.97 การจัดการเรียนรแู้ บบ โรงเรียนเทศบาล 4 - วัสดแุ ละสมบตั ขิ องวสั ด ุ คะแนนหลังเรยี นเฉลย่ี 8.25 รว่ มมือบูรณาการวธิ ีการ (เพาะช�ำ) - ป.5 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ - 32 คน มคี วามกา้ วหน้าเฉลีย่ 4.28 เทคนิคทีมแข่งขัน คิดเปน็ รอ้ ยละ 42.80 (Team Games Tournament : TGT) ครูคนที่ 3 - ภาษาตา่ งประเทศ คะแนนกอ่ นเรยี นเฉลย่ี 4.52 การจดั การเรยี นรู้แบบ โรงเรียนเทศบาล 4 - Countries and capital คะแนนหลังเรยี นเฉล่ยี 7.98 ร่วมมือเทคนิค STAD (เพาะช�ำ) - ม.1 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน - 44 คน มีความก้าวหนา้ เฉลยี่ 3.46 คิดเปน็ ร้อยละ 34.60 ครคู นที่ 4 - คณิตศาสตร์ คะแนนกอ่ นเรยี นเฉล่ยี 21.42 การจัดการความรแู้ บบ โรงเรยี นชมุ ชน - เศษส่วน คะแนนหลังเรยี นเฉล่ยี 25.17 รว่ มมือ โดยใช้เทคนคิ ทีม บา้ นหนองไข่น�้ำ - ป.5 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน แข่งขนั (Team Games - 36 คน มีความกา้ วหน้าเฉลี่ย 3.75 Tournament : TGT) คิดเป็นรอ้ ยละ 12.50 ครูคนท่ี 5 - ภาษาไทย คะแนนกอ่ นเรยี นเฉลี่ย 10.75 การจัดการเรยี นรูแ้ บบ โรงเรียนชมุ ชน - นิทานอา่ นใหม่ คะแนนหลังเรยี นเฉล่ยี 22.75 รว่ มมอื เทคนิค CIRC บา้ นหนองไขน่ ำ้� - ป.2 จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน - 36 คน มคี วามก้าวหน้าเฉลีย่ 12.00 คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.00 ครูคนท่ี 6 - หน้าท่ีพลเมือง คะแนนก่อนเรยี นเฉลยี่ 17.04 การจัดการเรียนร้แู บบ โรงเรียนชมุ ชน - บทบาทหนา้ ท่ขี องเยาวชน คะแนนหลงั เรียนเฉล่ยี 25.93 รว่ มมือเทคนิค STAD บา้ นหนองไข่นำ้� และกฎหมาย มีความกา้ วหนา้ เฉลย่ี 8.89 - ม.1 - 27 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.40 ครคู นที่ 7 - คณิตศาสตร์ คะแนนกอ่ นเรียนเฉลย่ี 15.00 การจดั การความรู้แบบ โรงเรียนชมุ ชน - การบวกจำ� นวนทมี่ ีผลบวก คะแนนหลังเรียนเฉล่ยี 23.81 รว่ มมือ โดยใช้เทคนิค บา้ นหนองไข่น้ำ� ไม่เกิน 100,000 มคี วามกา้ วหน้าเฉลยี่ 8.81 ทมี แข่งขนั (Team Games - ป.5 คิดเป็นร้อยละ 29.37 Tournament : TGT) - 26 คน ครคู นท่ี 8 - ภาษาไทย คะแนนก่อนเรยี นเฉลีย่ 12.60 การจัดการเรียนรแู้ บบ โรงเรยี นชุมชน - นิทานอา่ นใหม่ คะแนนหลังเรยี นเฉล่ีย 15.80 รว่ มมือเทคนิค CIRC บ้านหนองไขน่ ำ้� - ป.2 มคี วามก้าวหนา้ เฉล่ยี 3.20 - 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.00 NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 147

ตารางที่ 1 (ตอ่ ) รายวิชา/หนว่ ยการเรยี นร้/ู ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น วิธกี ารจัดการเรียนรู้ ครู/โรงเรียน ระดบั ช้นั /จำ� นวนนกั เรยี น - สังคมศกึ ษา คะแนนกอ่ นเรียนเฉล่ีย 9.27 การจัดการเรียนรู้แบบ ครูคนที่ 9 - เศรษฐศาสตรใ์ ชวี ิตประจำ� วัน คะแนนหลังเรยี นเฉล่ยี 11.69 ร่วมมือ โรงเรยี นชุมชน - ป.5 มคี วามกา้ วหนา้ เฉลย่ี 2..42 บ้านหนองไข่นำ้� - 26 คน คิดเป็นร้อยละ 9.31 - ภาษาอังกฤษ คะแนนก่อนเรียนเฉล่ีย 16.63 การจดั การเรยี นรูแ้ บบ ครคู นท่ี 10 - play safe คะแนนหลงั เรยี นเฉล่ีย 22.03 รว่ มมอื เทคนิค STAD โรงเรียนชุมชน - ป.6 มคี วามกา้ วหน้าเฉลยี่ 5.40 และTGT บา้ นหนองไข่น้ำ� - 30 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.00 2.2 ทกั ษะการทำ� งานรว่ มกนั ของนกั เรยี น จากการจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื พบวา่ นกั เรยี น ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูท้ัง 10 คน มีคะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกันหลังเรียนเพิ่มขึ้น โดยมีคะแนนความกา้ วหน้าอยู่ระหว่างร้อยละ 5.75 ถงึ รอ้ ยละ 40.80 รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ทักษะการทำ� งานร่วมกนั ของนกั เรยี นทคี่ รูใช้การจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมอื ครู/โรงเรียน รายวิชา/หน่วยการเรียนร้/ู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วธิ ีการจดั การเรียนรู้ ระดับช้ัน/จำ� นวนนกั เรยี น ครูคนที่ 1 - ภาษาไทย คะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกัน การจดั การความรู้ โรงเรียนเทศบาล 4 - ชนิดของคำ� ในภาษาไทย กอ่ นเรยี นเฉลี่ย 10.42 แบบรว่ มมือ โดยใช้ (เพาะชำ� ) - ป.4 หลังเรียนเฉล่ีย 15.52 คะแนน เทคนิคทีมแขง่ ขัน - 25 คน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน (Team Games ความกา้ วหน้าเฉล่ยี 5.10 คะแนน Tournament : TGT) คดิ เปน็ ร้อยละ 25.50 ครคู นท่ี 2 - วิทยาศาสตร์ คะแนนทกั ษะการทำ� งานรว่ มกัน การจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นเทศบาล 4 - วสั ดุและสมบตั ขิ องวัสด ุ กอ่ นเรยี นเฉลย่ี 11.20 แบบร่วมมอื บรู ณาการ (เพาะช�ำ) - ป.5 หลังเรยี นเฉลีย่ 16.12 คะแนน วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ - 32 คน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และเทคนคิ ทมี แขง่ ขัน ความกา้ วหนา้ เฉลย่ี 5.10 คะแนน (Team Games คิดเป็นรอ้ ยละ 24.60 Tournament : TGT) ครูคนท่ี 3 - ภาษาต่างประเทศ คะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกนั การจัดการเรียนรู้ โรงเรียนเทศบาล 4 - Countries and capital ก่อนเรยี นเฉลีย่ 5.60 แบบรว่ มมือเทคนคิ STAD (เพาะช�ำ) - ม.1 หลังเรียนเฉล่ยี 7.57 คะแนน - 44 คน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ความกา้ วหนา้ เฉลย่ี 1.97 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.70 148 วารสารชมุ ชนวิจยั ปที ี่ 12 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

ตารางท่ี 2 (ต่อ) คร/ู โรงเรียน รายวิชา/หนว่ ยการเรยี นรู้/ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วิธีการจดั การเรียนรู้ ระดบั ชัน้ /จ�ำนวนนกั เรียน ครคู นท่ี 4 - คณติ ศาสตร์ คะแนนทกั ษะการท�ำงานร่วมกนั การจดั การความรู ้ โรงเรยี นชมุ ชน - เศษสว่ น กอ่ นเรียนเฉลย่ี 8.36 แบบร่วมมือ โดยใช ้ บ้านหนองไขน่ �้ำ - ป.5 หลงั เรียนเฉลี่ย 9.39 เทคนิคทีมแขง่ ขัน - 36 คน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (Team Games ความก้าวหน้าเฉลี่ย 1.03 Tournament : TGT) คิดเปน็ ร้อยละ 10.30 ครูคนท่ี 5 - ภาษาไทย คะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกัน การจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นชมุ ชน - นทิ านอา่ นใหม่ ก่อนเรยี นเฉลีย่ 13.67 แบบร่วมมือเทคนคิ CIRC บ้านหนองไข่น�้ำ - ป.2 หลงั เรียนเฉลี่ย 14.75 - 36 คน จากคะแนนเต็ม 16 คะแนน ความก้าวหน้าเฉลยี่ 1.08 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.75 ครคู นที่ 6 - หนา้ ทพ่ี ลเมือง คะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกนั การจัดการเรยี นร้ ู โรงเรยี นชมุ ชน - บทบาทหน้าทข่ี องเยาวชน ก่อนเรยี นเฉลยี่ 13.70 แบบรว่ มมอื เทคนิค STAD บา้ นหนองไข่น�้ำ และกฎหมาย หลังเรยี นเฉล่ยี 17.70 - ม.1 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน - 27 คน ความกา้ วหนา้ เฉลีย่ 4.00 คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 ครคู นท่ี 7 - คณิตศาสตร์ คะแนนทกั ษะการทำ� งานร่วมกัน การจดั การความรู้ โรงเรียนชุมชน - การบวกจำ� นวนทม่ี ผี ลบวก ก่อนเรยี นเฉลีย่ 3.77 แบบร่วมมอื โดยใช้ บ้านหนองไข่นำ้� ไมเ่ กิน 100,000 หลังเรยี นเฉล่ยี 7.85 เทคนคิ ทมี แขง่ ขัน - ป.5 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (Team Games - 26 คน ความก้าวหนา้ เฉลย่ี 4.00 Tournament : TGT) คิดเป็นรอ้ ยละ 40.80 ครคู นที่ 8 - ภาษาไทย คะแนนทักษะการท�ำงานร่วมกัน การจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนชุมชน - นทิ านอ่านใหม่ กอ่ นเรยี นเฉล่ยี 13.35 แบบร่วมมือเทคนิค CIRC บา้ นหนองไข่นำ้� - ป.2 หลังเรียนเฉลยี่ 14.50 - 20 คน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ความก้าวหนา้ เฉลี่ย 1.15 คดิ เปน็ ร้อยละ 5.75 ครคู นท่ี 9 - สงั คมศึกษา คะแนนทกั ษะการทำ� งานรว่ มกัน การจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนชมุ ชน - เศรษฐศาสตรใ์ นชวี ิต กอ่ นเรยี นเฉลี่ย 9.31 แบบร่วมมือ บ้านหนองไขน่ ำ�้ ประจำ� วนั หลังเรยี นเฉลีย่ 13.2 - ป.5 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน - 26 คน ความก้าวหนา้ เฉล่ยี 3.89 คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.45 NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 149

ตารางที่ 2 (ต่อ) รายวิชา/หนว่ ยการเรียนรู/้ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ ระดบั ช้นั /จำ� นวนนักเรยี น ครู/โรงเรยี น - ภาษาอังกฤษ คะแนนทกั ษะการท�ำงานรว่ มกัน การจดั การเรียนรู้ - play safe ก่อนเรยี นเฉล่ีย 6.30 แบบร่วมมือเทคนคิ ครูคนท่ี 10 - ป.6 หลังเรียนเฉล่ยี 8.20 STAD และTGT โรงเรยี นชุมชน - 30 คน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน บา้ นหนองไขน่ �้ำ ความกา้ วหน้าเฉล่ยี 1.90 คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.00 2.3 ความพงึ พอใจในการเรยี นของนกั เรยี นทม่ี ตี อ่ การจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื พบวา่ อยใู่ นระดบั มากถึงมากท่ีสุด ส�ำหรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีนักเรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนคิ ทีมแข่งขัน (Team games tournament : TGT) 3. ความพึงพอใจของครูท่ีเข้าร่วมโครงการที่มีต่อการด�ำเนินโครงการวิจัย พบว่า ครูผู้สอนมีความ พงึ พอใจโดยรวมตอ่ โครงการวจิ ยั ท่ไี ด้เขา้ รว่ มอย่ใู นระดับมากที่สุด (X = 4.71) โดยข้อทมี่ ีค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจ สูงท่ีสุด คือ ประโยชน์ของโครงการวิจัยท่ีเกิดกับครูและนักเรียน (X = 4.86) รองลงมาคือ การจัดประชุม น�ำเสนอผลงานและเผยแพรผ่ ลงานวิจยั ของครู (X = 4.71) และจดั อบรมปฏิบตั กิ ารเสรมิ สรา้ งความรู้ดา้ นการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ (X = 4.57) ตามล�ำดบั รายละเอยี ดดังตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 คา่ เฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพงึ พอใจตอ่ การดำ� เนนิ โครงการวจิ ยั ของครทู เ่ี ขา้ รว่ ม โครงการ ข้อรายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ X S.D. ความหมาย 1. การประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการให้แกค่ รแู ละผู้บริหาร 4.29 0.49 มาก 2. การประสานงานระหว่างคณะผวู้ ิจยั และครผู ู้เข้าร่วมโครงการ 4.43 0.79 มาก 3. จัดอบรมปฏิบัตกิ ารเสริมสรา้ งความรูด้ า้ นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 4.57 0.53 มากที่สดุ 4. การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ หน่วยการเรยี นรู้ ณ สถานศกึ ษา 4.29 0.49 มาก 5. การนิเทศ ติดตามและประเมินการจัดการเรียนรใู้ นชน้ั เรยี น 4.14 0.38 มาก 6. การพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใชน้ วัตกรรมทไี่ ด้รบั การถ่ายทอด 4.29 0.49 มาก 7. การแลกเปล่ยี นองคค์ วามรู้ดา้ นนวัตกรรมการสอนระหว่างเพ่ือนครู 4.43 0.53 มาก 8. การใหค้ �ำแนะน�ำชว่ ยเหลือในการใชน้ วตั กรรมการสอนแกค่ รูโดยคณะผู้วจิ ยั 4.43 0.53 มาก 9. การประชุม นิเทศ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของการดำ� เนนิ โครงการของคณะผู้วจิ ยั 4.29 0.49 มาก 10. การจดั ประชมุ น�ำเสนอผลงานและเผยแพรผ่ ลงานวิจยั ของครู 4.71 0.49 มากที่สดุ 11. ประโยชน์ของโครงการวจิ ยั ทเ่ี กิดกับครแู ละนกั เรยี น 4.86 0.38 มากทส่ี ดุ 12. ความพึงพอใจโดยรวมตอ่ โครงการวิจัยทไ่ี ดเ้ ขา้ รว่ ม 4.71 0.76 มากที่สุด 150 วารสารชมุ ชนวิจยั ปีที่ 12 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

อภปิ รายผล 1. การพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูผู้สอนมีความสอดคล้อง/ความ เช่ือมโยง/ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ซึ่งการก�ำหนดเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรม และสามารถน�ำไปปฏิบัติจริงได้อยู่ในระดับมาก ที่สุด และการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูผู้สอน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งการแบ่งช่วงเวลาในการจดั การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ส่วนด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ คอื สร้าง บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกระบวนการพัฒนา ความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้มีทั้ง กระบวนการอบรมให้ความรู้ในลกั ษณะการปฏิบัติการ มีเอกสารแนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ท่ีชัดเจน ทคี่ รสู ามารถใชเ้ ปน็ คมู่ อื ในการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรไู้ ด้ อกี ทง้ั มกี ระบวนการนเิ ทศ ตดิ ตามและใหค้ ำ� ปรกึ ษา อย่างใกล้ชิดอย่างต่อเน่ืองของคณะผู้วิจัย การให้ค�ำปรึกษาใช้หลักการเป็นพ่ีเล้ียงมีกระบวนการแลกเปล่ียน เรียนรู้และสะท้อนผลกันเป็นระยะทั้งขณะที่ครูออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ขณะท่ีครูจัดการเรียนรู้ นอกจากน ้ี ยังมีการนเิ ทศครูเป็นรายบุคคล ณ สถานศึกษาดว้ ย ในขณะเดยี วกนั ในสถานศึกษากม็ ีกระบวนการสังเกตและ ประเมินช้ันเรียนระหว่างครูผู้ร่วมวิจัยและผู้บริหารด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ Gillies (2007) ท่ีได้ศึกษาถึงผล ที่ยังเหลืออยู่ของประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือหลังจากได้ให้ประสบการณ์แบบร่วมมือไปแล้ว 2 ปี โดยทดลองให้การเรียนรู้แบบร่วมมือกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 52 คน และใช้กลุ่มควบคุม อีก 36 คน หลังจากนั้น 2 ปี จึงท�ำการตรวจสอบระหว่างทั้งสองกลุ่ม พบว่า นักเรียนที่ได้รับประสบการณ์ การเรยี นรู้แบบรว่ มมอื มลี กั ษณะทเ่ี ป็นด้านบวกของการเรียนแบบรว่ มมอื มากกว่ากล่มุ ท่ไี ม่ไดร้ ับประสบการณ์ ไดแ้ ก่ การช่วยหรอื ซ่ึงกันและกนั ในการเรยี นมกี ารควบคมุ อารมณไ์ ด้ดีในการท�ำงานรว่ มกัน ผเู้ รยี นยังคงรกั ษา ไว้ซง่ึ การคน้ ควา้ อย่างกระตอื รอื รน้ 2. การเรียนรู้ของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของครูท้ัง 10 คน ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ มคี ะแนนหลังเรียนเพ่มิ ขนึ้ ทกั ษะการท�ำงานรว่ มกัน มคี ะแนนหลังเรยี นเพิ่มขน้ึ และความพึงพอใจในการเรียน อยใู่ นระดบั มากถงึ มากทสี่ ดุ สำ� หรบั รปู แบบการจดั การเรยี นรทู้ น่ี กั เรยี นมคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ คอื การจดั การ เรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคทีมแข่งขัน (Team games tournament : TGT) ซ่ึงสอดคล้องกับ สกุ ญั ญา จนั ทรแ์ ดง (2556, น. 567) ทไี่ ดศ้ กึ ษาผลการจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยชดุ การสอนแบบรว่ มมอื ทมี่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนและความสามารถในการท�ำงานร่วมกัน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่า ผลการเรียนรู้ทางการเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ความสามารถในการท�ำงาน ร่วมกัน มีพฤติกรรมในการท�ำงานร่วมกันอยู่ในระดับดีมาก และความคิดของนักเรียนต่อการเรียนการสอน ด้วยชุดการสอนแบบร่วมมือ อยู่ในระดับดีมาก และ Vaughan (2002, pp. 359-363) ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง ผลของการเรียนแบบร่วมมือต่อผลสัมฤทธ์ิและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนผิวสี โดยทดลอง กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ผู้ทดลองได้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันแบบร่วมมือ ในวิชาคณิตศาสตร์ ตลอดภาคการศึกษา และท�ำการทดสอบนักเรียนในสัปดาห์ที่ 5, 9 และ 19 ปรากฏว่า นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและเจตคตติ อ่ วชิ าคณิตศาสตรด์ ขี น้ึ 3. ความพงึ พอใจของครทู เี่ ขา้ รว่ มโครงการทมี่ ตี อ่ การดำ� เนนิ โครงการวจิ ยั โดยรวมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ โดยมคี วามพงึ พอใจสงู ทสี่ ดุ คอื ประโยชนข์ องโครงการวจิ ยั ทเี่ กดิ กบั ครแู ละนกั เรยี น รองลงมาคอื การจดั ประชมุ น�ำเสนอผลงานและเผยแพร่ผลงานวิจัยของครู และจัดอบรมปฏิบัติการเสริมสร้างความรู้ด้านการออกแบบ NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 151

การจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นไปในแนวทางเดียวกับความเห็นของ สุวิทย์ มูลค�ำ และ อรทัย มูลค�ำ (2552) ที่ได้กล่าวถึงการเรียนรู้แบบร่วมมือว่า เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ได้ร่วมมือกันและช่วยเหลือกันในการเรียนรู ้ โดยแบง่ กลมุ่ ผเู้ รยี นที่มคี วามสามารถต่างกันออกเปน็ กลุม่ เล็ก ๆ ซึ่งเปน็ ลักษณะการรวมกลมุ่ อยา่ งมีโครงสรา้ ง ท่ีชดั เจน ท�ำงานการท�ำงานรว่ มกนั มีการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ มกี ารช่วยเหลือพึ่งพากนั และกัน มคี วามรับ ผิดชอบรว่ มกัน ทั้งตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนและสมาชกิ ในกลมุ่ ประสบผลส�ำเรจ็ ตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนด และ Barnett (2003, p. 2031-A) ไดศ้ กึ ษามาตรฐานวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั ชาตแิ ละระดบั รฐั ในปจั จบุ นั เนน้ ทกี่ ารสบื เสาะ ซงึ่ เปน็ ยทุ ธวธิ ใี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ มาตรฐานเหลา่ นไ้ี มไ่ ดก้ ำ� หนดวธิ ที จี่ ะสรา้ งการสบื เสาะภายในเนอ้ื หาทใี่ ชส้ อน ในห้องเรียนยิ่งไปกว่าน้ันครูจ�ำนวนมากเป็นผู้ตัดสินใจแบบสร้างสรรค์และชาญฉลาด ซึ่งเป็นผู้ท่ีรับรู้และ ก�ำหนดวิธีการสืบเสาะและไม่มีความสงสัยที่จะน�ำเอาวิธีการสืบเสาะไปใช้ เพราะว่ามีประโยชน์มากที่สุด ต่อนักเรียน การศกึ ษาครง้ั นเ้ี ป็นการพจิ ารณาถึงแนวความคิดด้านการสืบเสาะของครู 2 คน ว่าจะเปลีย่ นแปลง อย่างไร เมื่อเวลานานข้ึน และการเปล่ียนแปลงเหล่านี้จะเกี่ยวพันกันอย่างไร และครูเหล่านี้จะผ่านพ้น ความยากลำ� บากอยา่ งไร รปู แบบของการวจิ ยั ธรรมชาติ และการแปลความเพอื่ ใชส้ ำ� หรบั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และ วิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ชี้ให้เห็นว่า แนวความคิดของครูต่อการสืบเสาะมีการเปล่ียนแปลงอย่างมาก เมื่อเวลานานขึ้น และไม่พบว่าเหตุการณ์และขั้นของการคิดวิเคราะห์น้ันมีความสัมพันธ์กันอย่างย่ิงในการสอน เน้อื หาของครู ขอ้ เสนอแนะ 1. ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูอยู่ในระดับมาก ดังน้ัน ในการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด ควรให้ ความส�ำคัญกับกระบวนการพัฒนาความสามารถในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ให้กับครูให้ดีก่อนน�ำไปส ู่ การจัดการเรียนรู้ 2. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสะท้อนผลเกี่ยวกับนวัตกรรม การสอนระหว่างครูผู้สอน ผู้บริหารและนักวิจัยเป็นกลไกส�ำคัญที่ท�ำให้การพัฒนาความสามารถในการจัด กระบวนการเรียนรู้และเกิดผลท่ีตัวผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นในการพัฒนาครูจึงควรมีกระบวน แลกเปล่ียนเรียนรู้และการสะท้อนผลกันเป็นระยะท้ังขณะพัฒนานวัตกรรมการสอน ระหว่างใช้นวัตกรรม การสอน และระยะหลังการใชน้ วตั กรรมการสอน 3. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสามารถพัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนท่ีดีขึ้น และมีทักษะการท�ำงานร่วมกันท่ีดีขึ้นด้วย จึงเหมาะที่จะน�ำนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือมาใช้พัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนั้นครูผู้สอนท่ีจะน�ำนวัตกรรมการจัดการเรียนรู ้ แบบร่วมมือไปใช้ควรศึกษาและท�ำแนวคิดและรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือในแต่ละเทคนิคให้เข้าใจ เนือ่ งจากแต่ละเทคนิคมขี ัน้ ตอนการออกแบบกจิ กรรมท่ีแตกตา่ งกนั 4. การขยายผลการวิจัยหรือการท�ำวิจัยต่อยอดควรท�ำในลักษณะการพัฒนาเครือข่ายการยก ระดับคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนในระดับสถานศึกษาโดยใช้ครูแกนน�ำท่ีเข้าร่วมโครงการวิจัยน ้ี เปน็ จุดเร่ิมต้นในการสร้างเครอื ข่ายภายในโรงเรียน 152 วารสารชมุ ชนวิจัย ปีที่ 12 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2561)

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ท่ีสนับสนุน ทุนวิจัย รวมท้ังขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะช�ำ) และโรงเรียนชุมชน บ้านหนองไข่น�้ำ จังหวัดนครราชสีมา ที่เห็นถึงความส�ำคัญและให้ความร่วมมือในการวิจัยเป็นอย่างดีจนท�ำให้ งานวิจัยน้สี �ำเร็จลุลว่ งดว้ ยดี เอกสารอ้างองิ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2559). ปฏิรูปการศึกษาเพือ่ อนาคตของประเทศไทย ม่ันคง มัง่ คง่ั ย่งั ยนื นโยบายดา้ นการศกึ ษาของนายกรฐั มนตรี (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา) (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพมหานคร : เซนจร.ี่ สำ� นกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน. (2559). โครงการพฒั นาระบบและกลไกและแนวทาง การหนนุ เสรมิ ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นระดบั จงั หวดั . สบื คน้ เมอ่ื 10 ตลุ าคม 2559, จาก www.pl2learn.com/15479604/จังหวดั นครราชสมี า สกุ ญั ญา จนั ทรแ์ ดง. (2556). ผลการจดั การด้วยชดุ การสอนแบบร่วมมือท่ีมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นและความ สามารถในการทำ� งานร่วมกัน วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 6(2), 567-581. สุมณฑา พรกุล และ อรพรรณ ศริ ิมหาสาคร. (2540). การเรียนแบบรว่ มมือ. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สวุ ทิ ย์ มลู คำ� และ อรทยั มลู คำ� . (2552). 21 วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ : เพอื่ พฒั นากระบวนการคดิ . กรงุ เทพมหานคร : ภาพพมิ พ.์ Gillies, R. M. (2007). Cooperative learning: Integrating theory and practice. California: Corwin Press. Vaughan, Winston. (2002, July-August). “Effects of Cooperative Learning on Achievement and Attitude Among Students of Color”. Journal of Educational Research, 95(6), 359-364. Barnett, T. L. (2003). The Influence of Organizational Culture, Work Environment and Personal Work Life on Job Satisfaction and career Commitment of Student Affairs Middle Managers. Boston : Houghton Miffin. ผูเ้ ขียนบทความ อาจารยป์ ระจำ� หลกั สูตรวิจัยและประเมนิ ผลการศึกษา ดร.ลลติ า ธงภักด ี E-mail: [email protected] คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา เลขที่ 340 ถนนสรุ นารายณ์ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา 30000 รองศาสตราจารย์สิทธศิ ักด ิ์ จุลศิริพงษ์ ขา้ ราชการบ�ำนาญ E-mail: [email protected] NRRU Community Research Journal Vol.12 No.1 (January - April 2018) 153