Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore operation-manual-2563

operation-manual-2563

Description: operation-manual-2563

Search

Read the Text Version

คูม่ ือการปฏบิ ัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบงานวิชาการและสารสนเทศ ๙. โปรแกรมบนั ทกึ แก้ไขขอ้ มลู ๙.๑ MIS1I020 บนั ทึกผลงานกจิ กรรมทส่ี าํ คัญ ๙.๒ โดยเลือกแบบรายงาน 21 งานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในส่วนของข้อมูล กิจกรรม - กรณีอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานไทย) ใหเ้ ลือกรหสั กจิ กรรม 073 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานไทย) - กรณีอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานกมั พชู า) ใหเ้ ลือกรหสั กจิ กรรม 074 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานกมั พชู า) - กรณอี บรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานลาว) ให้เลอื กรหัสกจิ กรรม 075 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานลาว) - กรณอี บรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเมียนมา) ใหเ้ ลอื กรหัสกิจกรรม 076 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเมียนมา) - กรณีอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเวยี ดนาม) ใหเ้ ลือกรหัสกิจกรรม 077 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเวยี ดนาม) - กรณีอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานอน่ื ๆ) ใหเ้ ลือกรหสั กจิ กรรม 078 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานอื่น ๆ ) และบันทึกข้อมูลในช่องจํานวน คน และในคําอธิบายเพ่ิมเติม โดยให้บันทึกจํานวนผู้เข้ารับ การอบรมแยกเพศชายและเพศหญิง พร้อมท้ังบนั ทกึ ขอ้ มูลในส่วนของรายช่อื ผ้รู บั ผิดชอบ/ผรู้ ายงาน ด้วย ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน ๑๐.๑ MIS1R030 รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ๑๐.๒ จําแนกตามกิจกรรม โดยเลอื กประเภทกิจกรรม 073 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานไทย) 074 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานกมั พชู า) 075 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานลาว) 076 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเมียนมา) 077 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานเวียดนาม) 078 อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร (แรงงานอ่นื ๆ ) และเลือกแบบรายงาน 21 งานความปลอดภยั ฯ หมายเหตุ : ผลการปฏิบตั ิงานของกิจกรรมอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร ให้นํา ผลการอบรมตามรหสั กจิ กรรม 073 – 078 มารวมกัน   ๔๕

ค่มู ือการปฏิบัตงิ านกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๑. หนว่ ยงานรับผิดชอบ ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทํางานเขต ๑๒ เขต ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมที่ ๑ ขับเคล่ือนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหัส ๓๐๐    ๔๖

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตวั อยา่ ง โครงการสรา้ งการรับรคู้ วามปลอดภยั และอาชีวอนามยั แรงงานนอกระบบภาคเกษตร เพื่อปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มการทํางานและลดปัจจัยเสยี่ งตอ่ การสัมผสั สารเคมีอนั ตราย เพอื่ ขบั เคล่อื นความปลอดภัยและอาชวี อนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ใหค้ รอบคลมุ แรงงานทุกกล่มุ  ๑. หลกั การและเหตผุ ล แรงงานนอกระบบโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมเป็นอีกงานหนึ่งที่แรงงานมีความเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุและโรคท่ีเกิดข้ึนจากการทํางาน เช่น การยกเคลื่อนย้ายวัสดุส่ิงของที่มีน้ําหนักมาก การทํางานด้วย ท่าทางท่ีต้องออกแรงมาก การทํางานในสภาพอากาศที่ร้อนจัด การใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลงต่าง ๆ รวมทั้ง สถานที่ทํางานและที่พักอาศัยของครอบครัวเกษตรกรที่มักเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ ปุ๋ย และยาฆ่าแมลงต่าง ๆ ไว้ในบ้านของเกษตรกร ทําให้สมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะเด็กเล็กในบ้านท่ีอาจไปสัมผัสสารเคมีเหล่านั้น ทุกวันนี้ มีผู้บริโภคจํานวนมากที่ยังไม่ตระหนักว่าชีวิตได้ถูกคุกคามจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืชและสารเคมีอื่น ๆ ท่อี าจปนเป้ือนมาจากกระบวนการผลิต ซ่ึงเม่ือสารเคมเี หล่านี้เม่ือเข้าสรู่ ่างกายอาจเกิดผลกระทบต่อร่างกายทํา ให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา เช่น ผดผื่นที่ผิวหนัง อาการวิงเวียน และมึนงงศีรษะ เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีอาการที่ไม่ได้แสดงออกมาให้เห็นในทันทีทันใด เช่น การทํางานผิดปกติของระบบประสาทหรือมะเร็ง จึงไม่มีใครตระหนักว่าการเจ็บป่วยเหล่าน้ีมีสาเหตุมาจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืช การที่สารเคมีเหล่านี้ตกค้างอยู่ ในธรรมชาติจึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร สมาชิกในครอบครัว และผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง กับพื้นท่ี ๆ มีการใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืช นอกจากน้ี ยังส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน ส่ิงมีชีวิตในธรรมชาติ แหล่งนํ้าและอาหาร ท้ังนี้ บริษัทผู้ผลิตสารเคมีกําจัดศัตรูพืชจะต้องจัดให้มีฉลากแสดงวิธีใช้สารเคมี ซึ่งถ้าใช้ อย่างถูกต้องจะปลอดภัย ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ต่อสุขภาพของผู้ได้รับพิษเข้าสู่รา่ งกายจะมกี ารแสดงอาการอยู่ ๒ แบบ คอื แบบ เฉียบพลันและแบบเรื้อรัง โดยแบบเฉียบพลันจะเกิดขึ้นเม่ือร่างกายได้รับพิษของสารเคมกี ําจัดศัตรูพืชจํานวนมาก จะแสดงอาการอย่างทันทีทนั ใด เชน่ ปวดศรี ษะ มนึ งง คล่ืนไส้ อาเจยี น เจ็บหน้าอก ปวดกล้ามเน้ือ เหง่ือออกมาก ท้องร่วง เป็นตะคริว หายใจติดขัด มองเห็นไม่ชัดเจน หรืออาจร้ายแรงถึงข้ันเสียชีวิต ส่วนภัยร้ายเงียบหรือ เรียกว่า \"การตายผ่อนส่ง” คือแบบเร้ือรัง โดยจะเกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชจํานวนน้อย ต่อเนื่องเป็นเวลานาน ซ่ึงกว่าจะแสดงอาการอาจใช้เวลาเป็นเดือน เป็นปีภายหลังจากการได้รับสารเคมีกําจัด ศตั รูพชื เช่น การเปน็ หมนั การเสอื่ มสมรรถภาพทางเพศ และมะเร็ง เปน็ ตน้ จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีแนวคิดการปรับปรุงความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในงานเกษตรด้วย รูปแบบ WIND (Work Improvement in Neighbourhood Development) ท่ีได้ถือกําเนิดข้ึนที่ Cantho Province ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นผลจากความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง Occupational Health and Environment of Cantho และ Institute for Science of Labour ประเทศญี่ปุ่น และโครงการอบรม WIND ได้ถูกนําไปประยุกต์ใช้ ในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศเวียดนาม โดยได้รับความช่วยเหลือจากองค์การ แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization; ILO), Institute for Science of Labour   ๔๗

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ องค์กร Bread for the World และองค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศเยอรมัน ต่อมา องค์การแรงงานระหว่าง ประเทศได้ขยายโครงการ WIND ไปยังประเทศต่าง ๆ ซงึ่ รวมถึงประเทศไทยดว้ ย ดังน้ันเพื่อเป็นการสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับ สารเคมีอันตรายแก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรและรณรงค์ให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้เกิดความปลอดภัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงในการสัมผัสและโรคท่ีเกิดจากสารเคมีอันตรายเพื่อความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดีของแรงงานนอกระบบ จึงจัดทําโครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับคุณภาพ ชวี ิตแรงงานนอกระบบ กจิ กรรมการอบรมสร้างการรบั ร้มู าตรการเชิงปอ้ งกนั เกย่ี วกับสารเคมีอันตราย ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม ๒.๒ เพ่ือรณรงค์ให้แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ๒.๓ เพื่อลดปัญหาความไม่ปลอดภัยและโรคที่เกิดจากการสัมผัสสารเคมีอันตรายของแรงงาน นอกระบบในภาคเกษตรกรรม ๓. แนวทาง/วธิ ีการดําเนนิ การ ๓.๑ จัดทําสื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์เก่ียวกับมาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย ในการทาํ งานเก่ียวกบั สารเคมีอนั ตราย เช่น โปสเตอร์ แผน่ พับ ๓.๒ จัดอบรมสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี อันตรายให้แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม โดยจัดทําคู่มือแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ในการทํางานเพ่ือความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแก่แรงงานนอกระบบในงานภาคเกษตร โดยประกอบด้วย หวั ขอ้ การอบรม ดงั นี้ ๑) การจดั เกบ็ และขนย้ายสารเคมีอนั ตรายอย่างปลอดภัย ๒) การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมในการทาํ งานเก่ยี วกบั สารเคมอี นั ตราย ๓) การป้องกันอันตรายและโรคจากการสัมผสั สารเคมอี ันตราย ๔) การใชอ้ ปุ กรณค์ ้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลเกีย่ วกับสารเคมอี ันตราย ๕) การจดั ระบบการทาํ งานเกย่ี วกบั สารเคมีอันตราย ๗) การทํางานเกยี่ วกับสารเคมอี ันตรายเพอ่ื ลดผลกระทบกบั สิ่งแวดล้อม ๓.๓ รณรงค์การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานพร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายเบ้ืองต้น ในท่ีทํางาน ท่ีพักอาศัย ชุมชน แก่แรงงานนอกระบบ ในภาคเกษตรกรรม ๔. เป้าหมาย/พื้นทีด่ ําเนนิ การ ๔.๑ เปา้ หมาย - สร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม จํานวน..................คน - ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน/ที่ทํางาน/ที่พักอาศัย แรงงานนอกระบบในภาคเกษตร จาํ นวน............... แหง่   ๔๘

คู่มอื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔.๒ พน้ื ทีด่ ําเนนิ การ ดําเนินการสร้างการรับรู้และปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานแก่แรงงานนอกระบบ ในภาคเกษตรทวั่ ประเทศ ๕. ระยะเวลาดําเนินการ ดําเนินการเดอื นมกราคม – พฤษภาคม ๒๕๖๓ ๖. ตวั ช้วี ัดความสําเร็จ ๖.๑ ผลผลิต - สร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม จาํ นวน......................คน - ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน/ท่ีทํางาน/ที่พักอาศัย แรงงานนอกระบบในภาค เกษตร จาํ นวน.................. แหง่ ๖.๒ ผลลพั ธ์ - แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรท่ีได้รับการสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความ ปลอดภัยในการทาํ งานเกยี่ วกับสารเคมีอนั ตราย มีความเข้าใจไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๗๕ - แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรดําเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน/ ท่ที าํ งาน/ท่ีพักอาศัย ไดต้ ามรูปแบบทีก่ ําหนดไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๗๕ ๗. แผนการดําเนนิ การ ที่ กจิ กรรม ระยะเวลาดําเนนิ การ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑ ขออนมุ ตั โิ ครงการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๒ ขออนุมัติดาํ เนินการ ๓ จัดทาํ ส่ือเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ และคู่มอื /แนวทางการปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ๔ สร้างการรับรู้มาตรการเชงิ ป้องกัน ด้านความปลอดภยั ในการทาํ งาน เกีย่ วกบั สารเคมอี ันตรายแกแ่ รงงาน นอกระบบในภาคเกษตร ๕ รณรงคส์ ง่ เสรมิ ใหแ้ รงงานนอกระบบ ในภาคเกษตรปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มใน การทาํ งาน/ที่ทาํ งาน/ทีพ่ กั อาศยั ตาม แนวทางท่ีกําหนดเพ่อื ความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ดี ๖ สรุป/ประเมินผล/รายงาน หมายเหตุ : วันเวลาอาจเปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสม   ๔๙

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๘. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมที่ ๑ ขับเคล่ือนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ รหสั ๓๐๐ ๙. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ ๙.๑ แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรท่ีได้รับการพัฒนาองค์ความรู้มาตรการเชิงป้องกันด้าน ความปลอดภัยในการทาํ งานลดปัจจยั เส่ียงอุบัติเหตจุ ากการสมั ผสั และการเกดิ โรคจากสารเคมอี ันตราย ๙.๒ แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรมีสภาพแวดล้อมในการทํางาน/ท่ีทํางาน/ท่ีพักอาศัย ปลอดจากสารเคมอี นั ตรายทาํ ให้มีความปลอดภยั และสุขภาพอนามัยดี ๑๐. หน่วยงานรับผดิ ชอบ ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทาํ งานเขต.................... ๑๑. ผเู้ สนอโครงการ ( ) ตาํ แหนง่ . ๑๒. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ( ) ตาํ แหนง่ . ๑๓. ผอู้ นุมัติโครงการ ( ) ตําแหนง่ .   ๕๐

คู่มอื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมท่ี ๘ โครงการพฒั นาศักยภาพแรงงานและสรา้ งการรบั รดู้ ้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพ่อื คุณภาพชวี ติ ทีด่ ขี องผูใ้ ชแ้ รงงานทุกภาคสว่ น (T) (ศปข.)  ๑. หลักการและเหตผุ ล รฐั บาลได้ประกาศใชย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยใหห้ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ใชเ้ ปน็ กรอบ ในการจัดทําแผนงานให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยมีการพัฒนาในทุกมิติท้ังในด้าน เศรษฐกิจที่ประเทศไทยได้รับการยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มบนของกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลาง ในด้านสังคมท่มี ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนสง่ ผลให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากการเปน็ ประเทศยากจน และในด้านสิ่งแวดล้อมท่ีประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในความหลากหลายเชิงนิเวศ แต่ยังประสบปัญหาเก่ียวกับ โครงสร้างเศรษฐกิจที่ยังไม่สามารถขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ อีกทั้งแรงงานไทยยังมี ปญั หาเรอ่ื งคุณภาพและสมรรถนะท่ไี มส่ อดคล้องกบั ความต้องการในการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาของประเทศ การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมท่ีเร่ิมเข้าสู่การนําเทคโนโลยีชั้นสูงหรือ นวัตกรรมมาใช้ทดแทนแรงงานอีกท้ังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรท่ีมีสัดส่วนประชากรวัยเด็กถึงวัย แรงงานที่ลดลงและประชากรสูงอายุที่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ก็เป็นอีกปัจจัยสําคัญที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ ในมิติต่างๆซ่ึงการนําเทคโนโลยีชั้นสูงหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม บุคลากรหรือแรงงานยังคงเป็นองค์ประกอบสําคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการผลิต ซึ่งแรงงานดังกล่าว จําเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมนั้น ๆ รวมถึงต้องมีองค์ความรู้ในการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดปัจจัยท่ีเป็นอันตรายหรือส่งผล ต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของตน จนเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการ ทาํ งานได้ ดังนั้น นอกเหนือจากการพัฒนาศักยภาพให้แก่แรงงานในทุกภาคส่วนเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มีทักษะท่ีเพิ่มขึ้น มีองค์ความรู้ท่ีก้าวทันต่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เปล่ียนแปลงไป การพัฒนาศักยภาพ แรงงานในทุกภาคส่วนให้สามารถปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้ อย่างปลอดภัยจึงเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสําคัญถือเป็นการคุ้มครอง ดูแล และสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดี ให้แก่แรงงานซึ่งเป็นกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยดําเนินการภายใต้แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และกรอบการดําเนินโครงการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ในการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้ ครอบคลุมแรงงานทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทํา “โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ ด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย เพือ่ คณุ ภาพชีวติ ที่ดขี องผใู้ ช้แรงงานทกุ ภาคสว่ น”   ๕๑

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้แก่แรงงานในทุกภาคส่วน อย่างเหมาะสมและครอบคลมุ ๒.๒ เพ่ือสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้แก่แรงงานทุกภาคส่วนเกิดความ ตระหนักและรู้เท่าทันอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน รวมถึงสามารถป้องกันและปรับปรุงแก้ไขสภาพ ที่อาจเกดิ อันตรายเพ่อื มิใหเ้ กิดอุบัตเิ หตแุ ละโรคจากการทาํ งาน ๒.๓ เพ่ือรณรงค์และกระตุ้นผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้ตระหนักถึงมาตรการเชิงป้องด้านความปลอดภัย ในการทํางาน และมีสว่ นรว่ มในการขบั เคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัย(Safety Thailand) แบบยง่ั ยืน ๒.๔ เพ่ือลดสถิตอิ บุ ตั เิ หตจุ ากการทํางานในภาพรวมของประเทศ ๓. แนวทางดาํ เนนิ การ ๓.๑ ขออนุมตั ิโครงการ ๓.๒ กําหนดหลักสูตรหรือหัวข้อที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือเหมาะสมกับพื้นที่ โดยให้มีหัวข้อ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือความปลอดภัยในการทํางาน และหัวข้อการสร้างวัฒนธรรมเชิงป้องกันเพื่อลด ความเสีย่ งจากอนั ตรายและเจ็บป่วยเน่อื งจากการทาํ งาน ๓.๓ ขออนุมัติดาํ เนนิ การ ๓.๔ หนังสือเชิญชวนสถานประกอบกิจการและแรงงานนอกระบบ เข้าร่วมโครงการ/เข้ารับการ อบรม ๓.๕ ดาํ เนินการจัดอบรมตามกําหนดการ ๓.๖ สรปุ /ประเมนิ ผล ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ แรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ๔.๒ เปา้ หมาย หนว่ ยงาน เปา้ หมาย(คน) ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ๑๒ เขต ๒,๘๐๐ ๒,๘๐๐ รวม ๕. หลักฐานอ้างองิ ๕.๑ หนังสือขออนุมตั ิโครงการ ๕.๒ หนังสือขออนมุ ัตดิ าํ เนินการ ๕.๓ หนังสอื เชญิ สถานประกอบกจิ การหรือกลุม่ เป้าหมาย/เข้ารบั การอบรม ๕.๔ ทะเบียนรายชื่อผ้เู ขา้ การอบรม/กาํ หนดการ/ภาพถา่ ย ฯลฯ ๖. การนบั ผลงาน คน นบั จากจาํ นวนบคุ ลากรฯที่เขา้ รบั การอบรม   ๕๒

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. การบันทกึ ผลงาน บันทึกผลการดาํ เนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบฝกึ อบรม ๙. โปรแกรมบนั ทึกแกไ้ ขขอ้ มูล ๙.๑ TRS1I020 บันทกึ ทะเบยี นผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม (แรงงานกลมุ่ เป้าหมาย) ๙.๒ โดยเลือกรหสั หลกั สูตร ๙.๓ 00003068 พัฒนาพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามัยฯ เพื่อคุณภาพชีวติ ท่ีดี ๙.๔ และบันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะจํานวนผู้เข้ารับการอบรม ในภาพรวมแยกตามประเภท และบันทึกผลการดาํ เนนิ การและค่าใชจ้ า่ ยด้วย ๑๐. โปรแกรมพิมพ์รายงาน ๑๐.๑ TRS1R030 รายงานการสรปุ ผลการฝึกอบรม ๑๐.๒ โดยเลอื กรหสั หลกั สตู ร ๑๐.๓ 00003068 พัฒนาพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามัยฯ เพื่อคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี ๑๑. หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทํางานเขต ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมที่ ๑ ขับเคล่ือนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐    ๕๓

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตวั อย่าง โครงการพฒั นาศกั ยภาพแรงงานและสร้างการรบั รู้ดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย เพอื่ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี องผู้ใช้แรงงานทกุ ภาคส่วน  ๑. หลักการและเหตผุ ล รัฐบาลไดป้ ระกาศใชย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ใชเ้ ปน็ กรอบ ในการจัดทําแผนงานให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงในปัจจุบันประเทศไทยมีการพัฒนาในทุกมิติท้ังในด้าน เศรษฐกิจท่ีประเทศไทยได้รับการยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มบนของกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลาง ในด้านสงั คมทม่ี ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งผลใหป้ ระเทศไทยหลดุ พ้นจากการเป็นประเทศยากจน และในด้านส่ิงแวดล้อมที่ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในความหลากหลายเชิงนิเวศ แต่ยังประสบปัญหาเกี่ยวกับ โครงสร้างเศรษฐกิจท่ียังไม่สามารถขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ อีกทั้งแรงงานไทยยังมี ปัญหาเรอ่ื งคณุ ภาพและสมรรถนะที่ไมส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการในการขับเคลือ่ นการพฒั นาของประเทศ การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมท่ีเร่ิมเข้าสู่การนําเทคโนโลยีชั้นสูงหรือ นวัตกรรมมาใช้ทดแทนแรงงานอีกท้ังการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรท่ีมีสัดส่วนประชากรวัยเด็กถึงวัย แรงงานที่ลดลงและประชากรสูงอายุที่เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ก็เป็นอีกปัจจัยสําคัญท่ีมีผลต่อการพัฒนาประเทศ ในมิติต่างๆซึ่งการนําเทคโนโลยีชั้นสูงหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม บุคลากรหรือแรงงานยังคงเป็นองค์ประกอบสําคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการผลิต ซึ่งแรงงานดังกล่าว จําเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมนั้น ๆ รวมถึงต้องมีองค์ความรู้ในการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดปัจจัยที่เป็นอันตรายหรือส่งผล ต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของตน จนเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการ ทาํ งานได้ ดังน้ัน นอกเหนือจากการพัฒนาศักยภาพให้แก่แรงงานในทุกภาคส่วนเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มีทักษะท่ีเพ่ิมขึ้น มีองค์ความรู้ที่ก้าวทันต่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป การพัฒนาศักยภาพ แรงงานในทุกภาคส่วนให้สามารถปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้อย่าง ปลอดภัยจึงเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสําคัญถือเป็นการคุ้มครอง ดูแล และสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดี ให้แก่แรงงานซึ่งเป็นกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยดําเนินการภายใต้แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และกรอบการดําเนินโครงการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ในการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้ ครอบคลุมแรงงานทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทํา “โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ ดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามยั เพอื่ คุณภาพชวี ิตทด่ี ขี องผใู้ ชแ้ รงงานทุกภาคสว่ น” ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้แก่แรงงานในทุกภาคส่วน อยา่ งเหมาะสมและครอบคลุม   ๕๔

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๒ เพื่อสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้แก่แรงงานทุกภาคส่วนเกิดความ ตระหนักและรู้เท่าทันอันตรายท่ีจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน รวมถึงสามารถป้องกันและปรับปรุงแก้ไขสภาพ ที่อาจเกดิ อนั ตรายเพอื่ มิให้เกดิ อบุ ตั ิเหตแุ ละโรคจากการทาํ งาน ๒.๓ เพ่ือรณรงค์และกระตุ้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ตระหนักถึงมาตรการเชิงป้องด้านความปลอดภัย ในการทํางาน และมสี ว่ นรว่ มในการขบั เคล่ือนความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safety Thailand) แบบยัง่ ยืน ๒.๔ เพอ่ื ลดสถติ อิ ุบตั เิ หตุจากการทาํ งานในภาพรวมของประเทศ ๓. กลมุ่ เปา้ หมาย/เป้าหมาย แรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ๔. แนวทางดาํ เนนิ การ ๔.๑ กําหนดสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมายและแรงงานนอกระบบ ท่ีจะสร้างการรับรู้ด้าน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๔.๒ กําหนดหลักสูตรหรือหัวข้อที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือเหมาะสมกับพ้ืนท่ี โดยให้มีหัวข้อ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือความปลอดภัยในการทํางาน และหัวข้อการสร้างวัฒนธรรมเชิงป้องกันเพ่ือลด ความเสย่ี งจากอันตรายและเจบ็ ปว่ ยเนื่องจากการทาํ งาน ๔.๓ เชญิ ชวนสถานประกอบกิจการและแรงงานนอกระบบ เข้ารว่ มโครงการ/เขา้ รับการอบรม ๔.๔ ดําเนินการจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย เพือ่ คณุ ภาพชวี ติ ที่ดขี องผูใ้ ชแ้ รงงานทกุ ภาคส่วน (จดั ใหม้ ีการทดสอบผเู้ ขา้ รบั การอบรมก่อนและหลัง บทเรยี นดว้ ย) ๔.๕ สรุป ประเมินผล รายงาน ๕. สถานที่ดาํ เนนิ การ พัฒนาศักยภาพแรงงานและสรา้ งการรับรู้ด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย เพือ่ คณุ ภาพชีวติ ท่ีดี ของผูใ้ ช้แรงงานทกุ ภาคส่วน ในสถานทีร่ าชการหรอื สถานที่เอกชนตามความเหมาะสม ๖. ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ ดาํ เนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. แผนการดําเนนิ งาน ท่ี กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑ จัดทาํ รายละเอียดและขออนุมัติโครงการ ๒ เชิญชวนสถานประกอบกจิ การและแรงงาน นอกระบบ เขา้ ร่วมโครงการ/เขา้ รบั การอบรม ๓ จดั อบรมพฒั นาศกั ยภาพแรงงานและสรา้ ง การรับร้ดู ้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ๔ สรุป/ประเมนิ ผล ๕ รายงาน   ๕๕

ค่มู ือการปฏิบัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๘. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมท่ี ๑ ขับเคลื่อนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐ ๙. ตัวชวี้ ดั ความสาํ เรจ็ ๙.๑ ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ พัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อคุณภาพ ชวี ติ ท่ีดขี องผใู้ ชแ้ รงงานทุกภาคสว่ น จาํ นวน............คน ๙.๒ ตัวชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรูเ้ พิ่มข้นึ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๕ ๑๐. ผ้เู สนอโครงการ (.................................................) ตาํ แหน่ง....................................... ๑๑. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑๒. ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ (.................................................) ตาํ แหน่ง....................................... (.................................................) ตําแหน่ง.......................................   ๕๖

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ ๙ โครงการรณรงคเ์ ร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบรหิ ารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานเชงิ รกุ ในสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียง (รณรงคส์ ถานประกอบกจิ การให้มกี ารพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน)** (ศปข./สรพ./สสค.)  ๑. หลักการและเหตุผล กระทรวงแรงงานได้กําหนดมาตรการ โครงการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ของประเทศไทย (Safety Thailand) โดยดําเนินการใน ๓ มิติ ๓ ด้าน เก่ียวกับมิติการส่งเสรมิ สนับสนุนในการ ดําเนินงานด้านการก่อสร้าง มิติการกํากับดูแลด้านอัคคีภัย และมิติการมีส่วนร่วมของประชาชนเกี่ยวกับ สารเคมี เพื่อให้การพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยของประเทศไทย บรรลุ เปา้ หมายในการลดอุบัติเหตุ อุบัติภัย โรค และการเจบ็ ป่วยจากการทํางาน อันจะเสริมสร้างความปลอดภยั และ คุณภาพชีวิตของคนทํางานและประชาชนให้เกิดข้ึนอย่างย่ังยืน อีกท้ังร่วมผลักดันในรับนโยบายจนถึงระดับ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนสร้างกลไกในการดูแลกลุ่มเป้าหมายในระดับพื้นท่ี ที่สอดรับแนวนโยบาย รัฐบาลและแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ มีขอบเขตการดําเนินงานบูรณาการงานและขับเคลื่อน ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ตามมาตรฐานกฎหมาย เพื่อผลกั ดันการดําเนนิ งานใหบ้ รรลุเปา้ หมาย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยกองความปลอดภัยแรงงาน ร่วมกับสถาบันส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (องค์การมหาชน) และสมาคมส่งเสริม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) จึงได้บรรลุข้อตกลงร่วมกันในการขับเคล่ือน ดําเนินงาน เพ่ือรณรงค์เสริมสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในประเด็นลดปัจจัยเสี่ยง การเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ โดยร่วมกันจัดทําแบบตรวจสอบเก่ียวกับการป้องกันอัคคีภัยใน สถานประกอบกจิ การ สําหรบั พนกั งานตรวจความปลอดภยั และสถานประกอบกจิ การ ดังนั้น เพื่อเป็นการตรวจและกํากับดูแล และรณรงค์เสริมสร้างการรับรู้แก่สถานประกอบกิจการ ที่มีความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ ได้ตระหนักและปฏิบัติสอดคล้องตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน รวมท้ังรณรงค์ให้มีการพัฒนาระบบ การบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพ่ือให้แรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี ภายใต้นโยบาย “ความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดีของประเทศไทย (Safety Thailand)” กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยกองความ ปลอดภัยแรงงาน จึงจัดทําโครงการการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชงิ รกุ ในสถานประกอบกิจการประเภท กล่มุ เสี่ยง เพอ่ื ใหส้ ถานประกอบกจิ การกลมุ่ เส่ียงปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั   ๕๗

คูม่ อื การปฏิบตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยเน้นความเส่ียงในเร่ืองการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ และ ใชเ้ คร่ืองมือดังกลา่ วมาขา้ งต้นดําเนินการในสถานประกอบกจิ การกลมุ่ เส่ยี ง ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยงปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ๒.๒ เพ่ือรณรงค์ให้สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยง มีแนวทางในเชิงป้องกันการเกิดอัคคีภัย ในสถานประกอบกิจการ และมีการปฏิบัติสอดคล้องมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒.๓ เพอ่ื ลดสถิตอิ บุ ัติเหตเุ พลงิ ไหม้ และลดผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม ๒.๔ เพอ่ื ลดปจั จัยเสีย่ งการเกดิ อัคคีภัยในสถานประกอบกจิ การ ๓. แนวทางการดาํ เนนิ การ การรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียง โดยการรณรงค์สถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงให้มีมาตรการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ โดยการ ใชแ้ บบตรวจสอบและประเมินตนเองดา้ นการป้องกนั อคั คีภยั โดยมแี นวทางในการดาํ เนินการ ดงั น้ี ๓.๑ คัดเลือกสถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงที่เป็นกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย ได้แก่ สถาน ประกอบกิจการที่มีการใช้อาคารที่มีสถานประกอบกิจการหลายแห่งตั้งอยู่รวมกัน สถานประกอบกิจการที่มี การใชห้ รอื การจดั เกบ็ สารเคมีอนั ตราย (สารไวไฟ) หรือวัตถุทีต่ ดิ ไฟไดง้ ่าย สถานบรกิ าร สถานพยาบาล ๓.๒ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ โดยการรณรงค์ให้สถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงให้มีมาตรการ ปอ้ งกนั อคั คีภยั ในสถานประกอบกจิ การ โดยการใชแ้ บบตรวจสอบและประเมนิ ตนเองด้านการปอ้ งกนั อัคคีภัย ในสถานประกอบกิจการ ๓.๓ ประเมนิ ผลจากขอ้ มลู ในแบบตรวจสอบและประเมนิ ตนเองดา้ นการป้องกันอัคคีภัยของสถาน ประกอบกิจการ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย และการแนะนําแนวทาง ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขใหส้ อดคล้องมาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กล่มุ เปา้ หมาย ไดแ้ ก่ สถานประกอบกิจการกลมุ่ เสยี่ งทุกประเภท ทกุ ขนาดท่ัวประเทศ ๔.๒ เปา้ หมาย หนว่ ยงาน จาํ นวน(คน) สํานักงานสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ๗๖ จงั หวัด ๗๙,๙๐๐ สํานกั งานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้ืนท่ี ๑๐ พื้นท่ี ๘,๔๐๐ ศนู ย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ๑ – ๑๒ ๑๘,๖๐๐ ๑๐๖,๙๐๐ รวม   ๕๘

ค่มู ือการปฏบิ ัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕. หลกั ฐานอา้ งอิง แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ต น เอ ง ด้ า น ก า ร ป้ อ ง กั น อั ค คี ภั ย ใ น ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร (Self Checklist) ๖. การนบั ผลงาน คน : นับจากจํานวนลกู จา้ งในสถานประกอบกิจการ (สง่ ผลผลิต) ๗. การบนั ทกึ ผลงาน บนั ทึกผลการดําเนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ด้านคมุ้ ครองความปลอดภัย ๘.๓ งานค้มุ ครองความปลอดภยั ๘.๔ ตรวจความปลอดภยั ๙. โปรแกรมบันทกึ แกไ้ ขข้อมูล ๙.๑ SPS1I020 บนั ทึกข้อมลู การสง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในการทาํ งาน ๙.๒ และบันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้เลือก รหัส 03 แนะนํานายจา้ งและลูกจ้าง เทา่ น้ัน ๙.๓ และในช่องจํานวนคนที่ได้รับการส่งเสริม ให้ใส่จํานวนลูกจ้างของสถานประกอบกิจการ ท้ังหมด ๑๐. โปรแกรมพมิ พ์รายงาน ๑๐.๑ SPS1R120 รายงานการสรุปผลการสง่ เสรมิ ความปลอดภยั ๑๐.๒ โดยกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ ให้เลือกช่องแนะนาํ นายจ้างและลกู จา้ งเทา่ น้นั ๑๑. หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ๑๑.๑ สาํ นกั งานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจงั หวัด ๑๑.๒ สาํ นักงานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพืน้ ที่ ๑๑.๓ ศูนย์ความปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมท่ี ๑ ขับเคลื่อนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหัส ๓๐๐    ๕๙

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตวั อยา่ ง โครงการรณรงคเ์ ร่งรัดการตรวจและพฒั นาระบบการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานเชิงรุก ในสถานประกอบกิจการประเภทกล่มุ เสีย่ ง (รณรงค์สถานประกอบกจิ การใหม้ ีการพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน)  ๑. หลกั การและเหตุผล กระทรวงแรงงานได้กําหนดมาตรการ โครงการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ของประเทศไทย (Safety Thailand) โดยดําเนินการใน ๓ มิติ ๓ ด้าน เกี่ยวกับมิติการส่งเสรมิ สนับสนุนในการ ดําเนินงานด้านการก่อสร้าง มิติการกํากับดูแลด้านอัคคีภัย และมิติการมีส่วนร่วมของประชาชนเก่ียวกับ สารเคมี เพื่อให้การพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยของประเทศไทย บรรลุ เป้าหมายในการลดอบุ ัติเหตุ อุบัตภิ ัย โรค และการเจ็บป่วยจากการทํางาน อันจะเสริมสรา้ งความปลอดภัยและ คุณภาพชีวิตของคนทํางานและประชาชนให้เกิดข้ึนอย่างย่ังยืน อีกทั้งร่วมผลักดันในรับนโยบายจนถึงระดับ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนสร้างกลไกในการดูแลกลุ่มเป้าหมายในระดับพ้ืนที่ ท่ีสอดรับแนวนโยบาย รัฐบาลและแผนยุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้อง ทั้งน้ี มีขอบเขตการดําเนินงานบูรณาการงานและขับเคล่ือน ความปลอดภัย และอาชีวอนามยั ตามมาตรฐานกฎหมาย เพอื่ ผลกั ดันการดําเนนิ งานใหบ้ รรลุเป้าหมาย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยกองความปลอดภัยแรงงาน ร่วมกับสถาบันส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (องค์การมหาชน) และสมาคมส่งเสริม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) จึงได้บรรลุข้อตกลงร่วมกันในการขับเคลื่อน ดําเนินงาน เพื่อรณรงค์เสริมสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในประเด็นลดปัจจัยเสี่ยง การเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ โดยร่วมกันจัดทําแบบตรวจสอบเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยใน สถานประกอบกิจการ สาํ หรับพนักงานตรวจความปลอดภัย และสถานประกอบกิจการ ดังน้ัน เพ่ือเป็นการตรวจและกํากับดูแล และรณรงค์เสริมสร้างการรับรู้แก่สถานประกอบกิจการ ที่มีความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ ได้ตระหนักและปฏิบัติสอดคล้องตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน รวมท้ังรณรงค์ให้มีการพัฒนาระบบ การบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพ่ือให้แรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี ภายใต้นโยบาย “ความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดีของประเทศไทย (Safety Thailand)” กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยกองความ ปลอดภัยแรงงาน จึงจัดทําโครงการการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชงิ รกุ ในสถานประกอบกิจการประเภท กลุ่มเสี่ยง เพื่อให้สถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยเน้นความเส่ียงในเร่ืองการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ และ ใช้เครอ่ื งมอื ดงั กลา่ วมาขา้ งต้นดาํ เนนิ การในสถานประกอบกจิ การกลมุ่ เสย่ี ง   ๖๐

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียงปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ๒.๒ เพ่ือรณรงค์ให้สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียง มีแนวทางในเชิงป้องกันการเกิดอัคคีภัย ในสถานประกอบกิจการ และมีการปฏิบัติสอดคล้องมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทาํ งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๓ เพือ่ ลดสถิตอิ ุบตั เิ หตุจากการทาํ งานและลดผลกระทบทม่ี ตี อ่ ชมุ ชน ๒.๔ เพ่ือป้องกันการเกิดอุบัตเิ หตุจากการทํางานแบบยัง่ ยนื ๓. แนวทางการดาํ เนนิ การ การรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย กิจกรรมอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยง โดยการรณรงค์สถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงให้มีมาตรการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ โดยการใช้ แบบตรวจสอบและประเมนิ ตนเองด้านการปอ้ งกันอคั คีภัย โดยมแี นวทางในการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ ๓.๑ คัดเลือกสถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ได้แก่ สถาน ประกอบกิจการที่มีการใช้อาคารท่ีมีสถานประกอบกิจการหลายแห่งตั้งอยู่รวมกัน สถานประกอบกิจการที่มี การใช้หรอื การจัดเกบ็ สารเคมอี นั ตราย(สารไวไฟ)หรอื วตั ถุทตี่ ดิ ไฟไดง้ ่าย สถานบริการ สถานพยาบาล ๓.๒ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ โดยการรณรงค์ให้สถานประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงให้มีมาตรการ ป้องกนั อคั คภี ัยในสถานประกอบกิจการ โดยการใชแ้ บบตรวจสอบและประเมินตนเองดา้ นการปอ้ งกันอัคคีภัย ในสถานประกอบกิจการ ๓.๓ ประเมนิ ผลจากขอ้ มลู ในแบบตรวจสอบและประเมินตนเองด้านการป้องกันอัคคีภัยของสถาน ประกอบกิจการ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย และการแนะนําแนวทาง ในการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งาน ๔. เปา้ หมาย เปา้ หมายไดแ้ กแ่ รงงานในสถานประกอบกจิ การประเภทกลมุ่ เสยี่ งต่อการเกดิ อัคคภี ยั ท่วั ประเทศ ๕. ระยะเวลาการดาํ เนนิ การ ดําเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖. ตัวช้ีวดั ความสาํ เร็จ ๖.๑ ผลผลติ แรงงานสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย ได้รับการรณรงค์สร้าง การรับรู้เพ่ือให้มีแนวทางในเชิงป้องกันการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ และมีการปฏิบัติสอดคล้อง มาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๖.๒ ผลลพั ธ์ ๑) แรงงานในสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยได้รับการรณรงค์ ส่งเสรมิ องค์ความรตู้ ามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน   ๖๑

คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัยได้รับการรณรงค์ให้มี การพัฒนาระบบการบรกิ ารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ๓) อัตราการประสบอันตรายจากการทํางานของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการประเภท กลมุ่ เสีย่ งตอ่ การเกิดอัคคภี ยั มีแนวโนม้ ลดลง ๗. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมท่ี ๑ ขับเคลื่อนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ รหัส ๓๐๐ ๘. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั ๘.๑ อัตราการเกิดอุบัติเหตุในสถานประกอบกิจกาประเภทกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย มแี นวโนม้ ลดลง ๘.๒ สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย มีความตระหนักและเฝ้าระวัง การเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานมากข้ึน รวมทั้งมีพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๙. หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ๙.๑ สาํ นักงานสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ๗๖ จงั หวัด ๙.๒ สํานักงานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพน้ื ที่ ๑๐ พ้นื ท่ี ๙.๓ ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทํางานเขต ๑๒ เขต ๑๐. ผเู้ สนอโครงการ ( ) ตาํ แหน่ง . ๑๑. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ( ) ตาํ แหน่ง . ๑๒. ผูอ้ นมุ ตั ิโครงการ ( ) ตาํ แหนง่ .    ๖๒

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สามารถดาวนโ์ หลดเอกสาร แบบตรวจสอบและประเมนิ ตนเองดา้ นการปอ้ งกันอคั คภี ยั ในสถานประกอบกิจการ แบบตรวจสอบและประเมินตนเองดา้ นการป้องกันอัคคภี ัยในสถานประกอบกิจการ (Self Checklist) ชื่อสถานประกอบกิจการ……………………...........................................ประเภทกิจการ........................................ ที่ตง้ั สถานประกอบกิจการ.................................................................................................................................. ลักษณะอาคารสูง ...../...../...../.....ชน้ั จาํ นวน...../...../...../..... อาคาร พน้ื ท่.ี ...../....../....../.....ตารางเมตร จาํ นวนลกู จ้าง..............คน ชาย.........คน หญิง..........คน / ต่างดา้ ว...........คน ชาย..........คน หญงิ ..........คน ชือ่ ผู้ประสานงาน ...........................................................ตาํ แหน่ง...................................................................... โทรศัพท์.........................โทรสาร......................... E – mail …………………….. วนั ท่ใี ห้ข้อมลู ...................... ผลการตรวจและสรุปผลประเมิน หัวขอ้ การตรวจ สรุปผลการประเมนิ 1. มาตรการการป้องกนั และระงับอัคคภี ยั  ผ่านเกณฑ์การประเมิน  ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีการปรับปรุงแกไ้ ข (ระบุ)  ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ (ระบ)ุ   ๖๓

ค่มู อื การปฏิบัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 2. ความปลอดภัยเกย่ี วกับอาคารและทางหนีไฟ  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ  ผ่านเกณฑ์การประเมนิ โดยมีการปรับปรุงแกไ้ ข (ระบุ)  ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ (ระบุ) 3. ระบบสัญญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ  ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน โดยมกี ารปรบั ปรุงแก้ไข (ระบุ)  ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ (ระบุ) 4. ระบบดบั เพลิง  ผ่านเกณฑ์การประเมนิ  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน โดยมีการปรับปรงุ แกไ้ ข (ระบุ)  ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน (ระบุ) 5. การตรวจสอบ ทดสอบและบํารงุ รกั ษาระบบดบั เพลิง  ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน และอุปกรณ์ต่าง ๆ  ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมกี ารปรับปรงุ แก้ไข (ระบุ)  ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน (ระบ)ุ 6. การดาํ เนนิ การเก่ยี วกับความปลอดภัยและการ  ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ รายงาน  ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน โดยมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ข (ระบุ)  ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน (ระบุ) 7. การป้องกันอัคคีภัยจากแหล่งก่อให้เกิดการกระจาย  ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตัวของความรอ้ น หรอื ประกายไฟ  ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ โดยมกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข (ระบุ)  ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ (ระบ)ุ 8. การป้องกนั อัคคีภยั จากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ โดยมีการปรบั ปรุงแก้ไข (ระบุ)  ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ (ระบ)ุ 9. การปอ้ งกนั อัคคีภัยจากสารเคมอี ันตราย  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน  ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ โดยมีการปรบั ปรงุ แก้ไข (ระบุ)  ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (ระบ)ุ รายการการตรวจสอบมาตรการปอ้ งกนั อคั คีภยั ในสถานประกอบกจิ การ คาํ ช้ีแจงให้ทาํ เคร่ืองหมาย ลงในช่องผลการตรวจท่ปี รากฏตามรายละเอียดตามความเปน็ จรงิ หากผลการตรวจมขี ้อสังเกตเพ่มิ เตมิ ให้ทาํ การบันทึกลงในช่องหมายเหตุ ผลการตรวจ รายการตรวจ ไม่ หมายเหตุ 1. มาตรการการป้องกันและระงับอคั คภี ยั เกยี่ วขอ้ ง มี ไม่มี   ๖๔

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ผลการตรวจ รายการตรวจ ไม่ หมายเหตุ เกยี่ วข้อง 1.1 แผนปอ้ งกันและระงบั อคั คภี ัยในสถานประกอบ มี ไม่มี กจิ การ ประกอบด้วย   (1) แผนการตรวจตรา   (2) แผนการอบรม   (3) แผนรณรงค์ป้องกนั (4) แผนดบั เพลงิ   (5) แผนอพยพหนไี ฟ   (6) แผนบรรเทาทกุ ข์   1.2 มีการปิดประกาศป้ายขอ้ ปฏิบัตเิ กี่ยวกับการ   ดับเพลิงและการอพยพหนไี ฟ 2. ความปลอดภัยเกย่ี วกับอาคารและทางหนไี ฟ (1) มีเส้นทางหนีไฟทุกช้ันของอาคารอย่างน้อยชั้นละ 2    เส้นทางจากจุดที่ลูกจ้างทํางานไปสู่จุดที่ปลอดภัยโดย ปราศจากส่ิงกีดขวาง       (2) เส้นทางหนีไฟมีแสงสว่างเพียงพอ และมีแหล่งจ่ายไฟ สาํ รองสาํ หรับส่องสว่างกรณไี ฟฟา้ ดบั (3) ป้ายบอกทางหนีไฟ ตอ้ งมลี กั ษณะ - มีขนาดตัวหนังสือตัวอักษรไม่เล็กกว่า 10เซนติเมตร หรือรูปภาพบอกทางหนไี ฟและมองเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน - มีแสงสว่างในตังเองหรือใช้ไฟส่องให้เห็นได้ชัดเจน ตลอดเวลา (4) ประตูทางหนีไฟ    - ประตูต้องทนไฟ เป็นแบบผลักออก ไม่ล่ามโซ่ หรือใส่ กญุ แจ 3. ระบบสญั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (1) มีระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทุกชั้นของอาคาร    และส่งเสยี งหรือสัญญาณไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึง    (2) เสียงหรือสัญญาณท่ีใช้แจ้งเหตุ ต้องแตกต่างจาก สญั ญาณอ่ืนทใ่ี ชใ้ นสถานประกอบกจิ การ   ๖๕

คู่มอื การปฏิบัติงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ผลการตรวจ รายการตรวจ ไม่ หมายเหตุ 4. ระบบดบั เพลิง เก่ยี วขอ้ ง มี ไมม่ ี 4.1 เคร่ืองดบั เพลงิ แบบเคลื่อนย้ายได้    (1) มีเคร่อื งดับเพลิงแบบเคล่ือนย้ายได้ตามประเภทของ    เพลิง และได้มาตรฐาน (2) มปี า้ ยหรือสัญลักษณ์แสดงว่าเป็นชนิดใด ใช้ดับเพลิง ประเภทใด และวธิ ใี ช้เป็นภาษาไทยมองเห็นไดช้ ัดเจน (3) ติดต้ังหรือจัดวางท่ีม่ันคง มองเห็นได้ชัดเจน ไม่มีสิ่ง    กีดขวาง สามารถนาํ มาใช้ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว    (4) มีการตรวจสอบสภาพถังดับเพลิงอย่างน้อย 6 เดือน   ต่อหน่งึ ครง้ั พรอ้ มติดป้ายแสดงการตรวจสอบ 5. การตรวจสอบ ทดสอบและบํารุงรกั ษาระบบดับเพลิง และอปุ กรณต์ ่าง ๆ (1) มีการตรวจสอบ ทดสอบและบํารุงรักษาระบบ และ  อุ ป ก ร ณ์ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ร ะ งั บ อั ค คี ภั ย ให้ พ ร้ อ ม ใช้ ง า น ได้ ตลอดเวลา (อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง หรือตามที่ผู้ผลิต กําหนด) (2) มีการบันทึกรายงานการตรวจสอบและทดสอบ ระบบและอุปกรณด์ ับเพลิง 6. การดําเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยและการ รายงาน (1) ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของจํานวนลูกจ้างแต่ ละหน่วยงานได้รับการฝึกอบรมการดบั เพลิงขน้ั ต้น (2) ลูกจ้างทุกคนได้ฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ    พร้อมกันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรายงานผลการ   ฝกึ ซ้อมตามแบบทกี่ าํ หนด 7. การป้องกันอัคคีภัยจากแหล่งก่อให้เกิดการกระจาย ตัวของความร้อน หรือประกายไฟ (1) มีมาตรการป้องกันลูกไฟหรือเขม่าไฟกระเด็นถูก  วตั ถุที่ติดไฟได้ของเครือ่ งยนตห์ รอื ปล่องไฟ   ๖๖

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ผลการตรวจ รายการตรวจ ไม่ หมายเหตุ เกีย่ วข้อง (2) มีมาตรการป้องกันการแผ่รังสี การนําหรือการพา มี ไม่มี ความร้อนจากแหล่งกําเนดิ ความร้อนสูงไปสู่วัสดุที่ติดไฟได้ งา่ ย   (3) มีมาตรการป้องกันเคร่ืองจักรหรือเครื่องมือท่ีเกิด   ประกายไฟหรือความร้อนสูง จากการเสียดสีหรือเสียด ทานทอี่ าจทําให้เกดิ การลุกไหมไ้ ด้   (4) มีมาตรการควบคุมการเชื่อมหรือตัดโลหะที่เป็น   แหล่งความร้อนสูง และประกายไฟที่อาจทําให้เกิดการลุก ไหม้ (5) มีมาตรการป้องกันการสะสมของไฟฟ้าสถิตจากการ เสยี ดสีของวสั ดุ หรอื การถา่ ยเทสารเคมหี รอื ของเหลวไวไฟ 8.การป้องกนั อคั คภี ยั จากกระแสไฟฟา้ ลดั วงจร (1) ดูแลบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าให้ใช้งานได้โดย    ปลอดภัย หากพบว่าชํารุดหรือมีกระแสไฟฟ้ารั่ว หรืออาจ    ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้งาน ให้ซ่อมแซมหรือดําเนินการ ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย และจัดให้มี   หลักฐานในการดาํ เนินการ   (2) จัดให้มีการตรวจสอบและจัดให้มีการบํารุงรักษา ระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า เพ่ือให้ใช้งานได้อย่าง ปลอดภยั โดยวศิ วกร 9. การปอ้ งกนั อคั คีภัยจากสารเคมอี นั ตราย (1) สถานท่ีจัดเก็บถังก๊าซไวไฟ มีการติดตั้งระบบ  ตรวจจบั การร่ัวไหลของกา๊ ซไวไฟ  (2) มีป้ายห้าม ป้ายให้ปฏิบัติ หรือป้ายเตือน ในการ ทาํ งานเก่ยี วกับสารเคมอี นั ตราย ณ สถานท่ีจดั เก็บ สารเคมีอันตราย และสถานท่ีทาํ งานของลกู จา้ ง   ๖๗

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ การตรวจประเมินและการรับรองผลการตรวจ ผตู้ รวจประเมิน ผู้รบั รองผลการตรวจ (............................................................) (............................................................) ตําแหน่ง................................................. ตําแหนง่ ................................................. วนั ที่....................................................... วนั ท.ี่ ...................................................... หมายเหตุ : ข้อมูลการตรวจสอบข้างต้น เป็นการประเมินความเสีย่ งต่อการเกิดเหตุเพลิงไหม้ในสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้เพ่ือ เป็นการจัดทํามาตรการในเชิงป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการในภาพรวมต่อไป กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน จึงขอความร่วมมือในการกรอกข้อมูลตามข้อเท็จจริงและส่งกลับ ทง้ั นี้หากไม่ไดร้ ับเอกสารตอบกลบั อาจจําเป็นจะตอ้ ง ส่งพนักงานตรวจความปลอดภัยเข้าตรวจสอบดว้ ยตนเอง   ๖๘

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมท่ี ๑๐ โครงการพัฒนาองค์ความร้คู วามปลอดภยั และอาชวี อนามัยแก่แรงงานทําทบ่ี า้ น เพ่อื ขับเคลอ่ื นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ใหค้ รอบคลมุ แรงงานทุกกลุม่ **(T) (สรพ./สสค.)  ๑. หลักการและเหตุผล แรงงานผู้ประกอบอาชีพการทํางานบ้าน เป็นแรงงานกลุ่มด้อยโอกาสที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ ในการเข้าถึงสิทธิในการได้รับความคุ้มครองด้านความปลอดภัยในการทํางาน ผู้ประกอบอาชีพทํางานบ้าน ส่วนใหญ่เป็นแรงงานสตรีและแรงงานต่างด้าว ซึ่งการประกอบอาชีพดังกล่าวมีรูปแบบของการจ้างงาน ท่ีหลากหลาย เช่น เป็นลูกจ้างบริษทั รับทาํ ความสะอาด เป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระท่ีรับจ้างทํางานบ้าน และ เป็นลูกจ้างทํางานในบ้านของนายจ้าง ลักษณะของการทํางานบ้าน หรือการทําความสะอาดสํานักงาน เป็นงาน ที่มีอันตรายแฝงอยู่ในลักษณะงานท่ีปฏิบัติ เช่น อันตรายจากสารเคมีท่ีใช้ในการทําความสะอาด โอกาส ในการบาดเจ็บจากการลื่น สะดุด ล้ม พลัดตกจากท่ีสูง หรือพื้นที่ต่างระดับ อันตรายจากเครื่องใช้ไฟฟ้า การปวดหลังและบาดเจ็บจากท่าทางการทํางาน และการยกยา้ ยวัสดทุ ไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง เพ่ือเป็นการขยายความคุ้มครองทางสังคมและหลักประกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ไปยังกลุ่มแรงงานท่ีมีลักษณะงานทําที่บ้าน ซ่ึงเป็นการดําเนินการ ท่ีสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน จึงกําหนดให้มีการดําเนินโครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแก่แรงงาน ทําที่บ้านเพื่อขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย โดยสร้างช่องทางการเข้าถึง แหล่งข้อมูล เพ่ือสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในการป้องกันอันตราย ตลอดจนสิทธิในการได้รับ การคมุ้ ครองดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานของตน ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพื่อให้แรงงานผู้ประกอบอาชีพทํางานบ้านเกิดความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันอันตรายจาก การทํางาน ตามลกั ษณะและสภาพของงานท่ปี ฏบิ ัติ ๒.๒ เพ่ือพัฒนาช่องทางให้แรงงานผู้ประกอบอาชีพทํางานบ้านเข้าถึงแหล่งขอ้ มูลในการได้รับ ความร้เู ก่ียวกบั สทิ ธใิ นการไดร้ บั ความคมุ้ ครองด้านความปลอดภยั ในการทาํ งานของตน ๓. แนวทางการดาํ เนนิ งาน ๓.๑ ขออนุมตั ิโครงการ / ขออนุมัตดิ ําเนนิ การ ๓.๒ ผลิตส่ือ/แผ่นพับ เพ่ือสร้างการรับรู้เก่ียวกับการป้องกันอันตรายจากการทํางานบ้าน ตาม ลักษณะและสภาพของงานทีป่ ฏบิ ัติ   ๖๙

คู่มอื การปฏิบัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๓ กองความปลอดภัยแรงงานสร้างช่องทาง Facebook “นักจัดการงานบ้าน” เพื่อเป็น ช่องทางในการเข้าถึง และแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากการทํางานบ้าน และ ข้อมูลเกีย่ วกบั สทิ ธดิ า้ นอน่ื ๆทีเ่ กี่ยวข้องของแรงงานทํางานบา้ น ๓.๔ หน่วยปฏิบัติ ได้แก่ สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด และสํานักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพืน้ ท่ี ดําเนินการสรา้ งการรับรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย แรงงาน ทํางานบ้านโดยใช้ส่ือประชาสัมพันธ์ท่ีได้จัดทํา และให้แรงงานทํางานบ้านกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมใน Facebook “นักจัดการงานบ้าน” การเข้าถึงกลมุ่ เป้าหมายอาจดําเนินการได้โดยประสานงานผ่านเครือข่าย ได้แก่ สาํ นกั งานจดั หางาน และเครือข่ายผทู้ าํ งานบา้ นในพื้นท่ี ๔. กลุ่มเป้าหมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กลุ่มเป้าหมาย แรงงานท่ีประกอบอาชีพทํางานบ้านท้ังในระบบและนอกระบบได้แก่ ลูกจ้างบริษัทรับทําความสะอาดซ่ึงปฏิบัติงาน ณ หน่วยงานภาคเอกชนหรือหน่วยงานภาครัฐ เป็นผู้ ประกอบอาชีพอสิ ระที่รบั จา้ งทํางานบ้าน และเปน็ ลูกจา้ งทท่ี าํ งานในบ้านของนายจ้าง ๔.๒ เป้าหมาย หนว่ ยงาน จาํ นวน(คน) สํานกั งานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจงั หวัด ๗๖ จังหวัด ๑,๑๘๐ สํานักงานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้นื ท่ี ๑๐ พ้นื ท่ี ๓,๘๒๐ ๕,๐๐๐ รวม ๕. หลักฐานอา้ งองิ ๕.๑ รายงานจํานวนแรงงานทีป่ ระกอบอาชีพทํางานบ้านท่ีได้รบั ส่ือเพื่อสร้างการรบั รดู้ ้าน ความปลอดภยั ในการทํางาน ๕.๒ จาํ นวนแรงงานท่ปี ระกอบอาชีพทาํ งานบา้ นทเี่ ข้าร่วม Facebook “นกั จัดการงานบา้ น” ๖. การนบั ผลงาน คน นับจํานวนแรงงานที่ประกอบอาชีพทํางานบ้านท่ีได้รับสื่อเพ่ือสร้างการรับรู้ หรือเข้าร่วม Facebook “นกั จัดการงานบ้าน” เพือ่ สร้างการรบั รดู้ า้ นความปลอดภยั ในการทํางาน ๗. การบนั ทึกผลงาน บันทึกผลการดาํ เนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบฝกึ อบรม   ๗๐

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๙. โปรแกรมบนั ทึกแกไ้ ขข้อมลู TRS1I020 บนั ทึกทะเบยี นผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม (แรงงานกล่มุ เปา้ หมาย)โดยเลอื กรหัสหลักสตู ร ดงั นี้ - กรณีพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยฯ แกแ่ รงงานทําท่ีบ้าน (แรงงานไทย) ใหเ้ ลือกรหัส 00003070 พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยฯ แก่แรงงานทาํ ทีบ่ ้าน (แรงงานไทย) - กรณพี ฒั นาองคค์ วามร้คู วามปลอดภัยฯ แกแ่ รงงานทําที่บ้าน (แรงงานกัมพชู า) ใหเ้ ลอื กรหสั 00003071 พัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภัยฯ แกแ่ รงงานทาํ ที่บา้ น (แรงงานกัมพูชา) - กรณีพฒั นาองคค์ วามร้คู วามปลอดภยั ฯ แก่แรงงานทาํ ทบ่ี ้าน (แรงงานลาว) ใหเ้ ลอื กรหสั 00003072 พัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภัยฯ แกแ่ รงงานทาํ ทีบ่ า้ น (แรงงานลาว) - กรณีพัฒนาองคค์ วามรูค้ วามปลอดภยั ฯ แกแ่ รงงานทาํ ท่บี า้ น (แรงงานเมยี นมา) ใหเ้ ลือกรหสั 00003073 พัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั ฯ แก่แรงงานทาํ ทีบ่ ้าน (แรงงานเมียนมา) - กรณีพฒั นาองคค์ วามรคู้ วามปลอดภยั ฯ แก่แรงงานทาํ ทบ่ี า้ น (แรงงานเวยี ดนาม) ใหเ้ ลอื กรหัส 00003074 พัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั ฯ แกแ่ รงงานทาํ ทบี่ ้าน (แรงงานเวียดนาม) - กรณีพฒั นาองคค์ วามรู้ความปลอดภัยฯ แก่แรงงานทําท่ีบา้ น (แรงงานอ่นื ๆ) ให้เลอื กรหัส 00003075 พฒั นาองค์ความรู้ความปลอดภัยฯ แก่แรงงานทาํ ท่บี า้ น (แรงงานอ่นื ๆ) และบันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะจํานวนผู้เข้ารับการอบรมในภาพรวม แยกเพศชายและหญงิ และบันทึกผลการดําเนนิ การและค่าใชจ้ ่าย ดว้ ย ๑๐. โปรแกรมพมิ พ์รายงาน TRS1R030 รายงานสรปุ ผลการฝกึ อบรมโดยเลือกรหัสหลกั สตู ร ดังน้ี 00003070 พฒั นาองคค์ วามรูค้ วามปลอดภยั ฯ แกแ่ รงงานทําทีบ่ ้าน (แรงงานไทย) 00003071 พฒั นาองค์ความรคู้ วามปลอดภัยฯ แก่แรงงานทําทีบ่ ้าน (แรงงานกมั พชู า) 00003072 พัฒนาองค์ความรคู้ วามปลอดภยั ฯ แก่แรงงานทําทบ่ี ้าน (แรงงานลาว) 00003073 พฒั นาองค์ความรคู้ วามปลอดภัยฯ แก่แรงงานทาํ ทบ่ี ้าน (แรงงานเมยี นมา) 00003074 พัฒนาองคค์ วามรูค้ วามปลอดภยั ฯ แก่แรงงานทําทีบ่ ้าน (แรงงานเวยี ดนาม) 00003075 พฒั นาองค์ความรู้ความปลอดภยั ฯ แกแ่ รงงานทาํ ทบ่ี ้าน (แรงงานอื่น ๆ) หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของกิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน แก่แรงงานทําที่บ้านเพื่อขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ครอบคลุมแรงงานทุกกลุม่ ใหน้ าํ ผลการอบรมตามรหสั หลกั สตู ร 00003070-00003075 มารวมกนั ๑๑. หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ๑๑.๑ สาํ นักงานสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงานจงั หวดั ๗๖ จังหวดั ๑๑.๒ สาํ นกั งานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพนื้ ที่ ๑๐ พ้นื ที่ ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ของประเทศไทย (Safety Thailand) กจิ กรรมท่ี ๑ ขับเคลอ่ื นและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ รหสั ๓๐๐    ๗๑

คู่มอื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตวั อยา่ ง โครงการพฒั นาองค์ความรู้ความปลอดภยั และอาชีวอนามัยแก่แรงงานทาํ ที่บา้ น เพอื่ ขบั เคลอื่ นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ใหค้ รอบคลมุ แรงงานทุกกลุ่ม  ๑. หลักการและเหตุผล แรงงานผู้ประกอบอาชีพการทํางานบ้าน เป็นแรงงานกลุ่มด้อยโอกาสท่ียังขาดความรู้ความ เข้าใจในการเข้าถึงสิทธใิ นการได้รับความคุ้มครองด้านความปลอดภัยในการทํางาน ผู้ประกอบอาชีพทํางาน บ้านส่วนใหญ่เป็นแรงงานสตรีและแรงงานต่างด้าว ซึ่งการประกอบอาชีพดังกล่าวมีรูปแบบของการจ้างงานท่ี หลากหลาย เช่น เป็นลูกจ้างบริษัทรับทําความสะอาด เป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระท่ีรับจ้างทํางานบ้าน และ เป็นลูกจ้างทํางานในบ้านของนายจ้าง ลักษณะของการทํางานบ้าน หรือการทําความสะอาดสํานักงาน เป็นงานที่มีอันตรายแฝงอยู่ในลักษณะงานท่ีปฏิบัติ เช่น อันตรายจากสารเคมีท่ีใช้ในการทําความสะอาด โอกาสในการบาดเจ็บจากการล่ืน สะดุด ล้ม พลัดตกจากที่สูง หรือพ้ืนที่ต่างระดับ อันตรายจาก เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การปวดหลังและบาดเจบ็ จากท่าทางการทํางาน และการยกย้ายวสั ดุทไ่ี ม่ถกู ต้อง เพ่ือเป็นการขยายความคุ้มครองทางสังคมและหลักประกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ไปยังกลุ่มแรงงานท่ีมีลักษณะงานทําท่ีบ้าน ซึ่งเป็นการดําเนินการ ท่ีสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน จึงกําหนดให้มีการดําเนินโครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแก่แรงงาน ทําที่บ้านเพื่อขับเคลื่อนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย โดยสร้างช่องทางการเข้าถึง แหล่งข้อมูล เพ่ือสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในการป้องกันอันตราย ตลอดจนสิทธิในการได้รับ การคมุ้ ครองดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานของตน ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้แรงงานผู้ประกอบอาชีพทํางานบ้านเกิดความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันอันตราย จากการทํางาน ตามลักษณะและสภาพของงานทป่ี ฏบิ ัติ ๒.๒ เพ่ือพัฒนาช่องทางให้แรงงานผู้ประกอบอาชีพทํางานบ้านเข้าถึงแหล่งขอ้ มูลในการได้รับ ความรูเ้ ก่ียวกบั สิทธใิ นการไดร้ บั ความคุ้มครองดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งานของตน ๓. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย แรงงานที่ประกอบอาชีพทํางานบ้านทั้งในระบบและนอกระบบได้แก่ ลูกจ้าง บริษัทรับทําความสะอาดซ่ึงปฏิบัตงิ าน ณ หน่วยงานภาคเอกชนหรือหน่วยงานภาครัฐ เปน็ ผู้ประกอบอาชีพ อิสระทร่ี ับจ้างทํางานบา้ น และเปน็ ลูกจา้ งท่ีทาํ งานในบา้ นของนายจา้ ง ๔. แนวทางการดาํ เนนิ งาน ๔.๑ ขออนุมตั ิโครงการ / ขออนมุ ตั ดิ าํ เนนิ การ   ๗๒

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔.๒ ดําเนินการสร้างการรับรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย แรงงานทํางานบ้านโดยใช้ส่ือ ประชาสัมพันธ์ท่ีได้จัดทํา และให้แรงงานทํางานบ้านกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมใน Facebook “นักจัดการงาน บ้าน” การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอาจดําเนินการได้โดยประสานงานผ่านเครือข่าย ได้แก่ สํานักงานจัดหางาน และเครือขา่ ยผ้ทู าํ งานบ้านในพื้นท่ี ๕. หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ๕.๑ สํานกั งานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ๗๖ จงั หวดั ๕.๒ สาํ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพนื้ ที่ ๑๐ พ้ืนท่ี ๖. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ของประเทศไทย (Safety Thailand) กจิ กรรมที่ ๑ ขบั เคล่อื นและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐ ๖. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั แรงงานที่ประกอบอาชีพทํางานบ้านท้ังในระบบและนอกระบบ ได้รับการคุ้มครองทางสังคม และหลักประกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยผ่านช่องทาง การรับรู้เข้าถึงแหล่งข้อมูล ก่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในการป้องกันอันตรายจากลักษณะและสภาพ ของงานที่ปฏิบัติ ตลอดจนสิทธิในการได้รับการคุ้มครองด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานของตน ๗. ผเู้ สนอโครงการ (.................................................) ตําแหน่ง....................................... ๘. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ (.................................................) ตาํ แหน่ง....................................... ๙. ผอู้ นุมตั โิ ครงการ (.................................................) ตําแหน่ง.......................................   ๗๓

คู่มอื การปฏิบตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สรุปขัน้ ตอนในการดาํ เนนิ การสร้างการรับรู้ ของ สสค. และสรพ. สสค. และสรพ.เขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายโดยผ่านเครือข่าย ไดแ้ ก่ สาํ นกั จัดหางาน ๑. กลุม่ เปา้ หมาย และเครอื ข่ายผู้ทํางานบา้ นในพืน้ ที่ สรา้ งการรับร้แู กแ่ รงงานท่ปี ระกอบอาชพี ทาํ งานบา้ นโดยใชส้ อ่ื ประชาสัมพันธ์ ๒. สร้างการรบั รู้ (แผ่นพับ) เพื่อสรา้ งการรับรู้ (Download จาก http://osh.labour.go.th) และให้เข้ารว่ มใน Facebook “นักจดั การงานบา้ น” ๓. หลกั ฐาน รายงานจํานวนแรงงานทป่ี ระกอบอาชพี ทาํ งานบา้ น ท่ไี ดร้ ับสอื่ เพื่อสรา้ งการรบั รดู้ า้ นความปลอดภัยในการทํางาน และเขา้ ร่วม Facebook “นกั จัดการงานบา้ น” ๔. ผลงาน บันทกึ ผลการดาํ เนินงานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดกิ ารและ คุม้ ครองแรงงาน   ๗๔

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดําเนินการสรา้ งการรับร้ใู หก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย แรงงานทาํ งานบา้ น โดยใช้สอ่ื ประชาสมั พนั ธท์ ไี่ ด้จัดทํา และใหแ้ รงงานทํางานบ้าน กลมุ่ เป้าหมายเข้ารว่ มใน Facebook “นักจดั การงานบ้าน”   ๗๕

ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ ๑๑ โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการตน้ แบบระบบการบริหารและการจดั การ ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานสู่อาเซยี น ระดบั จังหวดั *-** (สสค./สรพ.)  ๑. หลกั การและเหตุผล ด้วยยุทธศาสตร์และแผนงานภายใต้ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี” ระยะท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๙) กรอบแนวทางข้อ ๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการและการดําเนินการ งานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ทุกระดับ และแผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การพัฒนากลไก การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ที่มปี ระสิทธิภาพ เพ่อื ให้ สถานประกอบกิจการมีการกําหนดนโยบาย โครงสร้างการบริหาร แผนงาน มาตรการ กระบวนการ รูปแบบ เครื่องมือ และทรัพยากรท่ีจําเป็นต่อการพัฒนา ในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ท่ี ๑ สร้างกลไกการขับเคล่ือนระบบการบริหาร จัดการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ดังน้ัน เพื่อเป็นการดําเนินการตามหลักการท่ีกล่าวมาข้างต้น โดยมีการกําหนดหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และวิธีการตรวจประเมินความปลอดภัยในการทํางานแก่สถานประกอบกิจการให้ถูกต้อง เพื่อยกระดบั การบริหาร และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้เป็นระบบและเข้าสู่มาตรฐานสากล และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในการป้องกันอุบัติเหตุจากการทํางาน ลดอัตราการประสบ อันตราย เจ็บป่วย หรือโรคเนื่องจากการทํางาน ลดความสูญเสียทรัพยากรบุคคลและต้นทุนการผลิต อันเป็น การเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่สถานประกอบกิจการและต่อประเทศ กองความปลอดภัยแรงงาน จึงได้ จัดทําโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานส่อู าเซยี น ขึน้ ภายใตแ้ ผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : การเสรมิ สรา้ งความร่วมมอื และพัฒนาเครือข่ายดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัย กลยุทธ์ที่ ๔ : สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้ผู้ประกอบการ นายจ้าง บุคคล นิติบุคคล และแรงงาน ทุกภาคส่วนสนับสนุนงานด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ของสถานประกอบกจิ การ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการมีระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานอย่างเป็นระบบและก้าวสู่มาตรฐานสากล ภายใต้การปฏิบัติ อยา่ งถกู ตอ้ งตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน   ๗๖

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๒ เพ่ือเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของนายจ้างและลูกจ้างในการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการเชิงรุก ในการป้องกันอุบัติเหตุและ ป้องกนั การเจบ็ ป่วยเน่อื งจากการทํางาน ๒.๓ เพ่ือเผยแพร่เกียรติคุณสถานประกอบกิจการท่ีมีระบบการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนดที่ได้มาตรฐาน ซ่ึงสามารถเป็นต้นแบบสาํ หรบั สถานประกอบกจิ การอ่นื ได้ ๓. แนวทางการดําเนินงาน เพื่อรณรงค์และผลักดันให้สถานประกอบกิจการมีการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานที่มปี ระสิทธิภาพและเป็นกลไกในการสนับสนุน การปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อย่างถูกต้อง และต่อเนือ่ ง โดยมขี ้ันตอนการดําเนนิ งาน ดงั น้ี ๓.๑ การดาํ เนินการโดยกองความปลอดภัยแรงงาน  ทบทวนและพจิ ารณาเป้าหมาย ผลผลิตในการดําเนนิ งาน  ทบทวนหลักเกณฑ์ และแนวทางในการดําเนินงานให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เก่ียวข้อง และสภาพแวดล้อมปัจจบุ นั  จัดทําแนวทาง หลกั เกณฑ์ รปู แบบ  กองความปลอดภัยแรงงาน สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด และ สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นท่ี ดําเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนสถาน ประกอบกิจการสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานส่อู าเซยี น ระดบั จังหวัด ๓.๒ การดําเนินการโดยสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด และสํานักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพนื้ ที่ ดําเนินการดงั น้ี  เผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์และเชิญชวนสถานประกอบกิจการเขา้ รว่ มโครงการ  ให้คําปรกึ ษาแนะนํา สถานประกอบกจิ การท่มี ีความประสงค์สมัครเขา้ รว่ มโครงการ  รบั สมคั รสถานประกอบกิจการเข้าร่วมโครงการ  ตรวจประเมนิ สถานประกอบกจิ การทส่ี มคั รเข้าร่วมโครงการตามแนวทางท่กี ําหนด  สรุปผล/รายงาน/มอบรางวลั ๓.๓ กองความปลอดภยั แรงงาน สรปุ ผล/จดั ทํารางวัล/รายงานผล ๔. กล่มุ เปา้ หมาย/เป้าหมาย ๔.๑ กลมุ่ เปา้ หมาย ได้แก่ สถานประกอบกิจการทกุ ประเภท ทุกขนาด ทัว่ ประเทศ ๔.๒ เปา้ หมาย หนว่ ยงาน เป้าหมาย (แหง่ /ครงั้ /คน) สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวดั ๗๖ จงั หวดั ๓๔๒/๓๔๒/๓๔,๑๐๐ สาํ นักงานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ ๑๐ พ้นื ที่ ๒๘/๒๘/๒,๙๐๐ ๓๗๐/๓๗๐/๓๗,๐๐๐ รวม   ๗๗

คมู่ ือการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕. หลกั ฐานอ้างองิ ๕.๑ สําเนาแบบเสนอชือ่ เพื่อตรวจประเมิน ของสถานประกอบกจิ การ ๕.๒ สรุปผลการตรวจพจิ ารณา ระดบั จงั หวัด/พ้นื ท่ี - จาํ นวนสถานประกอบกจิ การทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ - จํานวนสถานประกอบกิจการท่ปี ระสงค์เขา้ ร่วมประกวดเฉพาะระดบั จังหวดั และผา่ นเกณฑ์ การพิจารณา ระดับจังหวัด/พนื้ ที่ ๖. การนับผลงาน แหง่ นับผลงานจากจํานวนสถานประกอบกิจการท่ีสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาสถาน ประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางานสู่อาเซียน ระดับจังหวัด ของแต่ละจังหวัด (ผลงานนับเฉพาะสถานประกอบกิจการ ท่ีส่งแบบเสนอชือ่ เท่าน้ัน) คร้งั นับจากจํานวนคร้ังท่ีเข้าไปส่งเสริมสถานประกอบกิจการที่ส่งใบสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการ พฒั นาสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทํางานสู่อาเซยี น ระดบั จงั หวัด คน นบั จากจาํ นวนลกู จ้างท่อี ย่ใู นสถานประกอบกิจการแต่ละแหง่ ท่ีส่งใบสมคั รเข้าร่วมกิจกรรม การพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานส่อู าเซียน ระดบั จงั หวดั ประจาํ ปี ๒๕๖๓ ๗. การบนั ทกึ ผลงาน บันทึกผลการดําเนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบงานวชิ าการและสารสนเทศ ๘.๓ งานวชิ าการและสารสนเทศ ๙. โปรแกรมบันทึกแกไ้ ขข้อมูล ๙.๑ MIS1I020 บนั ทึกผลงานกจิ กรรมสําคัญ ๙.๒ โดยเลือกแบบรายงาน 21 งานความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ๙.๒ ในส่วนของขอ้ มูลกจิ กรรม ๑) กรณีส่งเสริม : กรณีส่งเสริมสถานประกอบกิจการให้เข้าร่วมโครงการพัฒนาสถาน ประกอบกิจการต้นแบบระบบการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานสอู่ าเซียน ระดับจังหวดั  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 052 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน (ส่งเสริม) ท้ังสถานประกอบกิจการใหม่ และสถานประกอบกจิ การทีเ่ คยเข้ารว่ มประกวด  ให้บันทึกขอ้ มูลทง้ั ช่องจาํ นวน แหง่ , ครั้ง และ คน   ๗๘

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) กรณีรับสมัคร : กรณีสถานประกอบกิจการส่งใบสมัคร (ยื่นแบบเสนอชื่อ) เข้าร่วม โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานสอู่ าเซียน ระดบั จงั หวัด  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 053 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน (ส่งใบสมคั ร)  ใหบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ทัง้ ช่องจาํ นวน แหง่ , ครัง้ และ คน ๓) กรณีผา่ นเกณฑ์ : กรณีสถานประกอบกจิ การผา่ นเกณฑ์การตรวจประเมนิ ตามโครงการ พัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทํางานสู่อาเซยี น ระดับจงั หวดั  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 054 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน (ผ่านเกณฑ์)  ให้บันทึกข้อมลู ทัง้ ชอ่ งจํานวน แหง่ , ครงั้ และ คน  พรอ้ มท้ังบนั ทึกขอ้ มูลในส่วนของรายช่อื ผรู้ บั ผิดชอบ/ผ้รู ายงาน ดว้ ย ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน ๑๐.๑ MIS1R030 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน จาํ แนกตามกจิ กรรม ๑๐.๒ เลือกประเภทกจิ กรรม ๑) กรณีส่งเสริม : ใหเ้ ลอื กรหัส 052 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบรหิ าร และการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานสู่อาเซียน (สง่ เสริม) ๒) กรณีรับสมัคร : ให้เลือกรหัส 053 พัฒนา สถานประกอบกจิ การตน้ แบบระบบการบริหาร และการจดั การด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานสอู่ าเซยี น (สง่ ใบสมัคร) ๓) กรณีผ่านเกณฑ์ : ให้เลือกรหัส 054 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการ บรหิ ารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานส่อู าเซยี น (ผ่านเกณฑ์) ๔) เลอื กแบบรายงาน 21 งานความปลอดภยั ฯ หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหาร UU และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับจังหวัด ให้นับผลงานเฉพาะสถานประกอบกิจการที่ส่งใบสมัคร (ยื่นแบบเสนอชื่อ) เข้าร่วมโครงการฯ รหัสกิจกรรม 053 เท่าน้ัน ๑๑. หน่วยงานรับผิดชอบ ๑๑.๑ กองความปลอดภัยแรงงาน ๑๑.๒ สํานักงานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจงั หวัด ๗๖ จงั หวดั ๑๑.๓ สํานกั งานสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ ๑๐ พ้นื ท่ี ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมที่ ๑ ขับเคล่ือนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐    ๗๙

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ี ๑๒ โครงการพฒั นาสถานประกอบกจิ การตน้ แบบระบบการบรหิ ารและการจดั การ ด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานสู่อาเซยี น ระดับประเทศ *-** (ศปข.)  ๑. หลักการและเหตุผล ด้วยยุทธศาสตร์และแผนงานภายใต้ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี” ระยะที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๙) กรอบแนวทางข้อ ๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการและการดําเนินการ งานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ทุกระดับ และแผนแม่บทความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ท่ีมปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้สถานประกอบกิจการมีการกําหนดนโยบาย โครงสร้างการบริหาร แผนงาน มาตรการ กระบวนการ รูปแบบ เคร่ืองมือ และทรัพยากรท่ีจําเป็นต่อการพัฒนา ในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ท่ี ๑ สร้างกลไกการขับเคลื่อนระบบการบริหาร จัดการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ดังน้ัน เพ่ือเป็นการดําเนินการตามหลักการท่ีกล่าวมาข้างต้น โดยมีการกําหนดหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และวิธีการตรวจประเมินความปลอดภัยในการทํางานแก่สถานประกอบกิจการให้ถูกต้อง เพื่อยกระดับการบริหาร และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้เป็นระบบและเข้าสู่ มาตรฐานสากล และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในการป้องกันอุบัติเหตุจากการทํางาน ลดอัตราการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือโรคเนื่องจากการทํางาน ลดความสูญเสียทรัพยากรบุคคลและต้นทุน การผลิต อันเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่สถานประกอบกิจการและต่อประเทศ กองความปลอดภัย แรงงาน จึงได้จัดทําโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานสู่อาเซยี น ขึ้น ภายใต้แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ : การเสริมสร้างความรว่ มมือและพฒั นาเครอื ขา่ ยด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามัย กลยุทธ์ที่ ๔ : สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้ผู้ประกอบการ นายจ้าง บุคคล นิติบุคคล และแรงงาน ทกุ ภาคสว่ นสนับสนุนงานด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัยของสถานประกอบกจิ การ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการมีระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน อย่างเป็นระบบและก้าวสู่มาตรฐานสากล และมีการปฏิบัติ ถูกตอ้ งตามกฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน   ๘๐

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๒ เพ่ือเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของนายจ้างและลูกจ้างในการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เชิงรุกในการป้องกนั อุบตั ิเหตุและการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรอื โรคเน่อื งจากการทาํ งาน ๒.๓ เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณสถานประกอบกิจการที่พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกําหนด ซ่ึงสามารถ เป็นตน้ แบบสําหรบั สถานประกอบกจิ การอนื่ ได้ ๓. แนวทางการดําเนนิ งาน เพ่อื รณรงคแ์ ละผลักดนั ให้สถานประกอบกิจการมีการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพและเป็นกลไกในการสนับสนุน การปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยมีขน้ั ตอนการดําเนินงาน ดงั น้ี ๓.๑ กองความปลอดภยั แรงงานทบทวนและพิจารณาเป้าหมาย ผลผลติ ในการดําเนนิ งาน ๓.๒ ทบทวนหลักเกณฑ์ และแนวทางในการดําเนินงานให้สอดคล้องกับกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องและ เทคโนโลยีทเ่ี กี่ยวขอ้ งในปจั จบุ นั ๓.๓ จดั ทาํ แนวทาง หลกั เกณฑ์ รปู แบบ ๓.๔ กองความปลอดภัยแรงงาน และศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ดําเนินการประชาสัมพันธ์ เชญิ ชวนสถานประกอบกิจการสมคั รเขา้ ร่วมกิจกรรมการพัฒนาสถานประกอบกจิ การต้นแบบระบบการบรหิ าร และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับประเทศ (ประมาณเดอื นธนั วาคม ๒๕๖๑ – มกราคม ๒๕๖๒ หรอื ตามความเหมาะสม) ๓.๕ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ให้คําปรึกษาแนะนํา สถานประกอบกิจการในเขตพ้ืนที่ ที่รับผิดชอบและมคี วามประสงค์สมัครเขา้ รว่ มกิจกรรม ๓.๖ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ดําเนินการตามแนวทางที่กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานมอบหมาย ๓.๗ สรุปประเมนิ ผล/รายงานผล ๔. กลุม่ เป้าหมาย/เป้าหมาย ๔.๑ กลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ สถานประกอบกิจการทกุ ประเภทกิจการทวั่ ประเทศ ๔.๒ เป้าหมาย หน่วยงาน เปา้ หมาย แหง่ ครง้ั คน ๑๘,๐๐๐ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ๑๒ เขต ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๘,๐๐๐ รวม ๑๘๐ ๑๘๐ ๕. หลักฐานอ้างองิ ๕.๑ สําเนาแบบเสนอช่อื เพื่อตรวจประเมนิ ของสถานประกอบกิจการ ๕.๒ สรปุ ผลการตรวจพิจารณา ระดับจังหวดั /พ้นื ที่   ๘๑

คมู่ อื การปฏิบัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  จาํ นวนสถานประกอบกิจการท่ีเขา้ ร่วมโครงการ  จาํ นวนสถานประกอบกิจการทป่ี ระสงค์เข้าร่วมประกวด ระดบั ประเทศ และผา่ นเกณฑ์ การพิจารณาระดบั ประเทศ ๖. การนบั ผลงาน แห่ง นับผลงานจากจํานวนสถานประกอบกิจการท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาสถานประกอบ กิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่ อาเซยี น ระดับประเทศ (ผ่านเกณฑ)์ ครงั้ นับจากจํานวนครั้งที่เข้าไปส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับประเทศ (ผา่ นเกณฑ์) คน นับจากจํานวนลูกจ้างท่ีอยู่ในสถานประกอบกิจการแต่ละแห่งท่ีเข้าไปส่งเสริมกิจกรรมการ พฒั นาสถานประกอบกิจการตน้ แบบด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานสอู่ าเซยี น ระดับประเทศ ประจําปี ๒๕๖๓ (ผา่ นเกณฑ์) ๗. การบนั ทกึ ผลงาน บันทึกผลการดําเนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบงานวิชาการและสารสนเทศ ๘.๓ งานวิชาการและสารสนเทศ ๙. โปรแกรมบันทกึ แกไ้ ขข้อมลู ๙.๑ MIS1I020 บนั ทึกผลงานกจิ กรรมสาํ คญั ๙.๒ โดยเลือกแบบรายงาน 21 งานความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ๙.๒ ในสว่ นของข้อมลู กิจกรรม ๑) กรณีส่งเสริม : กรณีส่งเสริมสถานประกอบกิจการให้เข้าร่วมโครงการพัฒนาสถาน ประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานสูอ่ าเซยี น ระดับประเทศ  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 052 พัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน (ส่งเสรมิ ) ทั้งสถานประกอบกิจการใหม่ และสถานประกอบกิจการที่เคยเขา้ ร่วมประกวด  ใหบ้ นั ทึกข้อมลู ทัง้ ช่องจํานวน แหง่ , ครงั้ และ คน ๒) กรณีรับสมัคร : กรณีสถานประกอบกิจการส่งใบสมัคร (ยื่นแบบเสนอชื่อ) เข้าร่วม โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานสูอ่ าเซียน ระดบั ประเทศ   ๘๒

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 053 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน (ส่งใบสมัคร)  ใหบ้ ันทึกข้อมูลทั้งชอ่ งจํานวน แห่ง , ครัง้ และ คน ๓) กรณีผา่ นเกณฑ์ : กรณสี ถานประกอบกจิ การผา่ นเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามโครงการ พัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับประเทศ  ให้เลือกรหัสกิจกรรม 054 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน (ผา่ นเกณฑ)์  ใหบ้ นั ทึกขอ้ มูลทงั้ ชอ่ งจํานวน แห่ง , ครัง้ และ คน  พร้อมทง้ั บันทึกขอ้ มูลในสว่ นของรายชอื่ ผ้รู บั ผดิ ชอบ/ผ้รู ายงาน ด้วย ๑๐. โปรแกรมพมิ พร์ ายงาน ๑๐.๑ MIS1R030 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน จาํ แนกตามกิจกรรม ๑๐.๒ เลอื กประเภทกิจกรรม ๑) กรณีส่งเสริม : ใหเ้ ลอื กรหัส 052 พฒั นา สถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบรหิ าร และการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานสู่อาเซยี น (สง่ เสริม) ๒) กรณีรับสมัคร : ให้เลือกรหัส 053 พัฒนา สถานประกอบกจิ การต้นแบบระบบการบริหาร และการจดั การด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานส่อู าเซยี น (ส่งใบสมคั ร) ๓) กรณีผ่านเกณฑ์ : ให้เลือกรหัส 054 พัฒนา สถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการ บริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานส่อู าเซยี น (ผา่ นเกณฑ)์ ๔) เลือกแบบรายงาน 21 งานความปลอดภยั ฯ หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหาร UU และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับประเทศ ใหน้ ับผลงานเฉพาะสถานประกอบกิจการท่ผี า่ นเกณฑ์ รหสั กจิ กรรม 054 เทา่ น้นั ๑๐. หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๑๐.๑ กองความปลอดภยั แรงงาน ๑๐.๒ ศูนย์ความปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ๑๒ เขต ๑๑. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมท่ี ๑ ขับเคล่ือนและยกระดับการ บริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใช้ สอยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐    ๘๓

คู่มือการปฏบิ ัติงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เติม  กรณมี ีขอ้ สงสยั เกี่ยวกับงบประมาณ แผนงาน และกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ งานงบประมาณและแผนงาน กลุ่มงานยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยในการทํางาน กองความปลอดภัยแรงงาน โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ – ๓๙ , ๐ ๒๔๔๘ ๘๓๓๘ โทรสาร ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๔๑ , ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๖๔ มือถืองานงบประมาณและแผนงาน ๐๘ ๑๘๖๐ ๑๐๖๖ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกสภ์ าครัฐ [email protected] ๓. นายทวีสิทธิ์ บุญธรรม เบอร์ภายใน ๖๐๓ ตาํ แหน่ง ผูอ้ ํานวยการกลมุ่ งานยุทธศาสตรค์ วามปลอดภัยในการทํางาน ๔. นายเกษมชัย สมเจตนะพนั ธ์ เบอรภ์ ายใน ๖๑๐ ตาํ แหนง่ นกั วิชาการแรงงานชํานาญการ ๕. นางดวงหทัย สงั ขแ์ ปน้ เบอร์ภายใน ๖๐๙ ตาํ แหน่ง นกั วชิ าการแรงงานชํานาญการ ๖. นางสาวนพมาศ กลุ รัตน์ เบอร์ภายใน ๖๐๘ ตาํ แหนง่ นักวิชาการแรงงาน    ๘๔

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โครงสรา้ งกล่มุ งานยทุ ธศาสตร์ความปลอดภัยในการทาํ งาน กองความปลอดภัยแรงงาน ชั้น ๖ อาคารกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน (ส่วนแยกตลิ่งชนั ) อาคาร ๒ ถนนบรมราชชนนี แขวงฉมิ พลี เขตตลิ่งชัน กรงุ เทพมหานคร โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ – ๓๙ , ๐ ๒๔๔๘ ๘๓๓๘ โทรสาร ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๔๑ ที่ ชื่อ – สกลุ ตาํ แหน่ง มอื ถอื เบอร์ ภายใน ๑ ผู้อํานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตรค์ วามปลอดภัยในการทํางาน ๐๘ ๙๕๐๐ ๒๓๖๕ ๖๐๓ นายทวีสทิ ธิ์ บุญธรรม ผอ. กลุม่ งานยทุ ธศาสตรฯ์ ๐๘ ๑๘๖๐๑๐๗๗ - ๖๑๐ ๒ งานแผนงานและงบประมาณ - ๖๐๙ ๖๐๘ นายเกษมชัย สมเจตนะพันธ์ นกั วิชาการแรงงานชาํ นาญการ ๐๘ ๑๘๑๑ ๙๓๒๐ - ๖๑๒ นางดวงหทัย สงั ขแ์ ป้น นกั วชิ าการแรงงานชาํ นาญการ - ๖๑๔ ๖๑๓ นางสาวนพมาศ กุลรัตน์ นกั วชิ าการแรงงาน ๐๘ ๑๘๖๐ ๑๐๖๖ - ๖๐๗ ๓ งานนโยบายและพฒั นาระบบ - ๖๐๖ ๖๐๕ นางป่นิ ผกา นวลอ่อน นกั วิชาการแรงงานชาํ นาญการ - - ๖๐๓ นางสาวรัชตะวัน เปลีย่ นสนั เท๊ียะ นกั วชิ าการแรงงาน ๖๐๓ นางสาวทิพวัลย์ พิบลู ศลิ ป์ นกั วิชาการแรงงาน ๔ งานสนับสนุนอํานวยการ นางสาววรรณี หวั เมืองวิเชียร นักวิชาการแรงงานชํานาญการพเิ ศษ นายกานต์ รังสมิ ันตร์ ัตน์ นกั วชิ าการแรงงานปฏบิ ัตกิ าร นางสาววนิดา ศรทอง นกั วชิ าการแรงงาน ๕ งานวิชาการและและความร่วมมือระหว่างประเทศ นางสาวชมัยพร เทพานวล นักวชิ าการแรงงานชาํ นาญการ นางสาวพไิ ลวลั ย์ พ่มุ เมฆ นักวชิ าการแรงงานปฏบิ ตั กิ าร   ๘๕

ค่มู ือการปฏิบตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคผนวก   ๘๖

คู่มอื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ คําชแ้ี จงตวั อย่างโครงการ/กจิ กรรม ด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน สําหรับโครงการ/กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กองความปลอดภัยแรงงานได้จัดทําตัวอย่างรายละเอียด โครงการ/กิจกรรมในภาพรวมของประเทศ เพื่อให้สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สํานักงาน สวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพ้ืนท่ี หรือศูนย์ความปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ใชเ้ ป็นตวั อย่าง ในการเขยี นรายละเอียดของโครงการเพ่ือขออนมุ ตั โิ ครงการ ดังนั้น สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กรุงเทพมหานครพืน้ ที่ หรือศนู ย์ความปลอดภัยในการทาํ งานเขต สามารถปรบั รายละเอยี ดให้เหมาะสมกับพ้นื ท่ี หรอื กลุ่มเปา้ หมาย หมายเหตุ : รูปแบบการเขียนโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางานน้ี กองความปลอดภัยแรงงานกําหนดขึ้นตามแนวทางการของบประมาณซึ่งสํานักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัด สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้ืนที่ และศูนย์ความ ปลอดภยั ในการทํางานเขต สามารถกําหนดรปู แบบตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวดั /พื้นท่ี   ๘๗

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ Quick Guideการบันทึกผลงานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลิตที่ ๑ สถาน ประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน และแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมายแรงงาน กิจกรรมท่ี ๒ กํากับ ดูแลใหส้ ถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายและสนับสนนุ ให้แรงงานมีความปลอดภยั และสุขภาพอนามัย ที่ดีในการทาํ งาน งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหสั ๓๐๐ จํานวน ๕ โครงการ/กจิ กรรม โครงการ/กิจกรรม โปรแกรม บนั ทกึ แกไ้ ขขอ้ มลู พิมพร์ ายงาน ๑ โครงการประชุมชี้แจงมาตรฐานกฎหมายความ ระบบฝึกอบรม ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อม TRS1I020 TRS1R030 ในการทํางาน สําหรับนายจ้าง ลูกจ้าง และ ประชาชนท่วั ไป (T) (ศปข.) 00000526 00000526 ๒ ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/ คุ้มครองความปลอดภยั ฯ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน SPS1I010 SPS1R030 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ ขั้นพื้นฐาน ข้นั พนื้ ฐาน สภาพแวดล้อมในการทํางาน ขัน้ พนื้ ฐาน * 01 มุ่งผลสัมฤทธ์ิ 01 มุ่งผลสมั ฤทธ์ิ (ศรพ./สสค.) 02 ตรวจเยี่ยมรฐั วิสาหกิจ 02 ตรวจเยยี่ มรฐั วิสาหกจิ 04 มาตรการเรง่ ดว่ น 04 มาตรการเรง่ ด่วน หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรมตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ให้นํา รายงานตรวจโครงการ 01 02 และ 04 โครงการตรวจฯ ตามมาตรการเร่งด่วนของการตรวจขั้นพื้นฐาน มารวมกนั ๓ ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/ คุ้มครองความปลอดภยั ฯ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน SPS1I010 SPS1R030 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ เทคนิควชิ าการ เทคนคิ วชิ าการ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ขั้นเทคนิค 01 มุง่ ผลสัมฤทธิ์ 01 ม่งุ ผลสัมฤทธิ์ วชิ าการ * (ศปข.) 02 ตรวจเย่ียมรฐั วิสาหกจิ 02 ตรวจเย่ียมรฐั วสิ าหกิจ 04 มาตรการเร่งด่วน 04 มาตรการเร่งดว่ น หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรมตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ใหน้ าํ รายงานตรวจโครงการ 01 02 และ 04 ของการตรวจขัน้ เทคนคิ วชิ าการ มารวมกัน ๔ ประชมุ คณะอนกุ รรมการความปลอดภัย ระบบฝกึ อบรม อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน TRS1I020 TRS1R030 ระดบั จงั หวัด (สสค.) 00000372 000000372   ๘๘

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคมโครงการระดับผลผลิตที่ ๑ : โครงการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมหลักท่ี ๑ : ขับเคล่ือนและยกระดับ การดําเนินงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการงบดาํ เนินงาน หมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ รหสั ๓๐๐ จํานวน ๗ โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม โปรแกรม บนั ทึกแกไ้ ขขอ้ มูล พมิ พ์รายงาน ๑ โครงการสร้างเครือข่ายความปลอดภัย ระบบงานวิชาการฯ แ รงงาน ต าม แ น วป ระช ารัฐ กิ จ ก รรม MIS1I020 21 MIS1R030 สถานศกึ ษาปลอดภยั ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - 067 (สง่ เสรมิ ) แห่ง กจิ กรรม (สรพ./สสค.) - 068 (ส่งใบสมัคร) - 067 (สง่ เสรมิ ) แหง่ และคน - 068 (ส่งใบสมคั ร) - 069 (ผ่านเกณฑ)์ - 069 (ผ่านเกณฑ์) แห่ง และ คน และ 21 แบบรายงาน (คน : บคุ ลากรทางการ ศึกษาและนักเรยี น นักศกึ ษา) บันทกึ ผ้รู ับผิดชอบ/ ผู้รายงาน หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของกิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัย ประจําปี พ.ศ. 2563 (รับสมัครและตรวจ ป ร ะ เมิ น ส ถ าน ศึ ก ษ าที่ เข้ าร่ว ม โค รงก าร) ให้ นั บ ผ ล งาน เฉ พ าะ ส ถ าน ศึ ก ษ าท่ี ส่ งใบ ส มั ค ร เข้ารว่ มกจิ กรรม (รหสั กจิ กรรม 068) เท่านั้น ๒ โครงการสร้างการรับรู้ความปลอดภัยและ ระบบงานวิชาการฯ อาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบภาคเกษตร MIS1I020 21 MIS1R030 21 เพ่ือปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางานและ 073 แรงงานไทย 073 แรงงานไทย ลดปัจจัยเส่ียงต่อการสัมผัสสารเคมีเพื่อ 074 แรงงานกมั พูชา 074 แรงงานกัมพูชา ขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 075 แรงงานลาว 075 แรงงานลาว ของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ 076 แรงงานเมยี นมา 076 แรงงานเมียนมา ครอบคลุมแรงงานทกุ กลมุ่ 077 แรงงานเวียดนาม 077 แรงงานเวียดนาม - อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร ** (T) 078 แรงงานอ่ืน ๆ 078 แรงงานอื่น ๆ (ศปข.) และบันทึกขอ้ มูล ในชอ่ งจาํ นวน คน และในคาํ อธบิ ายเพิ่มเติม โดยใหบ้ ันทึกจาํ นวนผ้เู ขา้ รับการอบรมแยกเพศชาย และเพศหญิง พร้อมท้งั บนั ทกึ ข้อมลู ในสว่ นของรายชือ่ ผ้รู บั ผิดชอบ/ผูร้ ายงาน   ๘๙

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โครงการ/กิจกรรม โปรแกรม บันทึกแก้ไขขอ้ มูล พมิ พร์ ายงาน หมายเหตุ : ผลการปฏบิ ัติงานของกจิ กรรมอบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร ใหน้ าํ ผลการอบรมตามรหสั กจิ กรรม 073 – 078 มารวมกัน ๓ โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้าง ระบบฝกึ อบรม การรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย TRS1I020 TRS1R030 เพื่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ข อ งผู้ ใช้ แ ร ง ง า น ทุ ก หลักสูตร หลกั สูตร ภาคสว่ น (T) (ศปข.) 00003068 00003068 บันทกึ รายละเอยี ดให้ ถูกตอ้ งครบถว้ นทกุ ชอ่ ง โดยเฉพาะ จํานวนผเู้ ข้ารบั การอบรมในภาพรวมแยก ตามประเภทและบนั ทึกผล การดาํ เนนิ การและ ค่าใช้จา่ ย ๔ โครงการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนา คมุ้ ครองความปลอดภัยฯ ระบบการบริหารและการจัดการด้านความ SPS1I020 03 SPS1R120 ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม - แนะนํานายจา้ งและ -เลือกชอ่ งแนะนาํ ในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบกิจการ ลูกจ้าง เทา่ น้นั นายจ้างและลูกจ้าง ประเภทกลุ่มเสี่ยง (กิจกรรมรณรงค์สถาน - จาํ นวนคนที่ไดร้ ับ เทา่ นนั้ ป ระกอบ กิจการให้ มีการพั ฒ น าระบ บ การสง่ เสรมิ (ลกู จ้างของ การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย สถานประกอบกิจการ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทั้งหมด) ทํางาน) ** (ศปข./สรพ./สสค.) ๕ โครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัย ระบบฝึกอบรม และอาชีวอนามัยแก่แรงงานทําที่บ้าน เพื่อ TRS1I020 TRS1R030 ขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัย หลกั สตู ร หลักสตู ร ของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ 00003070 (ไทย) 00003070 (ไทย) ครอบคลุมแรงงานทุกกลุ่ม **(T) (สรพ./ 00003071 (กมั พูชา) 00003071 (กมั พูชา) สสค.) 00003072 (ลาว) 00003072 (ลาว) 00003073 (เมยี นมา) 00003073 (เมียนมา) 00003074 (เวียดนาม) 00003074 (เวยี ดนาม) 00003075 (แรงงานอื่นๆ) 00003075 (แรงงาน และบันทึกรายละเอียดให้ อนื่ ๆ) ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะ จํานวนผู้เข้ารับ การอบรมในภาพรวมแยก   ๙๐

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โครงการ/กจิ กรรม โปรแกรม บนั ทึกแก้ไขขอ้ มูล พมิ พร์ ายงาน เพ ศชายและห ญิ งและ บันทึกผลการดําเนินการ และค่าใช้จ่าย ด้วยระบบ ฝึกอบรม หมายเหตุ : ผลการปฏบิ ตั ิงานของกจิ กรรมพัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทาํ งาน แก่แรงงานทาํ ท่ีบา้ นเพ่อื ขบั เคลื่อนความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ ครอบคลมุ แรงงานทุกกลมุ่ ใหน้ าํ ผลการอบรมตามรหัสหลักสตู ร 00003070-00003075 มารวมกัน ๖ โครงการพัฒ นาสถานประกอบกิจการ ระบบงานวิชาการฯ ต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการ MIS1I020 21 MIS1R030 กิจกรรม ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ กิจกรรม - 052 (ส่งเสรมิ ) - 053 (ส่งใบสมคั ร) สภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน - 052 (สง่ เสรมิ ) - 054 (ผา่ นเกณฑ์) ระดับจงั หวดั * ** (สรพ./สสค.) - 053 (สง่ ใบสมัคร) - 054 (ผา่ นเกณฑ)์ และบันทึกขอ้ มลู ทงั้ ชอ่ ง และเลอื กแบบรายงาน จาํ นวน แหง่ , ครัง้ และ 21 งานความปลอดภยั ฯ คนพรอ้ มทั้งบนั ทกึ ข้อมูล ในสว่ นของรายช่อื ผรู้ บั ผิดชอบ/ผรู้ ายงาน หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและการ จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับจังหวัด ให้นับ ผลงานเฉพาะ สปก. ทส่ี ่งใบสมคั ร (ย่นื แบบเสนอชอ่ื ) เขา้ รว่ มโครงการฯ (รหสั กิจกรรม 053) เทา่ นนั้ ๗ โครงการพัฒ นาสถานประกอบกิจการ ระบบงานวิชาการฯ ต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการ MIS1I020 21 MIS1R030 กจิ กรรม ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ กจิ กรรม - 052 (สง่ เสรมิ ) - 053 (สง่ ใบสมคั ร) สภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน - 052 (สง่ เสรมิ ) ระดบั ประเทศ * ** (ศปข.) - 053 (ส่งใบสมคั ร) - 054 (ผ่านเกณฑ์) - 054 (ผ่านเกณฑ์) และบันทกึ จํานวน แห่ง และเลอื กแบบรายงาน ครัง้ และ คน 21 งานความปลอดภัยฯ พรอ้ มท้งั บันทกึ รายชือ่ ผรู้ บั ผิดชอบ/ผรู้ ายงาน หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและ การจดั การด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสูอ่ าเซียน ระดับประเทศ ใหน้ ับ ผลงานเฉพาะ สปก.ท่ผี ่านเกณฑ์ (รหสั กจิ กรรม 054) เท่านนั้   ๙๑

คมู่ ือการปฏิบัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ นายนรนิ ทร์ บุญพรอ้ ม ท่ีปรกึ ษา นางสาวปรยี านันท์ ลขิ ติ ศานต์ ผู้อาํ นวยการกองความปลอดภยั แรงงาน นายทวสี ิทธ์ิ บุญธรรม ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านความปลอดภยั แรงงาน นายเกษมชยั สมเจตนะพันธ์ นางดวงหทัย สงั ข์แป้น คณะผูจ้ ัดทํา นางสาวนพมาศ กุลรตั น์ ผู้อาํ นวยการกลมุ่ งานยทุ ธศาสตร์ความปลอดภยั ในการทาํ งาน นักวิชาการแรงงานชํานาญการ นกั วชิ าการแรงงานชํานาญการ นกั วิชาการแรงงาน   ๙๒

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ หนว่ ยงานเจา้ ของเร่ือง งานแผนงานและงบประมาณ กลุ่มงานยุทธศาสตรค์ วามปลอดภยั ในการทาํ งาน กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ – ๓๙ ต่อ ๖๐๘,๖๐๙, ๖๑๐ โทรสาร ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๔๑, ๐ ๒๕๕๘ ๙๑๖๔ E-mail address : [email protected]   ๙๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook