Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore operation-manual-2563

operation-manual-2563

Description: operation-manual-2563

Search

Read the Text Version

คมู่ ือการปฏิบตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ คํานํา ตามภารกิจของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเก่ียวกับการรณรงค์ส่งเสริม ตรวจและกํากับ ดูแลให้สถานประกอบกิจการและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยมอบหมายให้สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สํานักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ และศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขตเป็นผู้ดําเนินการ ตามโครงการ/กิจกรรมตา่ ง ๆ เพื่อให้แรงงานเกิดความปลอดภยั และสุขภาพอนามัยดี กองความปลอดภัยแรงงานได้จดั ทําคู่มือการปฏิบตั ิงานตามกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน การบันทึกผลการดําเนินงาน และการรายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สําหรับเจ้าหน้าที่เพ่ือเป็นแนวทางในการดําเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าคู่มือฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในการศึกษาเป็น แนวทางในการดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทาํ งาน ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และบรรลุเปา้ หมายตามทีก่ าํ หนด กองความปลอดภัยแรงงาน ตลุ าคม ๒๕๖๒   C:\\Users\\DLPW\\Desktop\\คู่มือการปฏบิ ัตงิ าน งบฯ2563(ฉบบั เห็นชอบ)

สารบัญ เรอื่ ง หนา้ ส่วนท่ี ๑ : กรอบยทุ ธศาสตร์ในการดาํ เนนิ งานดา้ นความปลอดภัย ๑ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ๑  ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ๑ ๑  แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ  ระเบยี บวาระแหง่ ชาติ “แรงงานปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ดี” ระยะท่ี ๒ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙)  แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) สว่ นท่ี ๒ : ทศิ ทางการดาํ เนินงานดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั ๓ และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓  การสง่ เสริมและพฒั นาองคค์ วามรู้ดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ๓ ๔  การส่งเสริม กํากับ ดูแล และพัฒนามาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๔ การเสริมสรา้ งความร่วมมือและพฒั นาภาคีเครือขา่ ยด้านความปลอดภยั ๕  การเสริมสร้างความร่วมมือและพัฒนาภาคีเครือข่ายด้านความปลอดภัยการพัฒนากลไก ๕ การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ๗  การพัฒนากลไกการบริหารจดั การดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัย ส่วนที่ ๓ : เป้าหมายผลผลิต/ตัวช้ีวัดกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  เป้าหมายผลผลิตกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  ตัวช้ีวัดกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ส่วนท่ี ๔ : รายละเอียดโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภัย ๙ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และแนวทาง ๑๑ การดําเนนิ งาน  กิจกรรมที่ ๑ : โครงการประชุมชี้แจงมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน สาํ หรับนายจ้าง ลูกจ้าง และประชาชนทว่ั ไป

คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  ตัวอย่าง ๑๔ โครงการประชุมช้ีแจงมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานสําหรับนายจ้าง ลูกจา้ ง และประชาชนท่ัวไป  กิจกรรมท่ี ๒ : ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติ ๑๗ ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขัน้ พื้นฐาน  กิจกรรมท่ี ๓ : ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติ ๒๔ ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขนั้ เทคนิควิชาการ  กิจกรรมที่ ๔ : ตรวจและกาํ กบั บุคคลท่ีไดร้ ับใบอนญุ าตให้บรกิ ารในการตรวจวัด ตรวจสอบ ๓๒ ทดสอบ รับรอง ประเมนิ ความเส่ยี ง จดั ฝึกอบรม หรอื ให้คาํ ปรกึ ษา  กิจกรรมที่ ๕ : ประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ๓๖ ในการทาํ งานระดบั จังหวดั  กิจกรรมท่ี ๖ : โครงการสร้างเครือข่ายความปลอดภัยแรงงานตามแนวประชารัฐ ๓๙ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓  กิจกรรมท่ี ๗ : โครงการสร้างการรับรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบ ๔๒ ภาคเกษตรเพ่ือปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางานและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัส สารเคมีอันตรายเพ่ือขับเคลื่อนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ใหค้ รอบคลมุ แรงงานทุกกลมุ่  ตวั อย่าง ๔๗ โครงการสร้างการรับรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบภาคเกษตร เพ่ือปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางานและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมีอันตราย เพื่อขับเคลื่อนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ใหค้ รอบคลมุ แรงงานทกุ กลมุ่  กิจกรรมท่ี ๘ : โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัย ๕๑ และอาชีวอนามัย เพอ่ื คณุ ภาพชีวติ ที่ดีของผู้ใช้แรงงานทุกภาคส่วน  ตวั อย่าง ๕๔ โครงการพฒั นาศกั ยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพอื่ คุณภาพชวี ิตท่ดี ีของผใู้ ชแ้ รงงานทกุ ภาคสว่ น  กิจกรรมท่ี ๙ : โครงการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและ ๕๗ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชิงรุก ในสถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียง (กิจกรรมรณรงค์สถานประกอบกิจการ ให้มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน)  ตวั อย่าง ๖๐ โครงการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบ กิจการประเภทกลุ่มเสี่ยง (กิจกรรมรณรงค์สถานประกอบกิจการให้มีการพัฒนาระบบ   C:\\Users\\DLPW\\Desktop\\ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน งบฯ2563(ฉบับเหน็ ชอบ)

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ การบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน) ๖๙  กิจกรรมท่ี ๑๐ : โครงการพฒั นาองคค์ วามรูค้ วามปลอดภัยและอาชวี อนามัยแก่แรงงาน ทําที่บ้าน เพื่อขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand)  ตัวอย่าง ๗๒ โครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแก่แรงงานทําท่ีบ้าน เพื่อขบั เคลอื่ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand)  กิจกรรมท่ี ๑๑ : โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและ ๗๖ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ๘๐ ระดับจังหวัด  กิจกรรมท่ี ๑๒ : โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซียน ระดับประเทศ   C:\\Users\\DLPW\\Desktop\\คู่มือการปฏิบัติงาน งบฯ2563(ฉบบั เหน็ ชอบ)

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคผนวก ๘๕  คําชีแ้ จงตัวอย่างโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย ๘๖ และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน  Quick Guide การบันทกึ ผลงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ๘๗ ในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓   C:\\Users\\DLPW\\Desktop\\คู่มอื การปฏิบตั งิ าน งบฯ2563(ฉบบั เหน็ ชอบ)

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ส่วนที่ ๑ กรอบยุทธศาสตรใ์ นการดาํ เนนิ งานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ๑. ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ๔. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๔.๑ การลดความเหล่ือมลํา้ สรา้ งความเปน็ ธรรมทุกมติ ิ ๔.๑.๔ เพ่มิ ผลติ ภาพและคมุ้ ครองแรงงานไทย เปน็ แรงงานฝมี ือท่ีมีคณุ ภาพ และความริเร่มิ สรา้ งสรรค์ มคี วามปลอดภัยในการทาํ งาน ๒. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (๑๗) ประเดน็ ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ (๑) การคุ้มครองทางสังคมขน้ั พ้ืนฐานและหลกั ประกันทางเศรษฐกจิ สงั คม และสขุ ภาพ (๒) มาตรการแบบเจาะจงกล่มุ เป้าหมายเพ่อื แก้ปัญหาเฉพาะกลมุ่ ๓. ระเบยี บวาระแหง่ ชาติ “แรงงานปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัยด”ี ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙) ๑.๑ การส่งเสรมิ คนทํางานให้มีความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ดี ๑.๒ การให้ความสําคัญในการป้องกันเพ่ือลดความเสี่ยงจากอันตรายและการเจ็บป่วยเนื่องจาก การทํางาน ๑.๓ การสร้างการมีส่วนรว่ มในการดําเนนิ การโดยอาศยั แนวทางประชารัฐ ๑.๔ การเสริมสรา้ งวัฒนธรรมเชงิ ปอ้ งกันด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย ๑.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการและการดําเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในทุกระดบั ๔. แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) กรอบยุทธศาสตรแ์ ผนแมบ่ ทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) และกรอบยุทธศาสตร์โครงการความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ของประเทศ ไทย (Safety Thailand) ๑) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ : การสง่ เสริมและพฒั นาองค์ความรู้ด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั กลยุทธ์ : (๑) สร้างและพัฒนาระบบองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้ครอบคลุม ทกุ ภาคสว่ นทง้ั ภาครฐั และเอกชน อาทิ นายจ้าง ลกู จา้ ง นกั เรยี น นักศึกษา และภาคีเครือข่าย (๒) ศึกษา วิจัย หรือสรา้ งนวตั กรรมที่เกย่ี วกับงานดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั (๓) แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของหน่วยงานและองค์กรทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ (๔) กําหนดมาตรการและแนวทางในการพัฒนาองค์ความรู้ด้านความปลอดภัย และอาชวี อนามัยในทกุ ภาคส่วน (๕) พัฒนาศักยภาพและให้ความรู้เก่ียวกับแนวทางการบังคับใช้กฎหมายและมาตรฐาน ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการตรวจความปลอดภยั แกเ่ จา้ หนา้ ที่ และผู้ทีเ่ กี่ยวข้องดา้ นความปลอดภยั และอาชวี อนามัย   ๑

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : การส่งเสริม กํากับ ดูแล และพัฒนามาตรการเชิงป้องกันด้านความ ปลอดภยั และอาชวี อนามัย กลยทุ ธ์ : (๑) ส่งเสริมและกํากับสถานประกอบกิจการให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง กบั ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง (๒) พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและมาตรฐานท่ีเก่ียวข้องกับความปลอดภัยและ อาชีวอนามยั โดยการมสี ว่ นรว่ มของหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องทกุ หนว่ ยงาน ๓) ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ : การเสริมสร้างความร่วมมือและพัฒนาภาคีเครือข่ายด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย กลยุทธ์ : (๑) สร้างเครือข่ายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยครอบคลุมทุกภาคส่วนท้ัง ในประเทศและต่างประเทศ (๒) พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือระหว่างเครือข่ายด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามัย ให้มคี วามเข้มแข็ง (๓) ประสานความร่วมมือกบั เครือขา่ ยต่างประเทศด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั (๔) สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้ผู้ประกอบการ นายจ้าง บุคคล นิติบุคคล และ แรงงานทกุ ภาคสว่ นสนับสนนุ งานดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ของสถานประกอบกิจการ ๔) ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ : การพฒั นากลไกการบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั กลยุทธ์ : (๑) สร้างกลไกการขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย (๒) สนับสนุนให้บุคลากรและแรงงานทุกภาคส่วนมีบทบาทร่วมในการบริหารจัดการ งานดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในระดบั ประเทศ อาเซยี น และภูมภิ าค (๓) สร้าง พัฒนา บูรณาการ และเชื่อมโยงฐานข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ทัง้ ด้านองค์ความรู้ การให้บรกิ ารและการประชาสัมพนั ธ์ (๔) สร้างและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัย (๕) กําหนดมาตรการผลักดันบุคลากรทุกภาคส่วนในการใช้ฐานข้อมูลระบบเทคโนโลยี สารสนเทศด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามยั (๖) พัฒนาและยกระดับหน่วยงานท่ีรับผิดชอบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ใหม้ ีศกั ยภาพสงู ข้ึน (๗) ติดตามและประเมินผลแผนงานโครงการยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามยั อยา่ งมีประสิทธิภาพ   ๒

คูม่ ือการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สว่ นที่ ๒ ทศิ ทางการดาํ เนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กองความปลอดภัยแรงงาน ได้กําหนดทิศทางการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ปี ๒๕๖3 โดยใหค้ วามสําคัญกับยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕80) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นโยบายความมั่นคง แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔) ของรัฐบาล และนโยบายระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดี” ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙) โดยอาศัยกลไกการดําเนินการภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และกรอบยุทธศาสตร์โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ดงั น้ี ๑. การสง่ เสรมิ และพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามยั  เสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานให้ครอบคลุมแรงงานทุกกลุ่ม ท้ังแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ เพื่อปลูกจิตสํานึกที่ดี ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้เกิดเป็นวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยในการทํางาน ตามกรอบ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)  การบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและสร้างการรับรู้มาตรการ เชิงป้องกันดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแกแ่ รงงานทุกกลุ่ม เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายระเบียบ วาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙) โดยอาศัยกลไก การดําเนินการภายใต้แผนแม่บทด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ไมน่ อ้ ยกว่าปลี ะ ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน  รณรงค์เร่ืองความปลอดภัยในสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมเรื่องความ ปลอดภัยและสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทํางานให้แก่นักเรียน นักศึกษา ซึ่งเป็นบุคลากรกําลัง แรงงานที่สําคัญของชาติในอนาคต รวมทั้งมีการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ เครือขา่ ยของการพฒั นา ๒. การส่งเสรมิ กาํ กบั ดแู ล และพัฒนามาตรการเชงิ ปอ้ งกนั ดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั  เร่งรัดการตรวจให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานอยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน เพ่ือลดอตั ราการประสบอนั ตรายและ โรคจากการทาํ งานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕  ส่งเสริมและกํากับดูแลให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความ ปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานอย่างเครง่ ครดั   ๓

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  เร่งรัด ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนามาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล รวมทั้งพัฒนามาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานให้สามารถขยายการคุ้มครองแรงงาน ครอบคลมุ ทุกภาคส่วน  พัฒนามาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเชิงรุกตามปัจจัยเส่ียง อย่างเหมาะสม และครอบคลุมแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ๓. การเสรมิ สรา้ งความร่วมมือและพัฒนาภาคีเครอื ข่ายดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย  การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างเหมาะสมเพื่อบูรณาการ งานดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย  การเสริมสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายความปลอดภยั ในการทํางาน ให้เกิดความรว่ มมือ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนความปลอดภัยในการทํางานให้ประสบผลสําเร็จภายใต้โครงการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) และขยายผลการสร้างเครือข่ายด้านความปลอดภัยใน สถานศกึ ษา เป็นการปลูกฝงั วฒั นธรรมความปลอดภัยไปสู่เยาวชน  การรณรงค์ด้านความปลอดภัยในการทํางานอย่างต่อเน่ืองเพื่อปลูกจิตสํานึกท่ีดีด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชนให้เกดิ เปน็ วฒั นธรรมความปลอดภัยในการทํางานในองค์กร ๔. การพัฒนากลไกการบริหารจดั การดา้ นความปลอดภยั และอาชวี อนามัย  เสริมสร้างและพัฒนากลไกลการขับเคลื่อนระบบการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานให้เปน็ ที่ยอมรับในระดับภมู ิภาคและระดบั สากล  จัดทําระบบฐานข้อมูลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทํางานที่มีประสิทธิภาพ และผลักดันให้มีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานกับหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง  การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพ่ือให้เป็น เคร่ืองมือสนับสนุนการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานให้มี ประสิทธภิ าพ  ประสานความร่วมมือและแลกเปล่ียนข้อมูลทางวิชาการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย กับองค์กรในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาและยกระดับการบริหารจัดการงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานให้เปน็ ทย่ี อมรับ ******************************   ๔

คู่มอื การปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สว่ นท่ี ๓ เปา้ หมายผลผลิต/ตวั ชี้วัดกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. เป้าหมายผลผลิตกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ การดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กําหนดโครงการ/กิจกรรมภายใตแ้ ผนงาน จํานวน ๒ แผนงาน ดงั นี้ ๑.๑ แผนงานพน้ื ฐานด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เป้าหมายผลผลิตการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน ตามแผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เพื่อแรงงานทุกกลุ่มได้รับ การคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยไม่เลือกปฏิบัติมีความปลอดภัยในการทํางาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมท้ังนายจ้างมีการใช้แรงงานอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้ผลผลิตที่ ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน และแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมายแรงงาน กิจกรรมที่ ๒ กํากับ ดูแล ให้สถานประกอบกจิ การปฏิบตั ิตามกฎหมายและสนบั สนุนให้แรงงานมคี วามปลอดภัย และสุขภาพ อนามัยทดี่ ีในการทํางาน จํานวน ๕ โครงการ/กิจกรรม ดงั นี้ โครงการ/กิจกรรม หน่วยนบั เป้าหมาย กล่มุ หน่วยงาน เปา้ หมาย ดาํ เนนิ การ ๑ โครงการประชุมช้ีแจงมาตรฐานกฎหมายความ คน ๒,๕๐๐ นายจ้าง ศปข. ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ลูกจา้ ง ในการทํางาน สําหรับนายจ้าง ลูกจ้าง และ ประชาชน ประชาชนทว่ั ไป (T) ทว่ั ไป ๒ ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/ แหง่ ๑๓,๙๐๐ สถาน สรพ. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน ครง้ั ๑๓,๙๐๐ ประกอบ สสค. กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ กิจการ สภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ขนั้ พนื้ ฐาน * คน ๖๐๐,๐๐๐ ๓ ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/ แห่ง ๑,๘๐๐ สถาน ศปข. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน คร้ัง ๑,๘๐๐ ประกอบ กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ กิจการ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ขั้นเทคนิค คน ๑๔๔,๐๐๐ วชิ าการ * ๔ ตรวจและกํากับนิติบุคคลท่ีได้รับใบอนุญาต แห่ง ๕๐ หนว่ ยฝึก กภ. ให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบทดสอบ นติ บิ ุคคล ศปข. รับรองประเมินความเส่ียง จัดฝึกอบรมหรือ ใหค้ าํ ปรกึ ษา   ๕

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โครงการ/กิจกรรม หน่วยนบั เปา้ หมาย กลุ่ม หนว่ ยงาน เป้าหมาย ดาํ เนนิ การ ๕ ประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย ครง้ั ๗๖ คณะอนุ สสค. อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน คน กรรมการ ๑,๒๑๖ ระดับจงั หวัด ๑.๒ แผนงานยทุ ธศาสตร์สร้างหลักประกนั ทางสงั คม เป้าหมายผลผลิตการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน ตามแผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม เพ่ือพัฒนาและยกระดับผลิตภาพแรงงาน ทุกภาคส่วนภายใต้โครงการระดับผลผลิตท่ี ๑ : โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมหลักท่ี ๑ : ขับเคล่ือนและยกระดับการดําเนินงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในสถานประกอบกิจการ จํานวน ๗ โครงการ/กจิ กรรม ดงั นี้ โครงการ/กจิ กรรม หน่วยนบั เปา้ หมาย กลมุ่ หน่วยงาน เป้าหมาย ดาํ เนนิ การ ๑ โครงการสร้างเครือข่ายความปลอดภัย แห่ง ๔๗๕ สถาน สรพ. แ รงงาน ต าม แ น วป ระช ารัฐ กิ จ ก รรม ศกึ ษา สสค. สถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาํ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒ โครงการสร้างการรับรู้ความปลอดภัยและ คน ๔,๖๐๐ แรงงาน ศปข. อาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบภาคเกษตร นอกระบบ เพ่ือปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางานและ ล ด ปั จ จั ย เส่ี ย ง ต่ อ ก า ร สั ม ผั ส ส า ร เค มี เพื่ อ ขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ข อ งป ระ เท ศ ไท ย (Safety Thailand) ให้ ครอบคลุมแรงงานทุกกล่มุ - อบรมแรงงานนอกระบบภาคเกษตร ** (T) ๓ โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้าง คน ๒,๘๐๐ แรงงานใน ศปข. การรับรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ระบบและ เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ใช้แรงงานทุกภาค นอกระบบ ส่วน (T) ๔ โครงการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนา คน ๑๐๖,๙๐๐ สถาน ศปข. ระบบการบริหารและการจัดการด้านความ ประกอบ สรพ. ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม กจิ การ สสค. ในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบกิจการ กลุม่ เส่ยี ง ประเภทกลุ่มเสี่ยง (กิจกรรมรณรงค์สถาน ป ระกอบ กิจการให้ มีการพั ฒ น าระบ บ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย   ๖

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โครงการ/กจิ กรรม หน่วยนบั เป้าหมาย กลุ่ม หน่วยงาน เป้าหมาย ดําเนนิ การ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน) ** ๕ โครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัย คน ๕,๐๐๐ - แรงงาน สรพ. และอาชีวอนามัยแก่แรงงานทําที่บ้าน เพื่อ ทาํ ทบ่ี า้ น สสค. ขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัย แหง่ ๓๗๐ - แรงงาน ของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ ครง้ั ๓๗๐ ทาํ ความ สรพ. ครอบคลมุ แรงงานทุกกลุม่ ** (T) คน ๓๗,๐๐๐ สะอาด สสค. แหง่ ๖ โครงการพัฒ นาสถานประกอบกิจการ คร้งั สถาน ศปข. ต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้าน คน ประกอบ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ กิจการ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ทํ า ง า น สู่ อ า เซี ย น ระดับจงั หวัด *** ๑๘๐ สถาน ๑๘๐ ประกอบ ๗ โครงการพัฒ นาสถานประกอบกิจการ ๑๘,๐๐๐ กจิ การ ต้นแบบระบบการบริหารและการจัดการด้าน ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ทํ า ง า น สู่ อ า เซี ย น ระดบั ประเทศ *** หมายเหตุ : ๑. กิจกรรมทม่ี เี ครือ่ งหมาย * หมายถึง กจิ กรรมทีน่ าํ ส่งกจิ กรรมหลัก หรอื นาํ ส่งผลผลติ /โครงการ ๒. กิจกรรมทมี่ เี ครื่องหมาย ** หมายถงึ กจิ กรรมที่นาํ ส่งผลผลติ หรอื โครงการระดบั ผลผลิต ๓. กจิ กรรมทม่ี ีเครือ่ งหมาย *** หมายถึง กิจกรรมทนี่ าํ สง่ เปา้ หมายการใหบ้ ริการของกรม ๔. กิจกรรมท่มี ีสญั ลักษณ์ (T) หมายถงึ กจิ กรรมที่เปน็ การอบรม/สัมมนา ๒. ตัวชี้วัดกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๑ แผนงานพืน้ ฐานด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ผลผลิตที่ ๑ : สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน และแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กิจกรรมท่ี ๒ : กํากับ ดูแล ให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายและสนับสนุนให้แรงงานมีความ ปลอดภยั และสุขภาพอนามัยท่ีดใี นการทํางาน ตวั ช้วี ัด หน่วยนบั เปา้ หมาย เชิงปริมาณ : จํานวนสถานประกอบกิจการท่ีได้รับการตรวจความ แห่ง ๑๕,๗๐๐ ปลอดภัยในการทาํ งาน คน ๗๔๔,๐๐๐   ๗

คู่มอื การปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เชงิ คุณภาพ : ร้อยละของสถานประกอบกจิ การปฏบิ ัติตามกฎหมายแรงงาน รอ้ ยละ ๙๓ (ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๙๓) ๒.๒ แผนงานยุทธศาสตรส์ ร้างหลกั ประกันทางสงั คม แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสงั คม โครงการระดับผลผลิตท่ี ๑ : โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมที่ ๑ : ขับเคล่ือนและยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถาน ประกอบกจิ การ ตัวชว้ี ัด หนว่ ยนบั เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ : จาํ นวนแรงงานไดร้ ับการสรา้ งองคค์ วามรู้มาตรการ คน ๑๗๗,๕๐๐ เชิงป้องกนั ด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามัย เชิงคุณภาพ : อัตราการประสบอันตรายจากการทํางานลดลง เม่ือเทียบ ร้อยละ ๕ จากปที ผ่ี า่ นมา ******************************   ๘

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ส่วนที่ ๔ รายละเอียดโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน และแนวทางการดําเนินงาน เพ่ือตอบสนองผลลัพธ์ที่รัฐบาลต้องการให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทุกช่วงวัยและประเทศชาติ โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้กําหนดรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน สําหรับสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สํานักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้ืนที่ และศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ภายใต้แผนงานพ้ืนฐาน จํานวน ๒ แผนงาน ดงั น้ี ๑. แผนงานพืน้ ฐานด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๑.๑ กิจกรรมที่ ๑ : โครงการประชุมชี้แจงมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน สาํ หรบั นายจา้ ง ลูกจ้าง และประชาชนทัว่ ไป (T) (ศปข.) ๑.๒ กิจกรรมท่ี ๒ : ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติ ตามกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ขั้นพ้นื ฐาน * (สสค./สรพ.) ๑.๓ กิจกรรมท่ี ๓ : ตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติ ตามกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขนั้ เทคนคิ วชิ าการ * (ศปข.) ๑.๔ กิจกรรมที่ ๔ : ตรวจและกํากับนิติบุคคลที่ได้รับใบอนุญาต ให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบทดสอบ รบั รองประเมนิ ความเส่ยี ง จัดฝึกอบรมหรือใหค้ ําปรึกษา (กภ./ศปข.) ๑.๕ กิจกรรมท่ี ๕ : การประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ระดับจงั หวดั (สสค.) ๒. แผนงานยทุ ธศาสตรส์ รา้ งหลกั ประกันทางสงั คม ๒.๑ กิจกรรมที่ ๖ : โครงการสร้างเครือข่ายความปลอดภัยแรงงานตามแนวประชารัฐ (กจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓) (สสค./สรพ.) ๒.๒ กิจกรรมท่ี ๗ : โครงการสร้างการรับรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบ ภาคเกษตรเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางานและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมีเพ่ือขับเคลื่อน ความปลอดภยั และอาชวี อนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ครอบคลุมแรงงานทุกกล่มุ - อบรมแรงงานนอกระบบ ** (T) (ศปข.) ๒.๓ กิจกรรมที่ ๘ : โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานและสร้างการรับรู้ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามยั เพื่อคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ขี องผู้ใชแ้ รงงานทกุ ภาคสว่ น (T) ๒.๔ กิจกรรมท่ี ๙ : โครงการรณรงค์เร่งรัดการตรวจและพัฒนาระบบการบริหารและ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเชิงรุกในสถานประกอบกิจการ ประเภทกลุ่มเสี่ยง (กิจกรรมรณรงค์สถานประกอบกิจการให้มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านความ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน) **   ๙

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๕ กิจกรรมท่ี ๑๐ : โครงการพัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแก่แรงงาน ทําที่บ้าน เพ่ือขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ครอบคลุม แรงงานทกุ กลมุ่ **(T) ๒.๖ กิจกรรมท่ี ๑๑ : โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและ การจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางานสูอ่ าเซยี น ระดับจงั หวัด *** ๒.๗ กิจกรรมที่ ๑๒ : โครงการพัฒนาสถานประกอบกิจการต้นแบบระบบการบริหารและ การจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางานสู่อาเซยี น ระดบั ประเทศ ***   ๑๐

คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมท่ี ๑ โครงการประชุมชแี้ จงกฎหมาย แนวปฏบิ ัติ และมาตรการเชิงปอ้ งกัน ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน สําหรับนายจา้ ง ลูกจา้ ง และประชาชนทว่ั ไป (T) (ศปข.)  ๑. หลักการและเหตุผล การขับเคล่ือนโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทยให้ประสบผลสําเร็จ จําเป็นต้องอาศัยและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานและแรงงานทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง ซ่ึงหน่วยงานท้ัง ภาครัฐและภาคเอกชนรวมท้ังแรงงานยังขาดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีถูกต้อง และหากได้รับการพัฒนาองค์ความรู้อย่างเป็นระบบก็จะสามารถ นําความรู้ไปดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อย่างถูกต้อง และมปี ระสิทธภิ าพ ภายใต้แผนแม่บทความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ : การส่งเสรมิ และพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั กลยุทธ์ที่ ๓ : แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของหน่วยงาน และองค์กรทงั้ ในและต่างประเทศ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่อื สง่ เสรมิ และพฒั นาองคค์ วามรู้ดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัยแก่แรงงานทกุ ภาคสว่ น ๒.๒ เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสํานึกด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานแก่แรงงาน และรณรงคส์ รา้ งเสริมให้เกดิ เปน็ วัฒนธรรมความปลอดภัยในการทํางาน ๒.๓ เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานให้เกิดประสิทธผิ ล ๓. แนวทางการดาํ เนนิ งาน ๓.๑ กาํ หนดกลมุ่ เป้าหมาย ๓.๒ กาํ หนดหวั ข้อหรอื หลักสตู รทีเ่ หมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย ๓.๓ ขออนุมตั โิ ครงการ ๓.๔ ขออนุมตั ดิ าํ เนินการ ๓.๕ ดาํ เนินการจัดอบรมตามกาํ หนดการ ๓.๖ จดั ทําแบบทดสอบท่เี หมาะสมกบั หวั ขอ้ /การทดสอบความร้กู ่อนและหลัง ๓.๗ การประเมนิ ผลการอบรม ๓.๘ สรปุ รายงาน   ๑๑

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย เปา้ หมาย ๔.๑ นายจา้ ง ลกู จ้าง และประชาชนทั่วไป ลกู จา้ ง (คน) ๔.๒ เป้าหมาย ๒,๕๐๐ ๒,๕๐๐ หน่วยงาน ศูนย์ความปลอดภัยในการทาํ งานเขต ๑๒ เขต รวม ๕. หลักฐานอ้างองิ ๕.๑ โครงการ/หนงั สอื ขออนมุ ัตดิ าํ เนินการ/กําหนดการ ๕.๒ หนังสือเชิญนายจ้าง ลูกจ้าง และประชาชนทั่วไปเข้ารับการอบรม/ทะเบียนรายช่ือผู้เข้ารับ การอบรม ๕.๓ แบบทดสอบก่อน/หลังอบรม/แบบประเมนิ การจดั อบรม ๕.๔ ภาพถา่ ยการจัดอบรม ๖. การนับผลงาน คน นบั จากจาํ นวน นายจา้ ง ลกู จา้ ง และประชาชนทัว่ ไปทเ่ี ข้ารบั การอบรม ๗. การบันทึกผลงาน บนั ทกึ ผลการดําเนินงานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบฝกึ อบรม ๙. โปรแกรมบนั ทึกแกไ้ ขข้อมูล ๙.๑ TRS1I020 บนั ทึกทะเบยี นผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม (แรงงานกล่มุ เป้าหมาย) ๙.๒ โดยเลือกรหัสหลกั สตู ร ๙.๓ 00000526 ประชมุ ชี้แจงกฎหมาย แนวปฏบิ ัติ และมาตรการเชงิ ปอ้ งกันดา้ นความปลอดภยั ฯ ๙.๔ และบันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะ จํานวนผู้เข้ารับการอบรม ในภาพรวมแยกตามประเภท และบันทึกผลการดาํ เนนิ การและค่าใชจ้ า่ ย ด้วย ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน ๑๐.๑ TRS1R030 รายงานสรุปผลการฝึกอบรม ๑๐.๒ โดยเลือกรหัสหลักสูตร 00000526 ประชุมชี้แจงกฎหมาย แนวปฏิบัติ และมาตรการ เชงิ ป้องกันด้านความปลอดภัยฯ ๑๑. หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ศูนย์ความปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ๑๒ เขต   ๑๒

ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๒. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอ ภาคทางสังคม ผลผลิตที่ ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิ ตามกฎหมายแรงงาน กิจกรรมที่ ๒ กํากับ ดูแล ให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายและสนับสนุน ให้แรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีในการทํางาน งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ รหสั ๓๐๐    ๑๓

คู่มอื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตวั อยา่ ง โครงการประชมุ ช้ีแจงมาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน สาํ หรบั นายจา้ ง ลกู จ้าง และประชาชนทว่ั ไป  ๑. หลักการและเหตผุ ล การขับเคล่ือนโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ประสบผลสําเร็จจําเป็นต้องอาศัยและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานและแรงงานทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง ซ่ึงหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชนรวมทั้งแรงงานยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการเชิงป้องกัน ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีถูกต้อง และหากได้รับการพัฒนาองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ กจ็ ะสามารถนาํ ความรไู้ ปดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางานไดอ้ ย่าง ถกู ต้องและมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังนั้นจึงจัดทําโครงการประชุมช้ีแจงมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานสาํ หรบั นายจา้ ง ลูกจ้าง และประชาชนทัว่ ไป ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้มาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทาํ งาน แก่นายจา้ ง ลูกจา้ ง ๒.๒ เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสํานึกด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน แก่นายจ้าง ลูกจ้าง และประชาชนทั่วไป และรณรงค์สร้างเสริมให้เกิดเป็นวัฒนธรรม ความปลอดภยั ในการทํางาน ๒.๓ เพ่ือเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย ให้เกิดประสทิ ธผิ ล ๓. กลมุ่ เปา้ หมาย นายจา้ ง ลกู จ้าง ในสถานประกอบกจิ การ ๔. แนวทางดําเนนิ การ ๔.๑ ขออนมุ ัติโครงการ และกําหนดหัวข้อหรอื หลักสตู รทเ่ี หมาะสมกบั พ้นื ท่ี ๔.๒ สร้างการรับรู้โดยวิธีการจัดอบรมมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน เพื่อเป็นมาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานทีเ่ หมาะสม ๔.๓ การรณรงค์สร้างเสริมให้เกิดเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทํางานในสถานประกอบ กิจการอย่างต่อเนื่อง   ๑๔

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕. สถานทด่ี ําเนนิ การ จัดอบรมสรา้ งการรับรู้มาตรการเชงิ ปอ้ งกันดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานให้แก่ นายจ้าง ลกู จ้าง และประชาชนทั่วไป ในสถานทรี่ าชการหรือสถานทเ่ี อกชนตามความเหมาะสม ๖. ระยะเวลาดาํ เนนิ โครงการ ดําเนินการในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖ เดือนแรก ( ตลุ าคม ๒๕๖๒ – มนี าคม ๒๕๖๓) ๗. แผนการดาํ เนนิ งาน ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลาดําเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑ จดั ทํารายละเอียดและขออนุมตั โิ ครงการ ๒ การเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ มาตรการเชิงป้องกนั ๓ จัดอบรมเพือ่ พัฒนาองคค์ วามรฯู้ ๔ สรุป/ประเมินผล ๕ รายงาน หมายเหตุ : ระยะเวลาดาํ เนินการกาํ หนดตามความเหมาะสม ๘. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตท่ี ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กิจกรรมที่ ๒ กํากับ ดูแล ให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายและสนับสนุนให้แรงงาน มีความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ท่ีดีในการทํางาน งบดําเนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ รหัส ๓๐๐ ๙. ตัวช้วี ดั ความสําเร็จ ๙.๑ ตวั ชีว้ ัดเชงิ ปริมาณ สร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานแก่นายจ้าง ลูกจา้ ง และประชาชนท่ัวไป จํานวน คน ๙.๒ ตัวชวี้ ัดเชงิ คุณภาพ นายจา้ ง ลูกจ้าง และประชาชนทว่ั ไป ได้รบั ความร้เู พิม่ ขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ๑๐. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั ๑๐.๑ นายจ้าง ลูกจ้าง และแรงงานทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเพื่อเป็นมาตรการเชิงป้องกันท่ีเหมาะสม กับปัจจยั เสย่ี งและสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ๑๐.๒ นายจ้าง ลกู จ้างมคี วามตระหนักและร่วมเฝา้ ระวังการเกิดอบุ ัติเหตจุ ากการทาํ งาน   ๑๕

ค่มู ือการปฏบิ ัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐.๓ ทําให้วงการแรงงานเกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร ทําให้แรงงานมีความปลอดภัย และสขุ ภาพอนามยั ดี ๑๑. ผู้เสนอโครงการ ( ) ตําแหน่ง . ๑๒. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ( ) ตําแหน่ง . ๑๓. ผอู้ นุมัตโิ ครงการ ( ) ตาํ แหนง่ .   ๑๖

คู่มอื การปฏิบัตงิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมที่ ๒ ตรวจและกาํ กบั สถานประกอบกิจการ/หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขน้ั พืน้ ฐาน * (สรพ./สสค.)  ๑. หลักการและเหตุผล การตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานขั้นพืน้ ฐาน เป็นการตรวจและบังคบั ใชม้ าตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ตามตัวช้ีวัดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ซึ่งดําเนินการภายใต้กรอบยุทธศาสตร์แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน แห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ดงั นี้ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : การส่งเสริม กํากับ ดูแล และพัฒนามาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย และอาชวี อนามัย กลยุทธ์ที่ ๑ : ส่งเสริมและกํากับสถานประกอบกิจการให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่เก่ียวข้องกับ ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานตามตัวชีว้ ดั ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๙๓ ๓. แนวทางการดาํ เนนิ การ แนวทางการตรวจความปลอดภัยข้ันพ้ื นฐาน เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยมุ่งเน้นให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติ ตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง ตามเกณฑ์ช้ีวัดขั้นพื้นฐานในการตรวจความปลอดภัยในการทํางานในสถาน ประกอบกจิ การ โดยมแี นวทางดําเนินการ ดังน้ี ๓.๑ การตรวจปกติ ให้สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กรุงเทพมหานครพื้นท่ี คัดเลือกรายช่ือสถานประกอบกิจการท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงรวมท้ังจัดทําแผนการตรวจความ ปลอดภัยขั้นพ้ืนฐานในพื้นท่ี โดยเน้นเป้าหมายการตรวจกํากับสถานประกอบกิจการให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เพ่ือลดความเสี่ยงในการประสบอันตราย จากการทํางาน รวมท้ังคัดเลือกรายช่ือสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยงมีต้องอาศัยความรู้ในเชิงวิศวกรรม หรือ วิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์หรือประเมินอันตรายในสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง ท่ีอาจเกิดอุบัติเหตุและโรค จากการทํางาน โดยส่งให้ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทําแผนการตรวจ ความปลอดภัยเชิงเทคนิควชิ าการ ท้งั นี้เพ่ือปอ้ งกันการตรวจซาํ้ ซ้อนกนั โดยมีขั้นตอนการดาํ เนนิ งาน ดังนี้   ๑๗

ค่มู ือการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑) จัดทําแผนการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) จัดเตรียมเอกสาร ข้อมูลพื้นฐานของสถานประกอบกิจการ แบบตรวจ กล้องถ่ายภาพ และเครื่องมือสุขศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมทีเ่ กย่ี วข้องตามความจาํ เป็น ๓) เข้าตรวจสถานประกอบกิจการ โดยพิจารณาจากเอกสาร สภาพแวดล้อมในการทํางาน ของลูกจ้าง รวมทง้ั การสมั ภาษณน์ ายจ้าง และลูกจ้างที่เกยี่ วขอ้ ง ๔) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกิจการเบื้องต้นลงในแบบตรวจตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งาน ให้บันทึกคาํ ให้การนายจ้างหรือผู้แทน ลูกจ้าง และผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้อง ๕) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงานตรวจความปลอดภัย ออกหนังสือ คําส่ังพนักงานตรวจความปลอดภัย เร่ือง ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามระยะเวลาทก่ี าํ หนด ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่มีบุคคลหน่ึงบุคคลใดที่เก่ียวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการในวันท่ีเข้าตรวจได้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยออก หนังสือ เร่ือง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพื่อให้นายจ้าง ผู้แทนนายจ้าง หรือ ผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ งไปใหข้ อ้ มลู หรือส่งเอกสารเพ่มิ เติม ณ สํานกั งานในวนั เวลาท่กี ําหนด ๗) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และคมุ้ ครองแรงงานอย่างครบถว้ น ในวันท่ีตรวจหรือในวนั ถดั ไป ๓.๒ การตรวจตามคาํ ร้อง เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่มีการร้องเรียนว่านายจ้าง ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยมีข้ันตอน การดําเนนิ งาน ดงั นี้ ๑) ตรวจสอบข้อมูลของสถานประกอบกจิ การ/หน่วยงานรฐั วิสาหกจิ ท่ีถกู รอ้ งเรียนเบื้องต้น ว่ามผี ลการตรวจตามกิจกรรมตรวจและกาํ กบั สถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วิสาหกจิ ให้ปฏบิ ัติตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานข้ันพื้นฐาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ หรือปงี บประมาณท่ผี า่ นมาหรอื ไม่ ๒) ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องกรณีสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ที่ถูกร้องเรียนประกอบกิจการที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย และจัดเตรียมอุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คลตามความจาํ เปน็ เชน่ โรงงานผลิตสารเคมีอันตราย โรงงานเก็บวัตถุอันตราย ฯลฯ ๓) เข้าตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ โดยพิจารณาจากเอกสาร และ สภาพแวดล้อมในการทํางานของลูกจา้ ง รวมทง้ั การสมั ภาษณ์นายจา้ ง ลกู จา้ ง และผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง ๔) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจเบ้ืองต้นลงในแบบตรวจ ตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ให้บันทึกคาํ ให้การนายจ้าง/ผู้แทน รวมท้ังลกู จ้างท่เี กยี่ วข้อง   ๑๘

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วสิ าหกิจ ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงาน ตรวจความปลอดภัยออกหนังสือ คําส่ังพนักงานตรวจความปลอดภัย เรื่อง ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพ่ือให้นายจ้าง ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามระยะเวลาทกี่ ําหนด ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่มีบุคคลใดบุคคลหน่ึงท่ีเกี่ยวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วสิ าหกจิ ได้ ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัย ออกหนังสือ เรื่อง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพ่ือให้นายจ้าง ผู้แทนนายจ้าง หรือผทู้ ่ีเก่ียวข้องไปใหข้ อ้ มูลหรอื ส่งเอกสารเพม่ิ เติม ณ สํานกั งานในวันเวลาทีก่ าํ หนด ๗) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวสั ดิการ และคุ้มครองแรงงานอย่างครบถ้วนในวนั ทตี่ รวจหรือในวนั ถัดไป ๓.๓ การตรวจพเิ ศษ เปน็ การตรวจความปลอดภัยในการทาํ งานกรณีพิเศษ เช่น ๑) การตรวจตามสถานการณ์ หรือนโยบายเรง่ ด่วน ซง่ึ ไดก้ ําหนดกลุ่มเป้าหมายทต่ี า่ งจาก การตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานข้นั พื้นฐานปกติ ๒) การตรวจสถานประกอบกิจการเฉพาะกลุ่มท่ีกําหนดเป้าหมายชัดเจนเพื่อแก้ปัญหา เร่งด่วน ๓) การตรวจสถานประกอบกิจการที่กําหนดกลุ่มเป้าหมายและขั้นตอนการดําเนินงาน ไว้ในโครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานอยา่ งชัดเจน ๔) ฯลฯ ๓.๔ การตรวจอบุ ัตเิ หตหุ รอื เจบ็ ปว่ ยเนือ่ งจากการทาํ งาน เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจท่ีเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน หรือสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่มีลูกจ้างเจ็บป่วยเน่ืองจากการทํางาน โดยมีขั้นตอน การดําเนินงานดังนี้ ๑) ตรวจสอบข้อมลู เบ้ืองต้นของสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจท่ีเกิดอบุ ัติเหตุ หรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานว่ามีผลการตรวจและกํากับดูแลให้สถานประกอบกิจการและหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ในปีงบประมาณนี้ หรือปงี บประมาณ ท่ผี า่ นมาหรอื ไม่ ๒) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกรณีสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกจิ ท่ีเกิด อุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานประกอบกิจการท่ีอาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขภาพ อนามัย และจัดเตรียมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามความจําเป็น เช่น โรงงานผลิตสารเคมี อันตราย โรงานเกบ็ วัตถุอนั ตราย ฯลฯ ๓) เข้าตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ โดยพิจารณาจากเอกสาร สภาพแวดล้อมในการทํางานของลูกจ้าง รวมทัง้ การสัมภาษณ์นายจา้ ง และลูกจา้ งท่ีเกี่ยวขอ้ ง   ๑๙

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจเบ้ืองต้นลงในแบบตรวจ ตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ใหบ้ นั ทึกคําใหก้ ารนายจา้ ง/ผูแ้ ทน รวมท้งั ลกู จา้ งทเ่ี กยี่ วข้อง ๕) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภยั พบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วสิ าหกิจ ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงาน ตรวจความปลอดภัยออกหนังสือ คําสั่งพนักงานตรวจความปลอดภัย เร่ือง ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามระยะเวลาทีก่ ําหนด ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภยั พบว่าสถานประกอบกิจการ/หนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่มีบุคคลหน่ึงบุคคลใดที่เก่ียวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทํางานในสถานประกอบกจิ การ/หนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจได้ ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัย ออกหนังสือ เรื่อง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพ่ือให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องไปให้ข้อมูล หรือส่งเอกสารเพมิ่ เติม ณ สํานักงานในวนั เวลาทีก่ าํ หนด ๗) ดําเนนิ การตามขั้นตอนของการสอบขอ้ เท็จจรงิ เพ่ือรวบรวมหลักฐานในการดําเนินคดี ๘) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวสั ดิการ และคุม้ ครองแรงงานอย่างครบถว้ นในวนั ทต่ี รวจหรอื ในวันถดั ไป ๓.๕ การตรวจติดตามผล เป็นการตรวจติดตามผล จากการตรวจตามข้อ ๓.๑ – ๓.๔ กรณีนายจ้างฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน และพนกั งานตรวจความปลอดภัย ได้ออกสั่งทางปกครองให้นายจ้างดําเนินการให้ถูกต้อง เช่น คําส่ังให้ปฏิบัติ คําส่ังให้ส่งเอกสาร หรือการตรวจ ตดิ ตามผลเพื่อรวบรวมหลกั ฐานในการดาํ เนนิ คดเี ปรียบเทยี บปรบั ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และคมุ้ ครองแรงงานอยา่ งครบถ้วนในวันทต่ี รวจติดตามผลหรอื ในวนั ถดั ไป ๔. กล่มุ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กล่มุ เปา้ หมาย เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจกลุ่มเป้าหมายตามแผน การปฏบิ ตั งิ าน กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ประกอบด้วย ๑) สถานประกอบกิจการที่มอี ตั ราการประสบอนั ตรายสูงของจังหวดั /พ้ืนท่ี ๒) สถานประกอบกิจการท่มี จี ํานวนการประสบอันตรายสูงของจังหวดั /พ้ืนท่ี ๓) สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเส่ียง เช่น สถานประกอบกิจการที่มีความเสี่ยงต่อ การรั่วไหลหรือระเบิดของสารเคมีอันตราย สถานประกอบกิจการที่มีความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย หรือ งาน กอ่ สร้าง ฯลฯ ๔) สถานประกอบกิจการที่มีสภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีไม่ปลอดภัย ซ่ึงอาจเป็น อันตรายต่อลกู จ้าง ๕) สถานประกอบกิจการท่ีมีร้องเรียนว่าสภาพแวดล้อมในการทํางานไม่ปลอดภัย หรือ นายจา้ งปฏิบตั ิไม่ถกู ต้องตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน   ๒๐

คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖) สถานประกอบกิจการท่ีเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน หรือมีลูกจ้างเจ็บป่วยเนื่องจาก การทาํ งาน ๗) สถานประกอบกิจการกลุ่มเปา้ หมายตามสถานการณ์และนโยบายเรง่ ดว่ น ๘) สถานประกอบกิจการที่ต้องตรวจติดตามผลจากการตรวจตามตามข้อ ๑) – ๗) ซึ่ง นายจ้างฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และ พนักงานตรวจความปลอดภัยได้ออกส่ังทางปกครองให้นายจ้างดําเนินการให้ถูกต้อง เช่น คําสั่งให้ปฏิบัติ คําส่ัง ใหส้ ง่ เอกสาร หรอื การตรวจตดิ ตามเพอ่ื เก็บหลกั ฐานดําเนินคดี ๔.๒ เปา้ หมาย เปา้ หมาย สปก. (แหง่ ) ลูกจา้ ง (คน) หน่วยงาน ๑๒,๓๗๕ ๕๓๒,๓๐๐ สํานักงานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานจงั หวดั ๗๖ จงั หวดั ๑,๕๒๕ ๖๗,๗๐๐ สํานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี ๑๐ พืน้ ที่ ๑๓,๙๐๐ ๖๐๐,๐๐๐ รวม ๕. หลกั ฐานอา้ งองิ ๕.๑ แบบตรวจความปลอดภัย ๕.๒ แบบบนั ทกึ คําใหก้ าร ๕.๓ ผลการบนั ทึกการตรวจในระบบ On-line ของกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๖. การนับผลงาน แหง่ นับจากจํานวนสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ท่ีเข้าตรวจและกํากับสถาน ประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ข้ันพื้นฐาน ในสถานประกอบกิจการเป็น ครัง้ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (ทุกประเภทการตรวจ) ครงั้ นับจากจํานวนคร้ังท่ีเข้าตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน ข้ันพ้ืนฐานคร้ังแรกในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และจํานวนครั้งในการตรวจ ตดิ ตามผลของแต่ละแหง่ ในปงี บประมาณเดียวกนั (ทกุ ประเภทการตรวจ) คน นับจากจํานวนลูกจ้างท้ังหมดในสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง ที่ผ่านการตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตาม มาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ข้ันพ้ืนฐาน ครั้งแรกและปฏิบัตถิ ูกต้อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. การบนั ทึกผลงาน บันทกึ ผลการดาํ เนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ด้านคมุ้ ครองความปลอดภัย   ๒๑

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๘.๓ งานคมุ้ ครองความปลอดภัย ๘.๔ ตรวจความปลอดภัย ๙. โปรแกรมบนั ทกึ แกไ้ ขขอ้ มลู ๙.๑ SPS1I010 บนั ทกึ ข้อมูลการตรวจความปลอดภัยในการทาํ งาน ๙.๒ กรณตี รวจและกํากับสถานประกอบกิจการ  ใหเ้ ลอื กการตรวจพ้นื ฐาน  เลือกการตรวจโครงการ 01 โครงการตรวจแรงงานมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ เท่านน้ั  บันทกึ รายละเอยี ดใหถ้ กู ตอ้ งครบถ้วนทกุ ช่อง ๙.๓ กรณตี รวจและกํากับหน่วยงานรฐั วิสาหกจิ  เลอื กการตรวจพน้ื ฐาน  เลือกการตรวจโครงการ 02 โครงการตรวจเยี่ยมรัฐวิสาหกิจเพื่อส่งเสริมการจัดการ ดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งาน เทา่ นัน้  บันทกึ รายละเอยี ดใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ นทกุ ชอ่ ง ๙.๔ กรณีตรวจตามมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันและควบคุมแก้ไขอุบัติเหตุร้ายแรงงานใน สถานประกอบกิจการประเภทงานก่อสร้างให้เลือก การตรวจพื้นฐาน และเลือกตรวจโครงการ 04 โครงการตรวจฯ ตามมาตรการเร่งดว่ น เท่าน้ัน พร้อมทงั้ บันทกึ รายละเอียดให้ถกู ต้องครบถ้วนทกุ ชอ่ ง ๙.๕ เลอื กประเภทการตรวจ ๑) การตรวจปกติ ๒) การตรวจตามคาํ รอ้ งเรยี น ๓) การตรวจติดตามผล (กรณีตรวจติดตามผลของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา ใหค้ ดิ เป็นผลงานของการตรวจครัง้ แรกของปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ๔) การตรวจอุบัติเหตุ ๕) การตรวจพเิ ศษ ๑๐. โปรแกรมพิมพ์รายงาน ๑๐.๑ รายงาน/รายงานสรุปการตรวจความปลอดภัย จําแนกตามเดือน/ภาค/จังหวัด/ประเภท กิจการ/ขนาด ๑๐.๒ SPS1R030 รายงานสรุปการตรวจความปลอดภัย จําแนกตามเดือน/ภาค/จังหวัด/ประเภท กจิ การ/ขนาด ๑๐.๓ เลือกโครงการ 01 โครงการตรวจแรงงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ และเลือกแบบการตรวจพื้นฐาน เท่านั้น ๑๐.๔ เลือกโครงการ 02 โครงการตรวจเยี่ยมรัฐวิสาหกิจเพ่ือส่งเสริมการจัดการด้านความ ปลอดภยั ในการทาํ งาน และเลอื กแบบการตรวจพื้นฐาน เทา่ นั้น ๑๐.๕ เลือกโครงการ 04 โครงการตรวจตามมาตรการเร่งดว่ นในการป้องกันและควบคุมแกไ้ ข อบุ ตั ิเหตรุ า้ ยแรงงานในสถานประกอบกิจการประเภทงานกอ่ สรา้ ง และเลือกแบบการตรวจพน้ื ฐาน เท่านัน้   ๒๒

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรมตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานขั้นพื้นฐาน ให้นํา รายงานตรวจโครงการ 01 02 และ 04 มารวมกัน ๑๑. หนว่ ยงานผรู้ บั ผิดชอบ ๑๑.๑ สํานกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัด ๗๖ จังหวัด ๑๑.๒ สาํ นกั งานสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี ๑๐ พืน้ ที่ ๑๒. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กจิ กรรมที่ ๒ กาํ กับ ดแู ล ให้สถานประกอบกิจการปฏบิ ัติตามกฎหมายและสนบั สนุนใหแ้ รงงานมีความ ปลอดภยั และสุขภาพอนามัยท่ดี ีในการทาํ งาน งบดาํ เนนิ งาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รหัส ๓๐๐    ๒๓

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมที่ ๓ ตรวจและกํากบั สถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วสิ าหกิจ ให้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ขน้ั เทคนิควชิ าการ * (ศปข.)  ๑. หลักการและเหตุผล การตรวจและกาํ กบั สถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วสิ าหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขั้นเทคนิควิชาการ เพื่อให้สถานประกอบกิจการ/ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ และกฎหมาย ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามตัวช้ีวัดท่ีกําหนด ภายใต้กรอบ ยุทธศาสตร์แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : การส่งเสริม กํากับ ดูแล และพัฒนามาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามยั กลยทุ ธท์ ่ี ๑ : ส่งเสริมและกาํ กับสถานประกอบกจิ การให้ปฏิบัตติ ามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกบั ความ ปลอดภยั และอาชวี อนามัยของหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขั้นเทคนิควิชาการ ตามตัวชี้วัด ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๙๓ ๓. แนวทางการดาํ เนินงาน ๓.๑ แนวปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยเชงิ เทคนิควชิ าการ แนวปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยเชิงเทคนิควิชาการ เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยมุ่งเน้นให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติ ตามกฎหมายไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ตามเกณฑ์ช้ีวัดขัน้ เทคนคิ วิชาการ และเน้นการตรวจเทคนิคเชิงลกึ ดังนี้ ๓.๑.๑ การประเมินความเส่ียงของสถานประกอบกิจการท่ีเข้าตรวจว่ามีความเส่ียงต่อการเกิด อุบัติเหตุ และโรคจากการทํางาน หรือการเกิดอุบัติภัยร้ายแรงท่ีก่อให้เกิดการระเบิด เพลิงไหม้ สารเคมีร่ัวไหล เป็นต้น แล้วเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ไขความเส่ียงดังกล่าว รวมท้ังการแนะนําและส่งเสริมสถาน ประกอบกิจการกลุ่มเส่ียงให้มีกิจกรรมในเชิงป้องกันเพิ่มเติม ได้แก่ การรณรงค์ การส่งเสริมให้ความรู้ การอบรม ภายในสถานประกอบกิจการ ควบคู่กับการบังคับใช้กฎหมายด้วย ซึ่งหากใช้มาตรการในการบังคับใช้กฎหมาย อาจไม่เพียงพอในเชงิ ปอ้ งกนั ความเสยี่ งตา่ งๆทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ   ๒๔

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๑.๒ การตรวจสอบการจัดทําข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางานของลูกจ้างในสถาน ประกอบกิจการ ท่ีกาํ หนดข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานด้านความปลอดภัยท่เี หมาะสมกบั ลกั ษณะงานของแต่ละสถาน ประกอบกิจการให้ครบถ้วนทุกงาน และตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางาน ดังกลา่ ว ๓.๑.๓ การตรวจสอบข้อมูลจากผลการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ และการอบรม ตาม มาตรฐานท่ีกําหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการตรวจสถานประกอบกิจการท่ีมี ผลการตรวจวดั ฯ หรอื การอบรมที่ไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานทีก่ ฎหมายกําหนด ว่าได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไป ตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกําหนด หรือข้อแนะนําของผู้ประกอบวิชาชีพหรือพนักงานตรวจตรวจความปลอดภัย หรือไม่ เช่น การปรับปรุงแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมในการทํางาน แสง เสียง ความร้อน หรือสารเคมีอันตราย การเฝ้าระวังสุขภาพลูกจ้างตามปัจจัยเสี่ยงโดยตรวจสอบผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างและการดําเนินการ ของสถานประกอบกจิ การ การแกไ้ ขหรือปรับปรุงเคร่ืองจักรหรือระบบไฟฟ้าตามข้อแนะนําของวศิ วกร เปน็ ต้น ๓.๑.๔ การขับเคลื่อนกลไกในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยให้มีการตรวจสอบ ติดตาม ผลักดันการดําเนินงานตามนโยบายด้านความ ปลอดภัยฯของสถานประกอบกิจการ และการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยฯ ตามบทบาทหน้าท่ีของบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลท่ีดําเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ ได้แก่ หน่วยงานความ ปลอดความภัยฯ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ เจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทํางานระดับตา่ งๆ รวมทั้งการ จดั ใหม้ ีคมู่ ือวา่ ดว้ ยความปลอดภัยในการทํางาน ๓.๑.๕ กรณีการเกิดอุบัติเหตุหรือโรคจากการทํางานในพ้ืนที่รับผิดชอบ ศูนย์ความปลอดภัยใน การทํางานเขต จะต้องดําเนินการสอบสวนอุบัติเหตุ วิเคราะห์สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ หามาตรการป้องกันและ เสนอแนะแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้แก่นายจ้าง รวมท้ังการจัดทํามาตรการหรือแนวปฏิบัติในเชิงป้องกันใน รูปแบบสารสนเทศ Infographic ที่เข้าใจง่าย และชัดเจน เพื่อใช้ในการรณรงค์และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้แก่สถานประกอบกิจการทั่วประเทศ โดยกําหนดให้ข้าราชการทุกคนท่ีปฏิบัติงานในศูนย์ฯ ดําเนินการและ จัดทําเป็นรายงานผลการดําเนินการตรวจการเกิดอุบัติเหตุหรือโรคจากการทํางานแต่ละกรณีเป็นเล่มเอกสาร และเปน็ รูปแบบสารสนเทศ Infographic คนละ ๑ เรือ่ ง ต่อ ๑ เดือน ท้ังน้ี ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต จะต้องใช้แนวปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยตามข้อ ๓.๑.๑ – ๓.๑.๔ เป็นแนวทางร่วมกับการตรวจความปลอดภัยเชิงเทคนิควิชาการตามเกณฑ์ช้ีวัดขั้นเทคนิค วิชาการ และดําเนินการจัดทํามาตรการในเชิงป้องกัน หรือแนวปฏิบัติในเชิงป้องกันในรูปแบบสารสนเทศ Infographic ตามข้อ ๓.๑.๕ ๓.๒ การตรวจปกติ ให้ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขตพิจารณาคัดเลือกรายช่ือสถานประกอบกิจการ/ หน่วยงานรฐั วิสาหกิจกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยพิจารณาจากลักษณะการประกอบกิจการ ข้อมูลการ ประสบอันตรายจากสํานักงานกองทุนเงินทดแทน สํานักงานประกันสังคม และข้อมูลสถานประกอบกิจการท่ี ต้องใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในการดําเนินการแก้ไขปัญหาที่สํานักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัด หรือสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้ืนท่ีส่งให้ เพ่ือจัดทํา   ๒๕

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนการตรวจความปลอดภัยเชิงเทคนิควิชาการให้เหมาะสมกับพื้นท่ีท่ีรับผิดชอบ ทั้งนี้ ควรมีการประสานหรือ ตรวจสอบรายชอ่ื สถานประกอบกิจการกับสาํ นักงานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานจังหวดั /สํานกั งานสวัสดกิ าร และคุ้มครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพน้ื ท่ีท่อี ยู่ในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ เพ่ือป้องกันความซํา้ ซ้อนทอ่ี าจเกิดขนึ้ โดยมี ข้ันตอนการดําเนินงาน ดังน้ี ๑) ตรวจสอบรายช่ือสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับ การคัดเลือกจากสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด หรือสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กรุงเทพมหานครพื้นท่ี และวางแผนการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) จัดเตรียมเอกสาร แบบตรวจ กล้องถ่ายภาพ และเครื่องมือสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ทีเ่ ก่ยี วข้องตามความจาํ เป็น ๓) เขา้ ตรวจสถานประกอบกจิ การ/หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกิจ โดยมีประเดน็ การตรวจตามข้อ ๓.๑.๑ - ๓.๑.๔ ด้วยวิธีการพิจารณาจากเอกสาร การตรวจสภาพแวดล้อมในการทาํ งานของลูกจ้าง รวมทั้งการ สัมภาษณ์นายจ้าง และลูกจ้างท่ีเก่ียวข้อง โดยเน้นการตรวจข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางาน ของลกู จ้างให้ครบถ้วนทุกคนและทกุ งาน ๔) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกิจการเบื้องต้นลงในแบบตรวจตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทาํ งาน ให้บันทกึ คาํ ให้การนายจ้าง/ผูแ้ ทน รวมทงั้ ลกู จา้ งทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๕) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หนว่ ยงานรัฐวสิ าหกิจ ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงานตรวจ ความปลอดภัย ออกหนังสือ คําสั่งพนักงานตรวจความปลอดภัย เรื่อง ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพ่ือให้นายจา้ งปฏิบัติใหถ้ ูกต้อง ตามระยะเวลาที่กําหนด ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภยั พบว่าสถานประกอบกิจการ/หนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจ ไม่มีบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการได้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยออกหนังสือ เร่ือง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพ่ือให้นายจ้าง ผู้แทนนายจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ไปให้ข้อมลู หรือสง่ เอกสารเพิม่ เตมิ ณ สํานกั งานในวันเวลาท่ีกําหนด ๗) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานอย่างครบถว้ นในวนั ทต่ี รวจหรือในวันถัดไป ๓.๓ การตรวจตามคําร้อง เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวสิ าหกิจที่มีการร้องเรียนว่านายจ้างปฏิบัติ ไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน หรอื มสี ภาพแวดล้อมในการ ทาํ งานท่ีไม่ปลอดภัย โดยมขี นั้ ตอนการดําเนินงาน ดังน้ี ๑) ตรวจสอบข้อมูลของสถานประกอบกจิ การ/หนว่ ยงานรฐั วิสาหกจิ ที่ถูกรอ้ งเรยี นเบื้องต้น ว่ามีผลการตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ขนั้ พน้ื ฐาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓   ๒๖

คู่มือการปฏิบตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องกรณีสถานประกอบกิจการท่ีถูกร้องเรียนประกอบ กจิ การ ท่ีอาจสง่ ผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามยั และจัดเตรียมอุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัย ส่วนบุคคลตามความจําเป็น เชน่ โรงงานผลติ สารเคมีอันตราย โรงานเก็บวัตถอุ นั ตราย ฯลฯ ๓) เข้าตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ โดยพิจารณาจากเอกสาร สภาพแวดล้อมในการทํางานของลกู จ้าง รวมทงั้ การสัมภาษณ์นายจา้ ง และลูกจ้างทเี่ ก่ียวข้อง ๔) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกิจการเบื้องต้นลงในแบบตรวจตามตัวชี้วัดอย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน ให้บนั ทึกคําให้การนายจ้าง/ผแู้ ทน รวมทงั้ ลกู จา้ งท่ีเก่ียวข้อง ๕) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภยั พบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวสิ าหกิจ ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงานตรวจ ความปลอดภัยออกหนงั สือ คําสั่งพนักงานตรวจความปลอดภัย เร่ือง ใหป้ ฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องตาม ระยะเวลาท่ีกําหนด ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่มีบุคคลหน่ึงบุคคลใดที่เกี่ยวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการได้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยออกหนังสือ เรื่อง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพ่ือให้นายจ้าง ผู้แทนนายจ้าง หรือผู้ที่เก่ียวข้อง ไปให้ข้อมลู หรอื สง่ เอกสารเพม่ิ เติม ณ สํานกั งานในวันเวลาท่กี ําหนด ๗) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงานอยา่ งครบถว้ นในวันทตี่ รวจหรือในวนั ถัดไป ๓.๔ การตรวจพเิ ศษ เปน็ การตรวจความปลอดภัยในการทาํ งานกรณีพเิ ศษ เช่น ๑) การตรวจตามสถานการณ์ หรือนโยบายเรง่ ดว่ น ซ่งึ ได้กาํ หนดกล่มุ เป้าหมายท่ีต่างจาก กิจกรรมการตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความ ปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ขั้นเทคนคิ วิชาการ ๒) การตรวจสถานประกอบกิจการเฉพาะกลุม่ ทก่ี ําหนดเป้าหมายชัดเจนเพื่อแก้ปัญหาเร่งดว่ น ๓) การตรวจสถานประกอบกิจการท่ีกําหนดกลุ่มเป้าหมายและข้ันตอนการดําเนินงาน ไว้ในโครงการ/กจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานอย่างชัดเจน ๔) ฯลฯ ๓.๕ การตรวจอุบตั เิ หตุหรือเจบ็ ปว่ ยเนือ่ งจากการทํางาน เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการท่ีเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน หรือสถานประกอบกิจการ ท่ีมลี กู จ้างเจบ็ ปว่ ยเน่ืองจากการทํางาน โดยมขี น้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน ดังน้ี ๑) ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองต้นของสถานประกอบกิจการที่เกิดอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยเน่ืองจาก การทํางานว่ามีผลการตรวจและกํากับให้สถานประกอบกิจการและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในปีงบประมาณนี้ หรือปีงบประมาณ ท่ผี ่านมาหรือไม่ ๒) ประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกรณีสถานประกอบกิจการที่เกิดอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการทํางานในสถานประกอบกิจการที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย และ   ๒๗

คู่มือการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ จัดเตรียมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามความจําเป็น เช่น โรงงานผลิตสารเคมีอันตราย โรงงาน เก็บวตั ถอุ นั ตราย ฯลฯ ๓) เข้าตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ โดยพิจารณาจากเอกสาร สภาพแวดลอ้ มในการทํางานของลกู จา้ ง รวมทัง้ การสัมภาษณ์นายจ้าง และลกู จ้างที่เก่ยี วข้อง ๔) ดําเนินการสอบสวน วิเคราะห์อุบัติเหตุและโรคจากการทํางาน พร้อมเสนอแนะ มาตรการเชิงป้องกันท่ีสอดคลอ้ งตามท่ีกฎหมายกําหนด เพ่ือใช้เป็นแนวทางสําหรับนายจ้างหรือสถานประกอบ กิจการอื่นในการปรับปรุงแก้ไขมิให้เกิดเหตุในลักษณะเดียวกันอีก และจัดทําเป็นรายงานผลการดําเนินการ ตรวจการเกิดอุบัติเหตุหรือโรคจากการทํางานแต่ละกรณีเป็นเล่มเอกสาร และเป็นรูปแบบสารสนเทศ Infographic คนละ ๑ เร่อื ง ตอ่ ๑ เดือน ๕) บันทึกข้อมูลสถานประกอบกจิ การเบื้องต้นลงในแบบตรวจตามตัวช้ีวดั อย่างครบถ้วน กรณีพบว่านายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน ใหบ้ นั ทกึ คาํ ใหก้ ารนายจ้าง/ผูแ้ ทน รวมทงั้ ลกู จา้ งทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ๖) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภยั พบว่าสถานประกอบกิจการ/หนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจ ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้พนักงานตรวจ ความปลอดภัย ออกหนังสือ คําส่ังพนักงานตรวจความปลอดภัย เร่ือง ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแบบ สปร. ๒ เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามระยะเวลาที่กาํ หนด ๗) กรณีพนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่าสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่มีบุคคลหนึ่งบุคคลใดท่ีเก่ียวข้องสามารถให้ข้อมูลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการได้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยออกหนังสือ เรื่อง ขอให้ไปพบพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบ สปร. ๑ เพ่ือให้นายจ้าง ผู้แทนนายจ้าง หรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง ไปให้ข้อมลู หรอื ส่งเอกสารเพมิ่ เติม ณ สาํ นักงานในวนั เวลาท่ีกาํ หนด ๘) ดําเนนิ การตามขั้นตอนของการสอบข้อเทจ็ จริงเพอื่ รวบรวมหลกั ฐานในการดําเนนิ คดี ๙) ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานอยา่ งครบถ้วนในวันท่ตี รวจหรอื ในวันถัดไป ๓.๖ การตรวจติดตามผล เป็นการตรวจติดตามผล จากการตรวจตามตามข้อ ๓.๑ – ๓.๔ กรณีนายจ้างฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน และพนักงานตรวจความปลอดภัย ได้ออกคําสั่งทางปกครองให้นายจ้างดําเนินการให้ถูกต้อง เช่น คําส่ังให้ปฏิบัติ คําสั่งให้ส่งเอกสาร หรือการตรวจ ติดตามผลเพอ่ื รวบรวมหลักฐานในการดาํ เนินคดเี ปรียบเทยี บปรับ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยบันทึกผลการตรวจลงระบบ On-line ของกรมสวัสดิการ และค้มุ ครองแรงงานอย่างครบถ้วนในวนั ทีต่ รวจติดตามผลหรอื ในวันถดั ไป ๔. กลุ่มเปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กลมุ่ เปา้ หมาย เป็นการตรวจสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจกลุ่มเป้าหมายตามแผน การปฏิบัติงาน กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ประกอบดว้ ย ๑) สถานประกอบกิจการทม่ี ีอัตราการประสบอนั ตรายสูง   ๒๘

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒) สถานประกอบกิจการท่มี จี าํ นวนการประสบอนั ตรายสูง ๓) สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยง เช่น สถานประกอบกิจการที่มีความเสี่ยงต่อ การร่ัวไหลหรือระเบิดของสารเคมีอันตราย สถานประกอบกิจการท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย หรือ งาน ก่อสร้าง ฯลฯ ๔) สถานประกอบกิจการที่มสี ภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีมีกระบวนการทาํ งานซับซอ้ น ๕) สถานประกอบกิจการที่มีสภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีไม่ปลอดภัย ซึ่งอาจเป็น อันตรายต่อลูกจ้าง ๖) สถานประกอบกิจการท่ีมีร้องเรียนว่าสภาพแวดล้อมในการทํางานไม่ปลอดภัย หรือ นายจา้ งปฏิบตั ไิ มถ่ ูกตอ้ งตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ๗) สถานประกอบกิจการท่ีเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน หรือมีลูกจ้างเจ็บป่วยเนื่องจาก การทํางาน ๘) สถานประกอบกิจการกลุม่ เปา้ หมายตามสถานการณแ์ ละนโยบายเร่งดว่ น ๙) สถานประกอบกิจการที่ต้องตรวจติดตามผลจากการตรวจตามตามข้อ ๑) – ๗) ซึ่ง นายจ้างฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และ พนักงานตรวจความปลอดภัยได้ออกส่ังทางปกครองให้นายจ้างดําเนินการให้ถูกต้อง เช่น คําส่ังให้ปฏิบัติ คําสั่ง ใหส้ ง่ เอกสาร หรือการตรวจติดตามเพือ่ เกบ็ หลักฐานดําเนนิ คดี ๔.๒ เป้าหมาย หนว่ ยงาน เปา้ หมาย ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทํางานเขต ๑๒ เขต สปก. (แห่ง) ลูกจา้ ง (คน) ๑,๘๐๐ ๑๔๔,๐๐๐ รวม ๑,๘๐๐ ๑๔๔,๐๐๐ ๕. หลกั ฐานอ้างอิง ๕.๑ แบบตรวจความปลอดภัย ๕.๒ ผลการบันทึกการตรวจในระบบ web Application ๖. การนับผลงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และกองความปลอดภัยแรงงานจะนับผลการดําเนินงาน ของพนักงานตรวจความปลอดภัย ทั้งท่ีมีผลการตรวจถูกต้อง หรือมีผลการตรวจไม่ถูกต้อง สาํ หรับกรณีท่ีมีผล การตรวจไม่ถูกต้อง จะพิจารณาจากผลการดําเนนิ การออกคาํ ส่ัง เพื่อให้ปรับปรุงแก้ไขใหถ้ ูกต้อง หรือดําเนนิ คดี โดยการเปรียบเทียบปรับ รวมท้ังการร้องทุกข์ หรือกล่าวโทษ ผู้กระทําผิดตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ แล้วแต่กรณี แห่ง นับจากจํานวนสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ที่เข้าตรวจและกํากับสถาน ประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานขั้นเทคนิควิชาการ ในสถานประกอบ กิจการเปน็ คร้งั แรกของปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (ทุกประเภทการตรวจ) ครั้ง นับจากจํานวนครง้ั ท่ีเข้าตรวจและกํากบั สถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน   ๒๙

คูม่ อื การปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้ันเทคนิควิชาการครั้งแรก และจํานวนคร้ังในการตรวจติดตามผลของแต่ละแห่งใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (ทุกประเภทการตรวจ) คน นบั จากจํานวนลกู จา้ งทง้ั หมดในสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรฐั วิสาหกจิ แตล่ ะแหง่ ท่ีผ่าน การตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขั้นเทคนิควิชาการ ครงั้ แรก ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. การบนั ทกึ ผลงาน บันทึกผลการดาํ เนินงานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ด้านคมุ้ ครองความปลอดภัย ๘.๓ งานค้มุ ครองความปลอดภัย ๘.๔ ตรวจความปลอดภยั ๙. โปรแกรมบนั ทึกแกไ้ ขข้อมลู ๙.๑ SPS1I010 บนั ทกึ ขอ้ มลู การตรวจความปลอดภยั ในการทาํ งาน ๙.๒ กรณตี รวจและกาํ กบั สถานประกอบกจิ การ  เลอื กการตรวจเทคนคิ /วิชาการ  เลอื กการตรวจโครงการ 01 โครงการตรวจแรงงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ เทา่ น้นั  บันทึกรายละเอียดใหถ้ กู ตอ้ งครบถ้วนทกุ ช่อง ๙.๓ กรณีตรวจและกํากบั หนว่ ยงานรฐั วิสาหกจิ  เลือกการตรวจเทคนคิ /วชิ าการ  เลือกการตรวจโครงการ 02 โครงการตรวจเย่ียมรัฐวิสาหกิจเพ่ือส่งเสริมการจัดการ ด้านความปลอดภัยในการทํางาน เทา่ นั้น  บันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถว้ นทุกชอ่ ง ๙.๔ กรณีตรวจตามมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันและควบคุมแก้ไขอุบัติเหตุร้ายแรงงาน ในสถานประกอบกิจการประเภทงานก่อสร้างให้เลือก การตรวจเทคนิค/วิชาการ และเลือกตรวจโครงการ 04 โครงการตรวจฯ ตามมาตรการเรง่ ด่วน เทา่ นั้น พรอ้ มทง้ั บนั ทกึ รายละเอียดใหถ้ ูกต้องครบถว้ นทุกชอ่ ง ๙.๕ เลอื กประเภทการตรวจ ๑) การตรวจปกติ ๒) การตรวจตามคําร้องเรียน ๓) การตรวจติดตามผล (กรณีตรวจติดตามผลของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ให้คดิ เปน็ ผลงานของการตรวจคร้งั แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ๔) การตรวจอบุ ัติเหตุ ๕) การตรวจพิเศษ ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน ๑๐.๑ รายงาน/รายงานสรุปการตรวจความปลอดภัย จําแนกตามเดือน/ภาค/จังหวัด/ประเภท กิจการ/ขนาด   ๓๐

คู่มือการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐.๒ SPS1R030 รายงานสรุปการตรวจความปลอดภัย จําแนกตามเดือน/ภาค/จังหวัด/ประเภท กิจการ/ขนาด ๑๐.๓ เลือกโครงการ 01 โครงการตรวจแรงงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ และเลือกแบบการตรวจ ขนั้ เทคนิค วชิ าการ เทา่ นน้ั ๑๐.๔ เลือกโครงการ 02 โครงการตรวจเย่ียมรัฐวิสาหกิจเพ่ือส่งเสริมการจัดการด้านความ ปลอดภัยในการทาํ งาน และเลอื กแบบการตรวจเทคนิค/วิชาการ เท่านน้ั ๑๐.๕ เลือกโครงการ 04 โครงการตรวจตามมาตรการเร่งดว่ นในการป้องกนั และควบคุมแก้ไข อบุ ัตเิ หตรุ ้ายแรงงานในสถานประกอบกจิ การประเภทงานก่อสรา้ ง และเลอื กแบบการตรวจเทคนคิ /วชิ าการ เท่านั้น หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรมตรวจและกํากับสถานประกอบกิจการ/หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ขนั้ เทคนิควชิ าการ ให้นาํ รายงานตรวจโครงการ 01 02 และ 04 ของการตรวจขั้นเทคนิควิชาการ มารวมกนั ๑๑. หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทาํ งานเขต ๑๒ เขต ๑๒. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตท่ี ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กิจกรรมที่ ๒ กํากับ ดูแล ให้สถานประกอบกิจการปฏบิ ัติตามกฎหมายและสนับสนุนให้แรงงานมีความ ปลอดภัยและสุขภาพอนามยั ทดี่ ใี นการทาํ งาน งบดาํ เนนิ งาน หมวดค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ รหัส ๓๐๐    ๓๑

คูม่ อื การปฏิบตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ ๔ ตรวจและกาํ กับนติ ิบคุ คลที่ได้รบั ใบอนญุ าต ใหบ้ ริการในการตรวจวัด ตรวจสอบทดสอบ รับรอง ประเมินความเสีย่ ง จัดฝึกอบรมหรอื ใหค้ ําปรึกษา (กภ./ศปข.)  ๑. หลกั การและเหตุผล ปัจจุบันมีหน่วยงานฝึกอบรมที่ได้รับการขึ้นทะเบียนหลายหลักสูตร ได้แก่หลักสูตร การฝึกอบรม เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทํางาน หลักสูตรการอบรมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานของสถานประกอบกิจการ หลกั สูตรหัวหนา้ หน่วยงานความปลอดภัย หลกั สูตรการ ฝกึ อบรมความปลอดภัยในการทํางานในท่ีอับอากาศ หน่วยงานฝึกอบรมที่ได้รับใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรม การดับเพลิงข้ันต้น และฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ดังนั้น การตรวจและกํากับหน่วยงานฝึกอบรม หลักสูตรความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานมีความสําคัญ ดังน้ัน เพ่ือกํากับ ดูแล ให้หน่วยงานฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ปฏิบัติได้ถกู ต้องตาม หลักเกณฑ์ วิธีการท่ีกฎหมายกําหนดไว้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้ที่เก่ียวข้อง จึงต้อง มีการดําเนินการเข้าตรวจสอบการจัดฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าว และส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในสถาน ประกอบกจิ การมากยิ่งข้ึนตอ่ ไป ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือตรวจสอบ กํากับ ดูแล หน่วยงานฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ในการดําเนินการจัดฝึกอบรมให้ปฏิบัติถูกต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมาย กาํ หนด ๒.๒ เพ่ือเป็นการป้องปรามมิให้หน่วยงานฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ปฏิบัติผิดเง่ือนไขและวัตถุประสงค์ของกฎหมายที่มุ่งเน้นให้เกิดความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานในสถานประกอบกจิ การ ๓. แนวทางการดาํ เนนิ การ ๓.๑ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต เข้าไปที่ http://osh.labour.go.th/ระบบe-service เพื่อตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับการแจ้งการดําเนินการฝึกอบรมของหน่วยฝึกอบรมต่าง ๆ ซ่ึงหน่วยฝึกอบรม จะต้องแจง้ การฝกึ อบรมล่วงหนา้ ผ่านระบบ e-service ไมน่ อ้ ยกว่า ๗ วนั ดังน้ี ๑) การฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทํางาน หลักสูตรคณะกรรมการ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ๒) การฝกึ อบรมการดบั เพลิงข้นั ตน้ ๓) การฝกึ อบรมความปลอดภัยในการทาํ งานในทอี่ บั อากาศ ๓.๒ กรณีพบว่ามีหน่วยงานฝึกอบรมเข้าดําเนินการจัดฝึกอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของ ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทาํ งานเขต ทัง้ ส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าค ให้ดาํ เนนิ การ ดงั นี้   ๓๒

คูม่ ือการปฏิบัติงานกจิ กรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑) สั่งพิมพ์กําหนดการฝึกอบรมของแต่ละหน่วย โดยจะปรากฏรายละเอียดท่ีเก่ียวกับ รายชื่อวิทยากร รายช่ือผู้ดูแล แผนท่ีสถานประกอบกิจการที่หน่วยงานฝึกอบรมฯ แจง้ เข้ามาเพือ่ เป็นขอ้ มูลสําหรบั การเข้าตรวจกาํ กบั ณ สถานทฝี่ กึ อบรม ๒) สั่งพิมพ์แบบตรวจตามท่ีกําหนด โดยเข้าไปท่ี http://osh.labour.go.th บริการงาน ความปลอดภัย/แบบตรวจ ๓.๓ หลักเกณฑก์ ารตรวจจะมใี นแบบตรวจ ซึ่งเป็นแบบตรวจตามเกณฑข์ องกฎหมาย ๓.๔ ภายหลังจากการเข้าตรวจกํากับแล้วเสร็จจัดทําบันทึกรายงานพร้อมแนบแบบตรวจ นําเรียน ผูอ้ ํานวยการกองความปลอดภยั แรงงาน ภายใน ๑๕ วนั ๓.๕ สรปุ และรายงานผลการดําเนินงาน ภายในวนั ที่ ๒๘ ของทุกเดือน หมายเหตุ : กรณีมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการตรวจกํากับหน่วยฝึกอบรมสามารถสอบถามข้อมูล เพ่ิมเติมและประสานงานได้ที่กลุ่มงานทะเบียนความปลอดภัยในการทํางาน กองความปลอดภัยแรงงาน โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ – ๓๙, ๐ ๒๔๔๘ ๘๓๓๘ เจ้าหน้าทผ่ี ู้รับผดิ ชอบ ดังนี้ ๑) นางนิภาภรณ์ เมฆทับ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ เบอร์ภายใน ๗๐๙ ๒) นางสุวรรณี ไมลห์ รอื นกั วิชาการแรงงานชํานาญการ เบอร์ภายใน ๗๐๕ ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ หน่วยงานฝึกอบรมท่ีได้รับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน หลักสูตรฝึกอบรม จํานวน (หนว่ ยงาน) เจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยในการทํางาน ๑๒๒ (ประเภท : ประกอบธรุ กจิ จดั ฝกึ อบรม = ๙๖ หน่วยงาน) (ประเภท : จัดอบรมเฉพาะลกู จา้ งตนเอง = ๒๖ หน่วยงาน ) หลักสูตรความปลอดภัยในการทํางานในทีอ่ บั อากาศ ๒๓ หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น และการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ๘๔ (ภาคเอกชนและรฐั วสิ าหกจิ ) หลักสตู รการดับเพลงิ ข้ันต้น และการฝกึ ซอ้ มดับเพลิงและฝกึ ซอ้ มอพยพหนีไฟ ๓๕๑ (ภาคราชการ) หมายเหตุ : ข้อมลู ณ วนั ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ๔.๒ เป้าหมาย หนว่ ยงาน จาํ นวน (ครง้ั ) กองความปลอดภัยแรงงาน ๑๔ ศนู ย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต (ศปข.๑ – ศปข.๑๐) ๓๖ รวม ๕๐   ๓๓

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ หมายเหตุ : ๑) เปา้ หมายที่กาํ หนดเปน็ เปา้ หมายในภาพรวมตามที่ไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณ ๒) เป้าหมายตามแผนงานของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นการกําหนดเป้าหมาย เบื้องต้น ส่วนผลการดําเนินการจริงขึ้นอยู่กับหน่วยฝึกอบรมดําเนินการฝึกในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ความ ปลอดภัยในการทาํ งานเขตและได้เข้าดําเนนิ การตรวจและกํากับ ๓) กรณีหน่วยฝึกอบรมดําเนินการฝึกอบรมนอกเขตจังหวัดที่ต้ังของศูนย์ความปลอดภัยในการ ทํางานเขตท่ีมีระยะทางไกล กลุ่มงานทะเบียนความปลอดภัยในการทํางานอาจจะประสานเป็นหนังสือหรือ ทางโทรศัพท์เพื่อขอความร่วมมือศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต เข้าตรวจหน่วยฝึกอบรมอีกคร้ังหน่ึง แล้วแตก่ รณี ๕. หลกั ฐานอา้ งองิ ๕.๑ แบบตรวจหน่วยฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน หลักสูตรคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ๕.๒ แบบตรวจหนว่ ยงานฝึกอบรมการดับเพลงิ ขั้นต้น ๕.๓ แบบตรวจการฝึกอบรมความปลอดภยั ในการทํางานในท่ีอับอากาศ ๖. การนับผลงาน คร้งั นับจากจาํ นวนครั้งทเี่ ข้าตรวจและกาํ กบั นติ บิ คุ คลท่ีไดร้ ับใบอนุญาต ๗. การบันทกึ ผลงาน ไม่ต้องบันทึกลงระบบคอมพิวเตอร์ On-line ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยให้ จัดทํารายงานตามแบบรายงานที่กองความปลอดภัยแรงงานกําหนด และส่งให้กองความปลอดภัยแรงงาน ภายใน ๑๕ วนั หลังจากดําเนินการแลว้ เสรจ็ และรายงานสรปุ ผลทกุ วันท่ี ๒๘ ของเดอื น ๘. ระบบงาน ไม่มี ๙. โปรแกรมบันทกึ แก้ไขขอ้ มูล ไมมี ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน รายงานผู้อํานวยการกองความปลอดภัยแรงงานตามระบบหนังสือราชการ โดยกลุ่มงานทะเบียน ความปลอดภัยในการทํางานจะเป็นผ้ตู ิดตามและรวบรวมผลการดาํ เนินงาน ๑๑. หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๑๑.๑ กองความปลอดภยั แรงงาน ๑๑.๒ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางานเขต ๑๐ เขต   ๓๔

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๒. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กจิ กรรมที่ ๒ กาํ กับ ดแู ล ให้สถานประกอบกิจการปฏิบตั ิตามกฎหมายและสนบั สนนุ ให้แรงงานมีความ ปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัยที่ดีในการทาํ งาน งบดาํ เนินงาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ รหัส ๓๐๐    ๓๕

คู่มอื การปฏบิ ัติงานกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ี ๕ ประชุมคณะอนกุ รรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ระดบั จังหวดั (สสค.)  ๑. หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๒๔ กําหนดให้มี “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงานเป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน และอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็นกรรมการ กับผู้แทน ฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละแปดคน ผู้ทรงคุณวุฒิอีกห้าคนซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังเป็นกรรมการ และ ขา้ ราชการกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานซ่งึ รัฐมนตรแี ต่งตัง้ เปน็ เลขานุการ ซึ่งกําหนดให้มีคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ระดับจังหวัด ภายใต้แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ : การพฒั นากลไกการบริหารจัดการดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั กลยุทธท์ ี่ ๑ : สร้างกลไกการขับเคลอื่ นระบบการบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้การประสานงานและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานในจงั หวดั เป็นไปในทิศทางเดียวกนั ๒.๒ เพ่ือพัฒนางานดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานในภาพรวม ของประเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓. แนวทางการดําเนินงาน เพ่ือให้การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ในแต่ละจังหวัดเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประสิทธิภาพ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้กําหนด แนวทางในการดําเนินงาน ดังนี้ ๓.๑ จัดประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ระดบั จังหวดั ตามเป้าหมายทก่ี าํ หนดและแนวทางท่กี าํ หนด ๓.๒ สรปุ ประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานผลการดําเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภายในวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ พร้อมแนบรายงานการประชุมส่งให้กองความปลอดภัยแรงงาน เพื่อจักได้ ดาํ เนนิ การในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป   ๓๖

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. กลุม่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กลมุ่ เป้าหมาย อนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ระดับจังหวัด ท่ีแต่งตั้งข้ึนตามอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน ตามพระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔.๒ เปา้ หมาย กิจกรรม หน่วยนบั จาํ นวน จัดประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย คร้งั ๗๖ และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ระดบั จังหวัด อนุกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม คน ๑,๒๑๖ ในการทํางาน ระดับจงั หวัด และเจ้าหนา้ ที่ ๕. หลักฐานอ้างอิง ๕.๑ คําส่ังแต่งต้ังคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ระดับจงั หวดั ๕.๒ หนังสือขออนุมตั ิจดั ประชมุ /หนงั สือเชญิ ประชุม ๕.๓ วาระการประชุม/ทะเบยี นรายช่อื ผูเ้ ข้าประชมุ /รายงานการประชมุ ๕.๔ แบบรายงานผลการดําเนินงานและสถานการณ์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ๖. การนับผลงาน ครง้ั นับจากจาํ นวนครัง้ ท่ีมีการจดั ประชมุ คน นับจากจํานวนอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ระดับจงั หวดั และผ้เู ข้าร่วมประชมุ ในแตล่ ะคร้ัง ๗. การบันทกึ ผลงาน บันทึกผลการดําเนินงานลงในระบบ On-line ของกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบฝึกอบรม ๙. โปรแกรมบนั ทกึ แก้ไขข้อมลู ๙.๑ TRS1I020 บนั ทึกทะเบยี นผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรม (แรงงานกลมุ่ เป้าหมาย) ๙.๒ โดยเลือกรหัสหลักสูตร 00000372 ประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ๙.๓ และบันทึกรายละเอียดให้ถูกต้องครบถ้วนทุกช่อง โดยเฉพาะจํานวนผู้เข้ารับการอบรม ในภาพรวมแยกตามประเภทและผลการดาํ เนินการและค่าใช้จ่าย   ๓๗

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐. โปรแกรมพมิ พร์ ายงาน ๑๐.๑ TRS1R030 รายงานสรปุ ผลการฝกึ อบรม ๑๐.๒ โดยเลือกรหัสหลักสูตร 00000372 ประชุมคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ระดับจังหวดั ๑๑. หน่วยงานรับผดิ ชอบ สาํ นกั งานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัด ๗๖ จังหวัด ๑๒. งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ ๑ สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและแรงงานได้รับสิทธิตามกฎหมาย แรงงาน กิจกรรมที่ ๒ กํากบั ดแู ล ให้สถานประกอบกจิ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและสนับสนุนให้แรงงานมีความ ปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดใี นการทาํ งาน งบดําเนนิ งาน หมวดคา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ รหสั ๓๐๐  งบประมาณที่จดั สรรในกจิ กรรมน้ีสามารถเบกิ จ่ายในการจดั ประชุมคณะอนกุ รรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ระดบั จังหวัด ดงั นี้ ๑. ค่าเบี้ยประชุม ๑.๑ ประธาน คา่ เบ้ยี ประชุม ๑,๒๕๐ บาท ๑.๒ อนุกรรมการ (ตอ่ คน) ค่าเบ้ยี ประชมุ ๑,๐๐๐ บาท ๑.๓ อนุกรรมการและเลขานกุ าร ค่าเบี้ยประชุม ๑,๐๐๐ บาท ๑.๔ อนกุ รรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ คา่ เบ้ยี ประชมุ ๑,๐๐๐ บาท ๒. ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืมสําหรับการจัดประชุมในสถานท่ีราชการ (เบิกจ่ายตามระเบียบ กระทรวงการคลงั ) ๓. กรณีงบประมาณไม่เพียงพอสามารถนํางบประมาณมาจากกิจกรรมการตรวจและกํากับสถาน ประกอบกิจการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจให้ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ขน้ั พ้ืนฐาน มาใช้จา่ ยได้ หมายเหตุ : หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินงานตามกิจกรรมการประชุมคณะอนุกรรมการความ ปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ระดบั จังหวดั สามารถสอบถามขอ้ มูลเพิม่ เตมิ ไดท้ ี่ กลุ่มงานมาตรฐานความปลอดภยั ในการทํางาน กองความปลอดภยั แรงงาน โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ - ๓๙ ตอ่ ๓๐๔, ๓๑๓   ๓๘

คมู่ อื การปฏิบัติงานกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กิจกรรมท่ี ๖ โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยความปลอดภัยแรงงานตามแนวประชารฐั กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภยั ประจาํ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (สสค./สรพ.)  ๑. หลักการและเหตุผล ตามที่รัฐบาลตระหนักถึงความสําคัญของความปลอดภัยในการทํางานและได้ประกาศนโยบาย ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความร่วมมือ กับทุกภาคส่วนในการรณรงค์ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ใหเ้ กิดเป็นวัฒนธรรมความปลอดภยั ในองค์กรอย่างดี โดยเฉพาะในภาคการศึกษาซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการและทักษะด้านต่าง ๆ แกป่ ระชากร ในสถานศึกษานอกจากจะเป็นแหล่งพัฒนาองค์ความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ ประกอบอาชีพหลังจบการศึกษาแล้วภายในสถานศึกษาเองก็ควรจะมีสภาพแวดล้อมที่ดี เหมาะสม และความ ปลอดภัยสําหรับบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา รวมท้ังผู้ปกครอง ซึ่งถ้ามีการจัดพัฒนาระบบการ บริหารจัดการด้านความปลอดภัยและจัดสภาพแวดล้อมท่ีดีอย่างต่อเนื่อง จะทําให้ลดความสูญเสียซ่ึงอาจจะ เกิดข้ึนภายในองค์กรภาคการศึกษาได้เป็นอย่างดี รวมทั้งเป็นจุดเริ่มต้นในการปลูกจิตสํานึกแก่นักเรียน นักศึกษาในชว่ งการศึกษาใหเ้ กิดเป็นวัฒนธรรมดา้ นความปลอดภยั ภายในองคก์ รได้อยา่ งยงั่ ยนื การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในสถานศึกษาภายใต้กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัยและ สุขภาพอนามยั ดี จะประสบผลสําเรจ็ ลงได้จาํ เป็นต้องอาศยั ความรว่ มมือกบั ทกุ ภาคสว่ นและดําเนนิ การตามแนว ประชารัฐ โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เครือเจริญโภคภัณฑ์ และบริษัท เอ็กเซดดี้ ฟริคชั่น แมททีเรียล จํากัด ได้จัดทําบันทึกความร่วมมือขึ้นเพื่อร่วมกันรณรงค์สร้างความตระหนักเรื่องความ ปลอดภัยในการทํางาน สู่เยาวชนสร้างนิสัยความปลอดภัยให้เป็นวัฒนธรรมความปลอดภัยของชาติเนื่องจาก เยาวชนเป็นรากฐานของกาํ ลงั แรงงานในอนาคต ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนในการส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรม เรอ่ื งความปลอดภยั ใหน้ กั เรยี น / นกั ศึกษาในสถานศึกษา ๒.๒ เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างเครือข่ายของการพัฒนาและรณรงค์เร่ืองความปลอดภัย ในสถานศกึ ษา ๒.๓ เพ่ือประสานความร่วมมือในการรณรงค์สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทํางานให้แก่ นกั เรยี น นักศึกษา ซึง่ เป็นบุคลากรกําลงั แรงงานทส่ี ําคัญของชาตใิ นอนาคต ๓. แนวทางการดาํ เนนิ งาน ๓.๑ จัดประชุมคณะทํางานขับเคล่อื นวฒั นธรรมความปลอดภัยสสู่ ถานศกึ ษา   ๓๙

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๒ จัดให้มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้สถานศึกษาเข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายความ ปลอดภัยแรงงานตามแนวประชารัฐ ๓.๓ คณะทํางานตรวจประเมินสถานศึกษาท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ ภมู ภิ าค และกรุงเทพมหานคร ๓.๔ พิธมี อบโลร่ างวลั ดีเด่นสถานศกึ ษาปลอดภยั ๔. กลุ่มเป้าหมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ กล่มุ เปา้ หมาย ไดแ้ ก่ สถานศกึ ษาภาครฐั และภาคเอกชน ต้ังแตร่ ะดบั อนุบาล ถงึ อุดมศึกษา ๔.๒ เป้าหมาย หน่วยงาน จํานวน (แห่ง) สาํ นกั งานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจงั หวดั ๗๖ จังหวัด ๔๒๙ สํานกั งานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้นื ที่ ๑๐ พืน้ ที่ ๔๖ ๔๗๕ รวม ๕. หลักฐานอา้ งองิ ๕.๑ รายชอ่ื สถานศึกษาทไ่ี ด้รบั การเชญิ ชวนและส่งเสรมิ ตามกจิ กรรมดังกลา่ ว ๕.๒ แบบรายงานผลการดําเนินงาน ๖. การนับผลงาน แหง่ นับจากจาํ นวนสถานศกึ ษาทยี่ นื่ ใบสมคั รเข้ารว่ มโครงการ ๗. การบนั ทึกผลงาน บันทกึ ผลการดาํ เนินงานลงในระบบ On-line ของกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๘. ระบบงาน ๘.๑ http://www.labour.go.th/dlpw ๘.๒ ระบบงานวิชาการและสารสนเทศ ๘.๓ งานวิชาการและสารสนเทศ ๙. โปรแกรมบนั ทกึ แก้ไขขอ้ มูล ๙.๑ MIS1I020 บนั ทกึ ผลงานกจิ กรรมสาํ คญั ๙.๒ โดยเลอื กแบบรายงาน 21 งานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย ๙.๓ ในสว่ นของข้อมลู กิจกรรม ๑) กรณสี ง่ เสรมิ สถานศกึ ษาให้เขา้ ร่วมกจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ดี  ให้เลือกรหัสกจิ กรรม 067 สถานศึกษาปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ดี (ส่งเสริม)  และบันทกึ ข้อมลู ในช่องจํานวน แห่ง ๒) กรณสี ถานศึกษาส่งใบสมคั รเข้าร่วมกิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภยั และสขุ ภาพอนามัยดี  ใหเ้ ลือกรหสั กิจกรรม 068 สถานศึกษาปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ดี (สง่ ใบสมคั ร)   ๔๐

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านกจิ กรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓  และบันทึกข้อมูลท้ังช่องจํานวน แห่ง และ คน (คน หมายถึง บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียน/นักศกึ ษา) สุขภาพอนามัยดี ๓) กรณีสถานศึกษาผ่านเกณฑ์การตรวจประเมนิ ตามกิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั และ  ให้เลือกรหัสกจิ กรรม 069 สถานศกึ ษาปลอดภัยและสุขภาพอนามยั ดี (ผ่านเกณฑ์)  และบันทึกข้อมูลทั้งช่องจํานวน แห่ง และ คน (คน หมายถึง บุคลากรทางการ ศึกษา และนกั เรียน/นกั ศึกษา)  พร้อมทง้ั บันทึกขอ้ มูลในสว่ นของรายช่ือผรู้ บั ผิดชอบ/ผู้รายงาน ดว้ ย ๑๐. โปรแกรมพิมพร์ ายงาน ๑๑.๑ MIS1R030 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน ๑๑.๒ จาํ แนกตามกิจกรรม ๑๑.๓ โดยเลอื กประเภทกิจกรรม ๑) กรณีสง่ เสรมิ ใหเ้ ลอื กรหสั 067 สถานศกึ ษาปลอดภัยและสุขภาพอนามยั ดี (สง่ เสรมิ ) ๒) กรณีส่งใบสมัคร ให้เลือกรหัส 068 สถานศึกษาปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี (สง่ ใบสมคั ร) ๓) กรณีผ่านเกณฑ์ ให้เลือกรหัส 069 สถานศึกษาปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี (ผ่านเกณฑ์) ๔) และเลอื กแบบรายงาน 21 งานความปลอดภยั ฯ หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของกิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (รับสมัครและตรวจประเมินสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ) ให้นับผลงานเฉพาะสถานศึกษาท่ีส่ง ใบสมัครเขา้ ร่วมกจิ กรรม (รหสั กิจกรรม 068) เทา่ นน้ั ๑๑. หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ๑๑.๑ สํานักงานสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงานจังหวดั ๑๑.๒ สาํ นักงานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๑๒. งบประมาณ ขอเบิกจากงบประมาณประจําปี ๒๕๖๓ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) กิจกรรมท่ี ๑ ขับเคล่ือนและ ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ งบดําเนินงาน หมวดค่าตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ รหัส ๓๐๐    ๔๑

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ ๗ โครงการสรา้ งการรบั รคู้ วามปลอดภัยและอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบภาคเกษตรเพอ่ื ปรับปรงุ สภาพแวดล้อมการทาํ งานและลดปัจจัยเสีย่ งต่อการสมั ผสั สารเคมีอันตราย เพอ่ื ขับเคลอ่ื นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ของประเทศไทย (Safety Thailand) ให้ครอบคลุมแรงงานทุกกล่มุ ** (T) (ศปข.)  ๑. หลกั การและเหตุผล แรงงานนอกระบบโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมเป็นอีกงานหน่ึงที่แรงงานมีความเส่ียงต่อการเกิด อุบัติเหตุและโรคที่เกิดข้ึนจากการทํางาน เช่น การยกเคลื่อนย้ายวัสดุส่ิงของที่มีนํ้าหนักมาก การทํางานด้วย ท่าทางที่ต้องออกแรงมาก การทํางานในสภาพอากาศท่ีร้อนจัด การใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลงต่าง ๆ รวมทั้ง สถานที่ทํางานและท่ีพักอาศัยของครอบครัวเกษตรกรที่มักเก็บเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ปุ๋ย และยาฆ่าแมลงต่าง ๆ ไว้ในบ้านของเกษตรกร ทําให้สมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะเด็กเล็กในบ้านที่อาจไปสัมผัสสารเคมีเหล่านั้น ทุกวันนี้ มีผู้บริโภคจํานวนมากที่ยังไม่ตระหนักว่าชีวิตได้ถูกคุกคามจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืชและสารเคมีอ่ืน ๆ ท่ีอาจปนเปื้อนมาจากกระบวนการผลิต ซึ่งเม่ือสารเคมีเหล่านี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายอาจเกิดผลกระทบต่อร่างกาย ทําให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา เช่น ผดผ่ืนที่ผิวหนัง อาการวิงเวียน และมึนงงศีรษะ เป็นต้น นอกจากน้ี ยงั มีอาการท่ีไม่ได้แสดงออกมาใหเ้ หน็ ในทันทที ันใด เช่น การทํางานผดิ ปกติของระบบประสาทหรือมะเร็ง จึงไม่ มีใครตระหนักว่าการเจ็บป่วยเหล่านี้มีสาเหตุมาจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืช การที่สารเคมีเหล่านี้ตกค้างอยู่ใน ธรรมชาติจึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร สมาชิกในครอบครัว และผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงกับ พื้นที่ ๆ มีการใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืช นอกจากนี้ ยังส่งผลต่อส่ิงแวดล้อมในชุมชน สิ่งมีชีวติ ในธรรมชาติ แหล่งน้ํา และอาหาร ทั้งน้ี บริษทั ผู้ผลติ สารเคมีกําจัดศตั รูพืชจะตอ้ งจัดใหม้ ีฉลากแสดงวิธีใชส้ ารเคมี ซ่ึงถา้ ใชอ้ ย่างถูกตอ้ ง จะปลอดภยั ผลกระทบท่เี กิดขน้ึ ต่อสุขภาพของผูไ้ ดร้ ับพษิ เข้าส่รู ่างกายจะมกี ารแสดงอาการอยู่ ๒ แบบ คือแบบ เฉียบพลันและแบบเร้ือรัง โดยแบบเฉียบพลันจะเกิดข้ึนเมื่อร่างกายได้รับพิษของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชจํานวน มาก จะแสดงอาการอย่างทันทีทันใด เช่น ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บหน้าอก ปวดกล้ามเน้ือ เหงอื่ ออก มาก ทอ้ งร่วง เป็นตะครวิ หายใจตดิ ขดั มองเห็นไม่ชดั เจน หรืออาจร้ายแรงถึงข้ันเสียชวี ิต ส่วนภยั ร้ายเงียบหรือ เรียกว่า \"การตายผ่อนส่ง” คือแบบเร้ือรัง โดยจะเกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชจํานวนน้อย ต่อเน่ืองเป็นเวลานาน ซ่ึงกว่าจะแสดงอาการอาจใช้เวลาเป็นเดือน เป็นปีภายหลังจากการได้รับสารเคมีกําจัด ศัตรูพชื เชน่ การเปน็ หมนั การเส่ือมสมรรถภาพทางเพศ การเป็นอัมพฤต อัมพาต และมะเร็ง เป็นต้น จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีแนวคิดการปรับปรุงความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในงานเกษตรด้วย รูปแบบ WIND (Work Improvement in Neighbourhood Development) ที่ได้ถือกําเนิดขึ้นท่ี Cantho Province ประเทศเวียดนาม ซ่ึงเป็นผลจากความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง Occupational Health and Environment of Cantho และ Institute for Science of Labour ประเทศญี่ปุ่น และโครงการอบรม WIND ได้ถูกนําไปประยุกต์ใช้ ในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศเวียดนาม โดยได้รับความช่วยเหลือจากองค์การ แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization; ILO), Institute for Science of Labour   ๔๒

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ องค์กร Bread for the World และองค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศเยอรมัน ต่อมา องค์การแรงงานระหว่าง ประเทศไดข้ ยายโครงการ WIND ไปยงั ประเทศตา่ ง ๆ ซง่ึ รวมถึงประเทศไทยดว้ ย ดังน้ันเพื่อเป็นการสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับ สารเคมีอันตรายแก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรและรณรงค์ให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้เกิดความปลอดภัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงในการสัมผัสและโรคที่เกิดจากสารเคมีอันตรายเพื่อความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดีของแรงงานนอกระบบ จึงจัดทําโครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ ชวี ติ แรงงานนอกระบบ กิจกรรมการอบรมสรา้ งการรบั รู้มาตรการเชิงป้องกนั เก่ยี วกบั สารเคมอี นั ตราย ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม ๒.๒ เพื่อรณรงค์ให้แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน ให้เกดิ ความปลอดภยั ๒.๓ เพื่อลดปัญหาความไม่ปลอดภัยและโรคท่ีเกิดจากการสัมผัสสารเคมีอันตรายของแรงงาน นอกระบบในภาคเกษตรกรรม ๓. แนวทางการดาํ เนนิ งาน ๓.๑ กําหนดแรงงานกลุ่มเป้าหมาย โดยพิจารณาแรงงานในภาคเกษตรกรรมท่ีมีการใช้หรือจัดเก็บ สารเคมอี ันตรายเปน็ อันดับแรก ๓.๒ ขออนุมัติโครงการ/ขออนมุ ัติดาํ เนนิ การ/กําหนดการ ๓.๒ กําหนดหัวข้อการอบรมให้เหมาะสมเพ่ือสร้างการรับรู้มาตรการเชิงป้องกันด้านความ ปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายให้แก่แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรม โดยประกอบด้วย หวั ขอ้ การอบรม ดงั น้ี ๑) การจดั เก็บและขนย้ายสารเคมีอันตรายอย่างปลอดภัย ๒) การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมในการทํางานเกย่ี วกับสารเคมอี ันตราย ๓) การปอ้ งกนั อนั ตรายและโรคจากการสัมผัสสารเคมอี ันตราย ๔) การใช้อปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลเกีย่ วกับสารเคมอี นั ตราย ๕) การจัดระบบการทาํ งานเกีย่ วกับสารเคมอี ันตราย ๖) การทาํ งานเก่ียวกบั สารเคมอี ันตรายเพื่อลดผลกระทบกับสงิ่ แวดลอ้ ม ๓.๓ ดําเนินการจัดอบรมตามเป้าหมายที่กําหนด (ในการจัดอบรมสามารถแบ่งจัดเป็นรุ่นได้ ตามความเหมาะสม โดยการจดั อบรมแตล่ ะครง้ั ผเู้ ขา้ รบั การอบรมจํานวน ๕๐ – ๑๐๐ คน ) ๓.๔ การรณรงค์ให้แรงงานนอกระบบปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานตามแนวทางมาตรการ เชงิ ป้องกนั ๓.๕ การสุ่มลงพื้นท่ีเพ่ือแนะนํา ปรับปรุง แก้ไขสภาพแวดล้อมในการทํางานตามแนวทาง มาตรการเชิงปอ้ งกันด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในที่ทํางาน ที่พักอาศยั ชุมชน แก่แรงงานนอกระบบ ในภาคเกษตรกรรม (สามารถดําเนนิ การลงพ้ืนที่เพือ่ รณรงคไ์ ดต้ ลอดปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓)   ๔๓

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. กลมุ่ เป้าหมาย/เปา้ หมาย ๔.๑ แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรกรรมที่มีการใช้สารเคมีอันตราย เช่น เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน ผูน้ าํ ชมุ ชน กล่มุ แมบ่ า้ น กลมุ่ อาชีพ ฯลฯ ๔.๒ เป้าหมาย หน่วยงาน สร้างการรบั รู้ ปรบั ปรงุ สภาพการทาํ งาน (คน) (แห่ง) ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทาํ งาน เขต ๑ ๔๐๐ ๓๕ ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทาํ งาน เขต ๒ ๔๐๐ ๓๕ ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทํางาน เขต ๓ ๔๐๐ ๓๕ ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทํางาน เขต ๔ ๓๘๐ ๓๕ ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทาํ งาน เขต ๕ ๓๘๐ ๓๕ ศูนย์ความปลอดภัยในการทํางาน เขต ๖ ๕๒๐ ๓๕ ศูนย์ความปลอดภัยในการทาํ งาน เขต ๗ ๓๘๐ ๓๕ ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทํางาน เขต ๘ ๓๘๐ ๓๕ ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทํางาน เขต ๙ ๓๘๐ ๓๕ ศูนยค์ วามปลอดภัยในการทํางาน เขต ๑๐ ๓๘๐ ๓๕ ศูนยค์ วามปลอดภัยในการทาํ งาน เขต ๑๑ ๓๐๐ ๓๕ ศูนย์ความปลอดภยั ในการทํางาน เขต ๑๒ ๓๐๐ ๓๕ รวม ๔,๖๐๐ ๔๒๐ ๕. หลักฐานการอา้ งอิง ๕.๑ หนงั สือขออนมุ ัตโิ ครงการ ๕.๒ หนังสอื ขออนมุ ัติดําเนินการ/กําหนดการ ๕.๓ หนังสือเชิญแรงงานนอกระบบเข้ารับการอบรม/ทะเบียนรายช่ือผู้เข้ารับการอบรม/เอกสาร ประกอบการบรรยาย ๕.๔ ผลการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานตามแนวทางมาตรการเชิงป้องกันด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานของแรงงานนอกระบบ/ภาพถ่าย ๕.๕ สรปุ /ประเมินผล ๖. การนบั ผลงาน คน นบั จากจาํ นวนแรงงานนอกระบบท่ีเขา้ รับการอบรม (นาํ สง่ ผลผลิต) แหง่ นับจากจํานวน ท่ีทํางาน ท่ีพักอาศัย ของแรงงานนอกระบบท่ีเข้าร่วมอบรม หรือแรงงาน ท่มี ีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางาน ๗. การบันทกึ ผลงาน บันทกึ ผลการดาํ เนนิ งานลงในระบบ On-line ของกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน   ๔๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook