Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by p.pasah.aa, 2020-04-27 00:05:42

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

การขบั เคล่ือนชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวตั วถิ ีส่คู วามยงั่ ยนื เจ้าของความรู้ นางสาวพาอีซ๊ะ สาเมา๊ ะ ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ สังกัดสานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอรือเสาะ

แบบบันทกึ องคค์ วามรู้รายบคุ คล 1. ช่ือองค์ความรู้ การขับเคล่ือนชมุ ชนท่องเท่ยี ว OTOP นวัตวถิ ีสูค่ วามยั่งยนื 2. ชอ่ื เจา้ ของความรู้ นางสาวพาอีซ๊ะ สาเม๊าะ ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ 3. องค์ความรู้ท่บี ง่ ชี้ (เลือกได้จานวน 1 หมวด)  หมวดที่ 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้  หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตวั อย่างสมดลุ  หมวดที่ 3 เสรมิ สรา้ งทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภบิ าล  หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองค์กรใหม้ ีขดี สมรรถนะสูง 4. ทมี่ าและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอยี ด) จากนโยบายของรัฐบาลและกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ท่ีต้องการมุ่งเน้นส่งเสริมให้ ชุมชนฐานรากมีองค์ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และความเข้มแข็งในการพัฒนาชุมชนของตนเองเพื่อสร้าง รายได้ และเศรษฐกจิ ของชมุ ชนใหเ้ ติบโตอย่างย่ังยืน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงจาเป็นต้องมีการ เปล่ียนผ่านยุคการผลักดันขายสินค้า OTOP ออกจากชุมชนกระจายไปสู่ผู้ซื้อในตลาดต่างๆ มาเป็นการขาย สินค้าอยู่ในชุมชนผ่านกระบวนการส่งเสริมให้เกิดการท่องเท่ียวชุมชน โดยใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วฒั นธรรม ความคดิ สร้างสรรค์ และความรว่ มมือของสมาชิกในชุมชน สร้างคุณค่าความประทับใจในสินค้าและ บริการ เพื่อให้นักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมเยือนเต็มใจในการใช้จ่ายเงินซ้ือสินค้า บริการ และ กิจกรรมต่างๆ ของชุมชน อันจะนาไปสกู่ ารกระจายรายได้ให้กับสมาชิกในชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเป็นการ พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากอย่างแทจ้ รงิ โครงการชมุ ชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี มีนโยบายลดความเหล่ือมล้าของสังคมท่ีมุ่งสร้างรายได้ และ ความเจริญ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้รับผิดชอบหลักส่งเสริม ดาเนนิ งาน OTOP โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยกระดับผลิตภัณฑ์ และพัฒนาช่องทางการตลาดที่หลากหลาย เพื่อให้ขายสินค้าได้ อีกทั้งยังมุ่งปรับตัวสู่การค้าแบบสากล โดยต้องมีการเปลี่ยนผ่านยุคการผลักดันขายสินค้า OTOP ออกจากชุมชน สู่รายได้ตามความต้องการ (Demand Driven Local Economy) โดยการจาหน่าย สินค้าท่ีอยู่ในชุมชนจากการท่องเที่ยว มีการใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ แปลงเป็น รายได้ รวมทั้งทาให้มีคุณค่าเพียงพอ เพ่ือให้นักท่องเท่ียวเข้ามาเยี่ยมเยือน และใช้จ่ายเงินในทุก กิจกรรมของชมุ ชน ส่งผลใหเ้ กดิ การกระจายรายไดอ้ ยู่กบั คนในชมุ ชนโดยรอบ เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน และเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยมีเป้าหมายให้ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพ มีรายได้ เพิ่มข้ึน ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยเชื่อมโยงชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กับเส้นทางการ ท่องเท่ียว ก่อให้เกิดรายได้ท่ีกระจายไปสู่ผู้ประกอบการกลุ่มต่างๆ ในชุมชน และประชาชนเกิดการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่ม Quadrant D เพิ่มข้ึน ให้เป็นเคร่ืองมือในการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (Strength with in) และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งอย่างแท้จริง เพ่ือสร้างรอยยิ้ม คืนความสุข เพอ่ื คนไทยทุกคน /5. รูปแบบ…

-2- 5. รปู แบบ กระบวนการ หรือลาดับขัน้ ตอน (อธิบายโดยละเอียด) (คะแนนเตม็ 15 คะแนน) ๑. ศกึ ษานโยบาย แนวทางการดาเนินงานหมูบ่ ้าน ชมุ ชนท่องเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี ๒. แตง่ ตง้ั คณะทางานขับเคลื่อน ระดับหมบู่ ้าน ระดบั ตาบล และระดบั อาเภอ ๓ สร้างความร้คู วามเข้าใจแก่กลไกและภาคีขบั เคล่ือน ๔. จดั ทาแผนบรู ณาการ ขบั เคลอื่ น 3 ระดับ ไดแ้ ก่ - ตน้ ทาง พฒั นาแหลง่ ท่องเที่ยวและบคุ ลากรทีเ่ กย่ี วข้อง - กลางทาง พัฒนาผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งทุนของกลุ่มอาชีพและ ผปู้ ระกอบการชมุ ชน - ปลายทาง เชอ่ื มการท่องเทย่ี วแอ่งใหญ่ และการตลาดชุมชนภายในอาเภอ ๕. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจแกค่ ณะกรรมการหมบู ้านชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวตั วิถี ๖. ค้นหาศักยภาพชุมชน เสนห่ ช์ มุ ชน แหลง่ ท่องเท่ยี ว ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน ๗. ปรบั ภูมิทัศน์ พัฒนาทักษะการเลา่ เร่ือง การแสดง พฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน ๘. จัดทาข้อมูลแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วระดบั อาเภอ ๙. พฒั นาการบรกิ าร เพอ่ื สนับสนนุ การทอ่ งเทีย่ วชมุ ชน ๑๐. ประสานภาคี ชมรมการทอ่ งเทีย่ ว ผู้ประกอบการทอ่ งเท่ียวเช่อื มโยงนักท่องเที่ยวสู่ชมุ ชน ๑๑. คัดเลือกอาหารเอกลักษณ์และสุดยอดผลิตภัณฑ์เด่น ของฝากของที่ระลึก จัดจาหน่ายในจุดที่ สาคัญ เช่น จดุ check in จุด check out ๑๒. สร้างการรบั รแู้ ละสรา้ งความยัง่ ยืน - สรุปบทเรียน จัดทา Best Practice Model การขบั เคลื่อน - เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ ขยายผล สูช่ ุมชนอนื่ - ศึกษาปญั หาอปุ สรรคและผลกระทบ รว่ มหาทางแก้ไข จดั การผลประโยชน์ 6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน (อธบิ ายโดยละเอียด) (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) ประเด็นสาคัญของแนวคิด OTOP นวัตวิถี คือ ควรทาอย่างไรที่จะให้สมาชิกชุมชนได้เรียนรู้หลัก วิชาการที่เรียบง่าย แต่มีความทันสมัยสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้กับชุมชนของตนเองได้จนเห็นผลเป็น รูปธรรม และสมาชกิ ชมุ ชนสามารถที่จะมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ แก้ไข ปญั หา พัฒนาชุมชนของ ตนเองได้ด้วยความเข้าใจ จึงขอนาเสนอกรอบแนวคิด “SMALL” เป็นเครื่องมือสาคัญท่ีใช้ในการประยุกต์ใช้ แนวคิดการตลาดท่องเที่ยวชุมชนสู่การเป็น OTOP นวัตวิถีท่ีย่ังยืน ซึ่งมีความหมายของศัพท์ที่แปลว่า “เล็ก” กล่าวคือ สามารถทาเรอ่ื งใหญใ่ ห้เปน็ เรอื่ งเล็กได้ โดยต้องอาศัยองค์ประกอบ ดงั นี้ S : Story คือ เรอ่ื งเลา่ ชมุ ชนตอ้ งมีเร่อื งเลา่ ในตานาน หรือ สรา้ งสรรคเ์ ร่อื งราวข้ึนใหม่จากบริบทของ ชมุ ชน เชน่ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สถานท่สี าคญั ของชุมชน สินค้าหัตถกรรม กลุ่มอาชีพ และอ่ืนๆ ที่เป็น ความภาคภูมิใจของสมาชิกชุมชน มีนักเล่าเรื่องของชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ท่ีสามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ของชมุ ชนไดอ้ ย่างนา่ สนใจและเปน็ เสน่หข์ องชมุ ชน /M : Map คือ…

-3- M : Map คือ แผนที่/แผนผัง การจัดวางแผนผังกิจกรรมสาหรับนักท่องเท่ียวให้กระจายไปภายใน พ้ืนท่ีส่วนต่างๆ ท่ีสาคัญของชุมชน เพ่ือให้ผู้มาเยือนได้มีโอกาสสัมผัสวิถีชีวิตของชุมชนท่ีจัดแสดงขายสินค้า บริการ ผ่านประสบการณ์จากประสาทสัมผัสท้ังห้า ได้แก่ ตา หู จมูก ล้ิน กาย จนเกิดความประทับใจและใช้ เวลาในการท่องเท่ียวอยู่กับชุมชนให้นานที่สุด การจัดสร้างพื้นที่สาธารณะสาหรับอานวยความสะดวกแก่ผู้มา เยอื น เช่น ที่จอดรถ ห้องสุขา พ้ืนที่น่ังพัก ศูนย์อาหาร พื้นท่ีกิจกรรมการแสดง รวมถึงการออกแบบจัดทาป้าย สาคญั ตา่ งๆ ภายในพื้นที่แหล่งทอ่ งเที่ยวของชมุ ชน A : Activity คอื กิจกรรม กิจกรรมการท่องเท่ียวระดับชุมชน ที่สร้างสรรค์ข้ึนมาเพ่ือให้นักท่องเที่ยว ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีเสน่ห์ดึงดูด และมีคุณค่าเพียงพอให้นักท่องเท่ียวเกิดความประทับใจ อยาก เขา้ มาเย่ยี มเยอื นและใช้จา่ ยเงนิ ในทกุ กิจกรรมของชมุ ชน L : Landmark คอื หลักเขต/จุดเช็คอิน กาหนดจุดพ้ืนที่สร้างสรรค์ตกแต่งพ้ืนท่ีให้เป็นพ้ืนที่สาหรับ ถ่ายรปู และจัดทา Facebook, Fanpage, Google Map เพ่ือให้ผู้มาเย่ียมเยือนได้โพสต์ แชร์ ความประทับใจ ออกไปสกู่ ลุ่มเพื่อนและสาธารณะ เพอื่ ช่วยประชาสมั พนั ธก์ ารท่องเทีย่ วของชุมชนใหเ้ ปน็ ท่รี ้จู ักอยา่ งแพร่หลาย L : Livable คือ น่าอยู่ การทาให้หมู่บ้านมีสิ่งแวดล้อมท่ีดี ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีและมี ความสุข มรี ายได้เล้ยี งตนเองอย่างเพยี งพอ และสรา้ งความประทับใจใหน้ ักทอ่ งเที่ยวอยากมาเยือนอกี ครั้ง 7. ปญั หาที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอียด) (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) ปัญหาท่พี บ การจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ OTOP เพียงอย่างเดียว จะทาให้รายได้ไปตกอยู่แก่ผู้ประกอบการ คนเดียว หรือกลุ่มเล็กๆ ไม่กระจายถึงประชาชนกลุ่มใหญ่ในชุมชนอย่างแท้จริง ทาให้การพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนฐานราก ไมป่ ระสบผลสัมฤทธ์เิ ทา่ ท่คี วร แนวทางการแกไ้ ขปัญหา การนาแนวทางการดาเนินโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีมาใช้ โดย ส่งเสริมให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และก่อให้เกิดรายได้ผ่านกระบวนการท่องเที่ยวในชุมชน ที่ดึงเอา นักท่องเท่ียวจากภายนอกให้เข้าไปเยี่ยมเยือนเลือกซื้อสินค้าและใช้บริการต่างๆ ในหมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชน ซ่ึงชุมชนต้องมีการพัฒนาตนเองบนพ้ืนฐานอัตลักษณ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่ โดดเด่น โดยยังมีระบบในการดูแลรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน มีการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นสู่ประชาชนในชุมชน เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน รวมท้ังมกี ารเชอ่ื มโยง เสน้ ทางทอ่ งเท่ียวระดับชมุ ชน ท่ีมีเสน่ห์ดึงดดู และมีคณุ คา่ เพยี งพอให้นักท่องเที่ยวเข้ามา เยี่ยมเยือนและใช้จ่ายเงินในทุกกิจกรรมของชุมชน ซึ่งรายได้จะกระจายอยู่กับคนในชุมชน เป็นการสร้างความ เขม้ แข็งให้กบั ชมุ ชน และเปน็ การพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากอย่างแทจ้ รงิ 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) องค์ความรใู้ นการขับเคล่ือนหมู่บา้ น OTOP นวตั วิถีสู่การพัฒนาที่ย่งั ยืน เกดิ ประโยชน์ ดังนี้ ๑. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนหมู่บ้าน OTOP นวัตวิถี ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน สามารถนาไป ประกอบเป็นแนวทางการขับเคลอ่ื นหมู่บา้ น OTOP นวัตวิถีตอ่ ไปได้ ๒. หมู่บ้านชุมชนข้างเคียงสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน เป็นแบบอย่างการพัฒนา ชุมชนทอ่ งเท่ียวอ่ืนๆ ได้ดาเนินงานตามอยา่ งมที ศิ ทางทีเ่ หมาะสม

สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอรอื เสาะ ถนนรอื เสาะสนองกิจ ตาบลรอื เสาะออก อาเภอรอื เสาะ จงั หวดั นราธิวาส 96150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook