Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล

Published by tiwa, 2020-05-27 04:32:55

Description: สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล

Keywords: สถิติเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square Test) การนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู จานวนและร้อยละ ของนักศึกษาที่มี BMI ระดบั ต่างๆ จาแนกตามเพศ 101

การวิเคราะหไ์ คสแควร์ (Chi-Square Test) วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ระดบั ดัชนีมวลกายของนกั ศึกษาพยาบาล 102

ของแถมจา้ ! สถิติสาหรบั การวิจยั ทางระบาดวิทยา (เฉพาะที่พบบ่อย) 103

สถิติสาหรบั การวิจยั ทางระบาดวิทยา (ที่พบบอ่ ย) การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 104

การทดสอบความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปร อตั ราส่วนความเสี่ยง (Risk ratio, RR) เปน็ สถิตทิ ใ่ี ชบ้ อกขนาดความแตกต่างของอตั ราการเกิดโรคใน กลุ่มท่ไี ด้รบั ปจั จยั เสีย่ ง ว่าเป็นกีเ่ ท่าของ กลุ่มท่ไี ม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง RR = อัตราการเกิดโรคในกลมุ่ ทีไ่ ด้รบั ปัจจยั เสีย่ ง อตั ราการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่ได้รับปจั จยั เส่ยี ง การแปลผล คือ RR > 1 กลุ่มไดร้ บั ปัจจัยเสีย่ งเสีย่ งกว่า RR < 1 กลุ่มไม่ได้รับปัจจยั เสีย่ งเสีย่ งกว่า RR = 1 ทง้ั กลุ่มได้หรือไม่ได้รับปจั จยั เสี่ยงเสี่ยงเทา่ กนั 105

การทดสอบความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร อัตราส่วนความเสี่ยง (Risk ratio, RR) ตัวอย่าง ความสมั พันธ์ระหว่างการสูบบหุ รี่กบั การเกดิ มะเรง็ ปอด ในการเกบ็ ข้อมูล ระยะยาว (longitudinal or cohort study) อาเภอเมือง ปี พ.ศ. 2551-2561 อัตราส่วนความเสี่ยงของการเกดิ มะเรง็ ปอดในคนทสี่ ูบบุหรเี่ ปน็ 6 เท่าของคนไม่สบู บุหรี่ 106

การทดสอบความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปร อตั ราส่วนความเสี่ยง (Risk ratio, RR) - ข้อจากัด • การคานวณ RR จะต้องทราบต้ังแต่เริม่ ต้นว่ามีคนจานวนเท่าไรที่ได้รบั หรือไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง แล้วติดตามคนกลุ่มดังกล่าวเพื่อดูว่าเกิดโรค เท่าไร จึงจะสามารถคานวณอตั ราการเกิดโรคทีแ่ ท้จริงได้ ส่งผลให้ – RR ใช้ได้กับข้อมูลจากการศึกษาแบบมีกลุ่มติดตามผล (cohort study) หรือการทดลองเทา่ น้ัน – ข้อมูลที่ไม่สามารถหาอัตราการเกิดโรคที่แท้จริงได้ จะหาขนาด ความสัมพนั ธ์ด้วย Odds ratio จากสดั ส่วนของการเกิดโรค 107

การทดสอบความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปร อตั ราส่วนของการเกิดโรค (Odds Ratio, OR) เปน็ การเปรยี บเทยี บอัตราส่วนของการเปน็ โรคและไม่เป็นโรคในกลุ่มทไ่ี ด้รับปจั จัยเสีย่ ง และไม่ได้รบั ปัจจัยเสีย่ ง OR = อัตราสว่ นการเปน็ โรคและไมเ่ ปน็ โรคในกล่มุ ที่ไดร้ ับปัจจัยเสีย่ ง อตั ราสว่ นการเป็นโรคและไมเ่ ปน็ โรคในกลุ่มทีไ่ มไ่ ดร้ บั ปจั จยั เสย่ี ง การแปลผล คือ OR > 1 โอกาสเป็นโรคในกลุ่มทีไ่ ดร้ บั ปัจจัยเสี่ยงสงู กว่า OR < 1 โอกาสเปน็ โรคในกลมุ่ ที่ไมไ่ ด้รบั ปจั จยั เสีย่ งสูงกว่า OR = 1 ได้หรือไม่ได้รบั ปัจจัยเสี่ยงโอกาสเป็นโรคเท่ากัน 108

การทดสอบความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปร อตั ราสว่ นของการเกิดโรค (Odds Ratio, OR) ตวั อยา่ ง ผลการสอบสวนการเกิดโรคอาหารเป็นพิษ ณ โรงเรียนแห่งหนงึ่ ในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ในเดือนกนั ยายน 2561 โอกาสของการเกิดโรคอาหารเปน็ พิษในคนท่กี ินลอดช่องกะทิสูงเป็น 9.3 เทา่ ของคนที่ไม่กินลอดชอ่ งกะทิ 109

การทดสอบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร อัตราสว่ นของการเกิดโรค (Odds Ratio, OR)- ความสัมพันธร์ ะหว่าง RR กับ OR • กรณีที่อัตราการเกิดโรคตา่ สดั ส่วนการเป็นโรค (RR) จะมีค่าใกล้เคียง กบั ค่าอตั ราสว่ นของการเปน็ โรค (OR) – ค่า RR ที่คานวณได้จะมีค่าเท่ากับค่า OR – กรณีที่อัตราการเกิดโรคต่าจึงสามารถแปรผล OR ได้เหมือนกัน RR 110

การทดสอบความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปร อตั ราชุก (Prevalence Ratio, PR) เป็นการเปรยี บเทยี บอัตราส่วนของการเปน็ โรคและไม่เป็นโรคใน กลุ่มท่ไี ด้รับปจั จัยเสีย่ ง และไม่ได้รบั ปัจจยั เสีย่ ง OR = อตั ราส่วนการเปน็ โรคและไม่เป็นโรคในกลุ่มที่ได้รบั ปจั จัยเสีย่ ง อตั ราสว่ นการเป็นโรคและไมเ่ ปน็ โรคในกลุม่ ที่ไมไ่ ดร้ บั ปัจจยั เส่ยี ง การแปลผล คือ OR > 1 โอกาสเปน็ โรคในกลุ่มที่ไดร้ ับปจั จยั เสี่ยงสงู กว่า OR < 1 โอกาสเปน็ โรคในกลมุ่ ทีไ่ มไ่ ด้รับปจั จัยเสีย่ งสูงกว่า OR = 1 ได้หรือไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงโอกาสเป็นโรคเท่ากนั 111

การทดสอบความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปร อตั ราชกุ (Prevalence Ratio, PR)+ OR ตัวอยา่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างการกินเค็มและความดนั โลหิตสงู การสารวจ (survey) หมู่บ้านแห่งหนึง่ ในปี พ.ศ. 2561 อัตราชกุ ของการเกิดโรคความดันโลหิตสูงในคนทก่ี ิน เค็มสูงเป็น 3 เทา่ ของคนทีไ่ มก่ ินเค็ม โอกาสของการเกิดโรคความดันโลหิตสูงในคนทก่ี ินเคม็ สงู เป็น 112 3.86 เท่า ของคนทีไ่ ม่กินเคม็

-THANK YOU- -THANK YOU- -THANK YOU- -THANK YOU- 113


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook