Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทดสอบดิน

ทดสอบดิน

Published by audthawit3543, 2019-09-18 03:08:23

Description: ทดสอบดิน

Search

Read the Text Version

งบวจิ ัย สกว. ปง บประมาณ 2547-2548 RUMTT, RMUTR, KMUTT., Copyrigth2006 คมู ือการทดลอง เลม ที่ 1 Laboratory Manual No.1 คมู อื การทดสอบทางปฐพกี ลศาสตร Soil Mechanics Laboratory CivilLabPro Version 1.0 โครงการพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอรส ําหรับงานปฏบิ ัตกิ ารทดสอบวสั ดทุ างดา นวศิ วกรรมโยธา Development of Computer Programming for Civil Engineering Testing in Laboratory Project

งบประมาณการวจิ ยั ปง บประมาณ 2547-2548 สํานกั งานกองทนุ การวิจยั แหงชาติ (สกว.) ทป่ี รึกษาโครงงานวิจัย นายวชิ า สธุ าสิส (Mr.Wicha Sutasit) ผจู ัดการบรษิ ทั วิสแลนด จาํ กดั นายสมศักด์ิ คําปลิว (Mr.Somsak Kampliew) ผูชวยผอู ํานวยการฝา ยวชิ าการ สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาเขตอเุ ทนถวาย คณะผจู ัดทาํ รศ.สุกิจ นามพิชญ (Ass.Proff.Sukij Nampich) รองคณบดีฝา ยวจิ ัยและพฒั นาคณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม ศนู ยกลางสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล นายชศู ักด์ิ ครี รี ัตน (Mr.Chusak Kererat) หวั หนา สาขาเทคโนโลยีโยธา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวล นายเอกรัตน รวยรวย (Mr.Ekarut Ruayruay) อาจารยประจําภาควชิ าครุศาสตรโ ยธา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี นายศภุ สิทธิ พงศศ ิวะสถติ ย (Mr.Supasit Pongsiwasathit) อาจารยป ระจําภาควชิ าครศุ าสตรโ ยธา ศูนยกลางสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล นายสุธี ปย ะพิพฒั น (Mr.Suthee Piyapipat) หัวหนาภาควิชาครศุ าสตรโยธา ศนู ยกลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จดั พมิ พเมอ่ื 29 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2549

สารบญั หนา S01: การทดสอบหาปริมาณความชนื้ และหนวยน้าํ หนักในดนิ 1-15 S02: การทดสอบการหาคา ความถวงจําเพาะของเมด็ ดนิ 16-31 S03: การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ 32-50 S04: การทดสอบหากาํ ลังแบกทานของดินในสนามแบบหยั่งเบา 51-65 S05: การทดสอบหาขนาดของเมด็ ดนิ โดยใชตะแกรงมาตรฐาน 66-79 S06: การทดสอบการหาขนาดเมด็ ดินโดยไฮโดรมิเตอร 80-104 S07: การทดสอบหาขดี จาํ กดั ของอตั เตอรเบอรก 105-129 S08: การทดสอบหาคาสมั ประสิทธิ์การซึมผา น 130-150 S09: การทดสอบการบดอดั ดิน 151-170 S10: การทดสอบหาคา ซ.ี บี.อาร 171-197 S11: การทดสอบการหาคาความหนาแนนของดินในสนามโดยวิธกี รวยทราย 198-217 S12: การทดสอบการยุบอดั ตวั คายนาํ้ 218-261 S13: การทดสอบแรงเฉือนแบบโดยตรง 262-299 S14: การทดสอบแรงเฉือนแบบไมถูกจาํ กดั 300-326 S15: การทดสอบหาคากาํ ลังอัดของดินแบบสามแกน 327-362

1การทดลองที่ การทดสอบหาปริมาณความชืน้ และหนว ยนํา้ หนกั ในดนิ Determination of Water Content and Unit Weight ทฤษฎีและหลักการ มวลดินประกอบดวยสวนท่ีเปนเม็ดดินหรือมวลของแข็ง (Solid) ซึ่งเปนอนุภาคของแร (Mineral Particles) และอินทรียสาร โดยอนุภาคมีรูปราง 3 มิติ มีผลทําใหเกิดชองวางระหวางเม็ดดิน (Void) ภายในชอ งวางจะบรรจดุ วยมวลของนาํ้ (Water) และมวลของอากาศ (Air) ซ่ึงจะเรยี กวาดินชื้นหรือดิน เปยก (Wet Soil) บางสภาวะชองวางระหวางเม็ดดินอาจมีเฉพาะมวลของนํ้าจะเรียกวาสภาวะอิ่มตัว (Saturation) หรืออาจมีเฉพาะมวลของอากาศจะเรียกวาอยูในสภาพดินแหง (Dry Soil) การหา ปริมาณความชนื้ ในมวลดนิ (Water Content, w) คือ การหาอัตราสวนระหวางมวลหรือนํ้าหนักของน้ํา ตอมวลหรือนํ้าหนักของเม็ดดินที่มีอยูในมวลดินวิธีการทดสอบหาปริมาณความชื้นในมวลดินจะมีวีธี การทดสอบอยูหลายวิธีดวยกัน ดังน้ี • การคาํ นวณหาปรมิ าณความชน้ื ในดนิ โดยวธิ ีตอู บธรรมดา (Conventional Oven – Method) • การคํานวณหาปรมิ าณความช้ืนในดินโดยวธิ ตี อู บไมโครเวฟ (Microwave Oven – Method) • การคํานวณหาปรมิ าณความชน้ื ในดนิ โดยใชแ คลเซย่ี มคาไบคเ ปน ตัวทาํ ความชน้ื (Calcium Carbide Gas Moisture Tester) คานํ้าหนักรวมตอหนวยปริมาตร (Total Unit Weight) เปนคุณสมบัติสําคัญสําหรับการคํานวณหาคา หนวยแรงกดทับของชั้นดินตามธรรมชาติท่ีความลึกตาง ๆ ซ่ึงเปนคาคงตัวท่ีเปนตัวแปรในสูตรการ คํานวณตาง ๆ เชน การคํานวณคานํ้าหนักบรรทุกของฐานราก การคํานวณการทรุดตัวของดิน เปน ตน การทดสอบหาคานํ้าหนักรวมตอหนวยปริมาตร โดยทั่วไปจะจํากัดเฉพาะดินเหนียว ที่สามารถต้ัง รูปทรงได ตัวอยางที่ทดสอบตองเปนตัวอยางดินคงสภาพ ซ่ึงเปนขอจํากัดท่ีไมสามารถทดสอบกับ

Soil Mechanics Laboratory 2 ตัวอยางทราย - กรวดไดเพราะไมส ามารถเก็บตวั อยา งแบบคงสภาพได (การเก็บตัวอยางดว ยกระบอก บางโดยท่ัวไปถือวา ตัวอยางจะถูกรบกวนไปบางแลว ) อยางไรกต็ ามในบางกรณีท่มี ีความจําเปน จะตอ ง ได คา นา้ํ หนักรวมตอหนวยปรมิ าตรของดนิ สามารถทําไดห ลายวิธี คอื • วิธีใชวงแหวนตัวอยาง (Sample Ring) มีขอดีท่ีทดสอบไดสะดวก รวดเร็ว ใชตัวอยาง ดินนอย ซึ่งจะเปนตัวอยางการทดสอบในบทน้ี แตอาจจะไมเหมาะกับดินที่มีทรายมี กรวดปน • วธิ ีใชว ัดปรมิ าตรดินในกระบอก เหมาะสําหรับตวั อยางดินท่แี ขง็ มาก ไมส ามารถดนั ตัวอยางดนิ ออกจากกระบอกได และดนิ ทมี่ ีกรวด – ทรายผสม เม่ือดนั ตวั อยา งดนิ ออก มาแลว ดนิ อาจจะไมทรงตวั • วิธีใชการหาปริมาตรของดินดวยการแทนที่นํ้าหรือปรอท เหมาะสําหรับดินเหนียวท่ีมี สัมประสิทธก์ิ ารซมึ ผานต่ําและไมซ มึ ซับน้าํ เขา ไปในตวั อยางในระยะเวลาสั้น ๆ สามารถ ใชว ิธีแทนท่นี ํ้าได สวนดินทแ่ี หง หรือแตกงา ยควรใชว ธิ ีแทนท่ีดว ยปรอท วธิ ีน้ีสามารถใช กบั ตัวอยางดินทีไ่ มเปน รปู ทรงท่ีแนนอน วัตถุประสงคของการทดสอบ • เพื่อทดสอบหาคา ปรมิ าณความชน้ื ตามธรรมชาตใิ นมวลดนิ โดยวธิ ีตอู บธรรมดา • เพอ่ื ทดสอบหาคา หนว ยน้ําหนกั รวม( Total Unit Weight ) ของตัวอยางดนิ เหนยี วคงสภาพ (Undisturbed Sample) มาตรฐานท่ใี ชใ นการทดสอบ • ASTM D 2216 - 98 Test Method for Laboratory Determination of Water (Moisture) Content of Soil and rock by mass • ASTM D 4718 – 87 Practice for Correction of Unit Wright and Water Content for Soils Containing Oversize Particles

Soil Mechanics Laboratory 3 อปุ กรณแ ละเครื่องมือ อปุ กรณแ ละเคร่ืองมอื สาํ หรับการทดสอบหาปริมาณความช้ืนในดิน อปุ กรณและเครื่องมือสาํ หรับการทดสอบหาหนว ยนา้ํ หนักรวมตอหนว ยปริมาตร

Soil Mechanics Laboratory 4 อปุ กรณแ ละเคร่ืองมอื ทีจ่ ะใชในการทดสอบการหาปรมิ าณความชื้นประกอบดว ย 1) ตูอบ ( Drying Oven ) ท่สี ามารถควบคมุ อณุ หภมู ิใหค งท่ไี ดท ี่ 105 ± 5 องศา เซลเซยี ส 2) กระปองเกบ็ ตัวอยางดิน ( Container ) กระปอ งเกบ็ ตวั อยา งดิน ตูอบ อุปกรณแ ละเครอื่ งมอื ท่ีจะใชใ นการทดสอบการหาหนวยน้าํ หนักประกอบดว ย 1) วงแหวนตัวอยาง (Sample Ring) 2) เล่ือยเสน ลวด (Wire Saw) วงแหวนตวั อยาง เลือ่ ยเสนลวด

Soil Mechanics Laboratory 5 อุปกรณและเครอ่ื งมอื ท่ใี ชทวั่ ไป 1) เคร่อื งชง่ั ( Balance ) ชนดิ อา นไดล ะเอยี ด 0.01 กรัม 2) เวอรเนยี ร (Vernire) 3) จารบีซลิ ิโคน (Silicone Grease) หรือจารบีธรรมดา การเตรยี มตวั อยา งและขั้นตอนการทดสอบ ขัน้ ตอนการทดสอบหาปรมิ าณความชน้ื ข้ันตอนที่ 1 ทําความสะอาด และเช็ดกระปองเก็บตัวอยางดินพรอมฝาปดใหแหง แลวนํากระปองเก็บ ตวั อยา งดนิ พรอมฝาปด ไปชงั่ น้าํ หนกั บันทึกผลน้าํ หนกั กระปองท่ีได

Soil Mechanics Laboratory 6 ขั้นตอนท่ี 2 เลือกตัวอยางดินที่จะทําการทดลองอยางนอย 3 – 5 ตัวอยาง บรรจุลงในกระปองเก็บ ตวั อยางแลวปดฝาทันที นําไปช่ังนํ้าหนัก (ควรใหนํ้าหนักของแตละตัวอยางมีความใกลเคียง กนั และไมค วรนอยกวา 100 กรมั ) บันทกึ ผลนาํ้ หนกั กระปองกับน้ําหนกั ดินเปยกที่ได ขั้นตอนที่ 3 นํากระปอ งเก็บตวั อยางดินเขาตอู บ โดยนาํ ฝากระปองวางไวใตกระปอ งกอน และใชอุณหภูมิ ในการอบท่ี 105 ± 5 Dc อยางนอย 16 ชั่วโมง หรือจนกระท่ังน้ําหนักของดนิ ไม เปลย่ี นแปลง

Soil Mechanics Laboratory 7 ขั้นตอนท่ี 4 นํากระปองเก็บตัวอยางดินออกจากตูอบ แลวนําฝากระปองมาปดไว โดยทิ้งไวใหกระปอง เย็นกอน (สามารถจับไดดวยมือเปลา) จึงนํามาช่ังน้ําหนัก บันทึกผลนํ้าหนักกระปองกับ นาํ้ หนักดนิ แหง ทไ่ี ด การทดสอบหาหนว ยนาํ้ หนกั รวม การเตรยี มตวั อยา งการทดสอบ ตัวอยา งดนิ เหนยี ว (Clay) แบบคงสภาพจากกระบอกบาง ขน้ั ตอนการทดสอบ ขัน้ ตอนที่ 1 ชง่ั วงแหวนตวั อยา ง พรอมทัง้ วดั ขนาดเสนผา ศนู ยก ลางภายในและวดั ความสงู 2 – 3 ครงั้

Soil Mechanics Laboratory 8 ข้ันตอนท่ี 2 ใชจารบี ทาภายในวงแหวนบาง ๆ ข้นั ตอนท่ี 3 ตดั ตวั อยา งดินทจ่ี ะใชทดสอบใหมีความยาวกวาความสงู ของวงแหวนเล็กนอ ย วางตัวอยาง ดินลงบนพน้ื โตะ ใชเ ลอ่ื ยเสนลวดตัดตวั อยางดินในแนวต้ังใหมีขนาดเสนผาศูนยกลางใหญ กวาเสนผาศูนยกลางของวงแหวนเล็กนอย ตั้งวงแหวนลงบนตัวอยางดิน แลวกดวงแหวน ลงในดนิ ตามแนวดิ่ง จนกระทัง่ มิดและดินภายในวงแหวนพนขอบวงแหวนเลก็ นอ ย ใชเลื่อย เสนลวดตัดดินทั้งหัวและทายใหเรียบ ทําความสะอาดเศษดินที่ดินอยูนอกวงแหวนจน สะอาด

Soil Mechanics Laboratory 9 ขั้นตอนท่ี 4 นําวงแหวนทม่ี ตี วั อยางดินบรรจุยูข นึ้ ชงั่ น้ําหนัก พรอมจดบันทกึ คา

Soil Mechanics Laboratory 10 การบันทึกผลการทดลอง การทดสอบหาปรมิ าณความช้ืนและหนวยนาํ้ หนกั ในดิน Water Content and Unit Weight Project Name : บริเวณสระเกบ็ นํา้ Date of Test : 10/18/2547 Sample No. : 1 Location : วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล Tested by : นายนาวนิ สดุ ถนอม Boring No. : - Soil Sample : ดินเหนียว Checked by : นายชศู กั ดิ์ คีรรี ัตน Depth (m) : 1.6 Water Content of Soil 1 2 3 4 5 A-1 A-2 A-3 Sample No. (g) 42.546 43.891 42.073 Moisture Can No. (g) 38.324 39.529 37.781 Mass of Can + Wet soil (g) 20.112 20.089 20.218 Mass of Can + Dry soil Mass of Can Unit Weight of Soil 123 4 5 4.8 4.8 4.8 Sample No. (cm) 2.01 2.02 2.00 Diameter of Sample Ring (g) 11.78 11.78 11.78 Height of Sample Ring (g) 69.27 69.79 69.84 Mass of Sample Ring (g) Mass of Sample Ring + Soil

Soil Mechanics Laboratory 11 การทดสอบหาปรมิ าณความชืน้ และหนว ยน้าํ หนักในดนิ Water Content and Unit Weight Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Tested by : Boring No. : Soil Sample : Checked by : Depth (m) : Water Content of Soil Sample No. 12345 Moisture Can No. Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) Unit Weight of Soil Sample No. 12345 Diameter of Sample Ring (cm) Height of Sample Ring (g) Mass of Sample Ring (g) Mass of Sample Ring + Soil (g) ตวั อยางการคํานวณ 1. ปริมาณความช้นื ในมวลดิน คดิ เปน รอยละ ( Water Content , w % ) w = W1 − W2 × 100 (%) ……….. (1.1) W2 − Wc เมอื่ WC = นํ้าหนักกระปอ งเก็บตวั อยางดนิ W1 = นา้ํ หนกั กระปองเก็บตวั อยางดนิ รวมกับน้ําหนักดนิ เปยก W2 = นํ้าหนักกระปอ งเกบ็ ตวั อยางดนิ รวมกบั นา้ํ หนักดินแหง

Soil Mechanics Laboratory 12 w = Ww × 100 (%) ……….. (1.2) Ws เมอื่ ……….. (1.3) WW = นาํ้ หนกั ของน้ํา ซม. WS = น้ําหนักดินแหง ซม. 2. ปริมาตรวงแหวน (เทา กบั ปรมิ าตรตัวอยา งดนิ ) γd2h V = 4 เม่ือ d = คา เฉลย่ี เสนผา ศูนยก ลางวงแหวน h = คา เฉลยี่ ความสงู วงแหวน 3. นํ้าหนักของตวั อยา งดนิ ……….. (1.4) W = (นาํ้ หนักวงแหวน + ดนิ ) – (น้าํ หนกั วงแหวน) 4. นํา้ หนกั รวมตอ หนว ยปรมิ าตร (Total Unit Weight) γt = w กรมั / ซม3. v กน. / ม3 w = v × 9.807 ……….. (1.5) 5. นาํ้ หนกั แหง ตอหนวยปรมิ าตร (Dry Unit Weight) ในกรณีรูคา ความชน้ื ของดนิ γd = γt × 100 × 9.807 กน. / ม3 ……….. (1.6) (100 + w) เมอื่ = ปริมาณความชืน้ ในมวลดนิ % w

Soil Mechanics Laboratory 13 ตารางแสดงผลของขอ มลู การทดสอบหาปรมิ าณความช้ืนและหนวยนา้ํ หนกั ในดิน Water Content and Unit Weight Project Name : บริเวณสรเก็บนํ้า Date of Test : 10/18/2547 Sample No. :1 Location : วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล Tested by : นายนาวนิ สุดถนอม Boring No. :- Soil Sample : ดินเหนียว Checked by : นายชศู ักดิ์ คีรรี ตั น Depth (m) : 1.6 Water Content of Soil 1 2 3 4 5 A-1 A-2 A-3 Sample No. (g) 42.546 43.891 42.073 Moisture Can No. (g) 38.324 39.529 37.781 Mass of Can + Wet soil (g) 20.112 20.089 20.218 Mass of Can + Dry soil (g) 4.22 4.36 4.29 Mass of Can (g) 18.21 19.44 17.56 Mass of Wet Soil (%) 23.17 22.43 24.43 Mass of Dry Soil Water Content Unit Weight of Soil 123 4 5 4.8 4.8 4.8 Sample No. (cm) 2.01 2.02 2.00 Diameter of Sample Ring (g) 11.78 11.78 11.78 Height of Sample Ring (g) 69.27 69.79 69.84 Mass of Sample Ring (g) 57.49 58.01 58.06 Mass of Sample Ring + Soil (g) 36.37 36.55 36.19 Mass of Soil (cm3) 1.58 1.59 1.60 Volume of Sample Ring (g/cm3) 15.50 15.60 15.70 Density of Soil (kN/m3) Unit Weight of Soil

Soil Mechanics Laboratory 14 การทดสอบหาปรมิ าณความชืน้ และหนว ยน้าํ หนกั ในดนิ Water Content and Unit Weight Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Tested by : Boring No. : Soil Sample : Checked by : Depth (m) : Water Content of Soil Sample No. 12345 Moisture Can No. Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) Mass of Wet Soil (g) Mass of Dry Soil (g) Water Content (%) Unit Weight of Soil Sample No. 12345 Diameter of Sample Ring (cm) Height of Sample Ring (g) Mass of Sample Ring (g) Mass of Sample Ring + Soil (g) Mass of Soil (g) Volume of Sample Ring (cm3) Density of Soil (g/cm3) Unit Weight of Soil (kN/m3)

Soil Mechanics Laboratory 15 การรายงานผลการทดสอบ 1) ลกั ษณะทางกายภาพของดินตวั อยา ง 2) สภาพของดนิ ตวั อยา งทีน่ าํ มาทดสอบ 3) ปริมาณความชน้ื ในมวลดนิ คิดเปน รอ ยละ ( % ) 4) คา น้าํ หนักรวมตอ หนวยปรมิ าตร (Total Unit Weight) 5) คา นํ้าหนกั แหง ตอ หนว ยปริมาตร (Dry Unit Weight) กรณีรูค าปริมาณความชืน้ ขอ ควรระวงั 1) ตอ งแนใจวา ระยะเวลาในการอบดนิ เพยี งพอตอการทาํ ใหด นิ แหง เพราะถา หากระยะเวลาไมเพยี งพอ จะทาํ ใหค าปริมาณความชน้ื ตาํ่ กวาความเปนจริง 2) ตองตรวจสอบอณุ หภูมิใหอยรู ะหวาง 105 ± 5 Dcถา อณุ หภมู สิ งู กวานี้จะทําใหคาปริมาณความช้นื สูงกวาความเปน จริง 3) ควรทําความสะอาดรอบๆ วงแหวนกอนนําไปชัง่ หานํ้าหนักของวงแหวนรวมกับดนิ

2การทดลองที่ การทดสอบการหาคาความถว งจาํ เพาะของเมด็ ดนิ Determination of Specific Gravity of Soil ทฤษฎีและหลกั การ ดนิ ตามธรรมชาติ(Natural Soil) จะประกอบดวย อากาศ น้ํา และเม็ดดินโดยเม็ดดินจะเกิดจากการ รวมตัวกันของแรธาตุท่ีแตกตางกันออกไปดังน้ันจึงเปนผลใหดินในแตละพ้ืนท่ีมีความถวงจําเพาะตางกัน ในขณะที่น้ําจะมีความถวงจาํ เพาะใกลเคียงกนั แตก ็จะเปล่ยี นแปลงไปตามอณุ หภูมิ ความถวงจําเพาะของดินคืออัตราสวนของนํ้าหนักดินตอนํ้าหนักของนํ้าท่ีมีปริมาตรเทากับดินใน อุณหภูมิหนึ่ง ซ่ึงเปนคุณสมบัติที่แสดงใหทราบถึงลักษณะท่ัวไปของดินได และยังจะสามารถที่จะนํา คุณสมบัติน้ีไปใช ในการคํานวณคาคุณสมบัติอ่ืนๆ เชนความพรุน (Porosity) อัตราสานชองวาง (Void Ratio) ของดิน ระดับความอ่ิมตัว (Saturation) ความหนาแนน (Density) เปนตน ทั้งยังสามารถนําคาความ ถวงจําเพาะของเม็ดดนิ ไปใชส ําหรบั วิเคราะหห าขนาดของเมด็ ดนิ ดวยวธิ ีไฮโดรมเิ ตอรแ บบ 151 H ไดดว ย โดยท่วั ไปคา ความถว งจําเพาะของดนิ จะมคี า อยูในชว ง 2.6 - 2.8 ถา คา ตํา่ กวา น้ีก็อาจจะมีพวกอินทรีย สารหรือพวกธาตุเบาตางๆปะปนอยู และถาคาสูงกวาน้ีก็อาจมีธาตุหนักปะปนอยู สําหรับคาความถวงจําเพาะ โดยท่ัวไปของดนิ ชนดิ ตา ง ๆ ดงั แสดงในตาราง ที่ 2.1

Soil Mechanics Laboratory 17 ตารางที่ 2.1 คาความถวงจาํ เพาะของดนิ ชนิดตาง ๆ คาความถวงจาํ เพาะของดิน , Gs 2.65 - 2.67 ชนดิ ของดนิ 2.67 - 2.70 Sand 2.70 - 2.80 Silty Sand 2.75 - 3.00 Inorganic Clay 1.00 - 2.60 Soil with Mica or Iron Organic Soil ตารางที่ 2.2 แสดงคา ตวั แปรปรบั แก , K อุณหภูมิ °C ความหนาแนน ของนา้ํ , กรมั /ซม.3 คาตวั แปรปรับแก , K 16 17 0.99897 1.0007 18 0.99880 1.0006 19 0.99862 1.0004 20 0.99843 1.0002 21 0.99823 1.0000 22 0.99802 0.9998 23 0.99780 0.9996 24 0.99757 0.9993 25 0.99732 0.9991 26 0.99707 0.9989 27 0.99681 0.9986 28 0.99654 0.9983 29 0.99626 0.9980 30 0.99597 0.9977 0.99567 0.9974

Soil Mechanics Laboratory 18 วัตถุประสงคของการทดสอบ • เพื่อหาความถวงจาํ เพาะของเมด็ ดินทมี่ ขี นาดเลก็ กวาตะแกรงเบอร 4 (4.75 มิลลิเมตร)โดยใช Volumetric Flask ขนาด 500 ml มาตรฐานทใ่ี นการทดสอบ • ASTM D 854 – 00 Standard Test Methods for Specific Gravity Of Soil Solids By Water Pycnometer อปุ กรณและเครื่องมือ อุปกรณแ ละเคร่ืองมือสําหรบั การทดสอบหาคาความถวงจาํ เพาะของเมด็ ดนิ

Soil Mechanics Laboratory 19 อุปกรณและเคร่อื งมอื ท่ีจะใชในการทดสอบการหาคา ความถว งจําเพาะของเมด็ ดนิ อุปกรณแ ละเคร่อื งมือที่ใชเฉพาะ 1) ขวดแกว ฟลาส(Volumetric Flask )ขนาดความจุ 500 mlท่สี ามารถทนความรอ นไดสูง 2) เทอรโมมิเตอร 0 - 100 องศาเซลเซียส อา นไดละเอียด 0.1-0.5 องศาเซลเซยี ส 3) แทงแกว ขนาดเสนผา นศูนยก ลางประมาณ 3 มม. ยาว 30 ซม. แทงแกวคน 4) หลอดใชด ดู น้ําออกหรอื เพิ่มนํ้าใน Volumetric Flask ขวดแกว เทอรโ มมิเตอร แทง แกว หลอดดดู น้ํา

Soil Mechanics Laboratory 20 น้าํ กลั่น อุปกรณและเคร่ืองมือที่ใชทัว่ ไป 1) ตูอบ ( Drying Oven ) ที่สามารถควบคมุ อณุ หภมู ไิ ดคงที่ 105 ± 5 D c 2) เครอื่ งชั่ง ( Balance ) ทม่ี ีความละเอียด 0.01 กรมั 3) เตาและภาชนะตมน้าํ หรือเครือ่ งปม สุญญากาศ การเตรยี มตัวอยา งและข้ันตอนการทดสอบ การเตรยี มตวั อยา งการทดสอบ ตัวอยา งดนิ เหนยี ว หรอื ดินทราย ประมาณ 500 กรมั ขน้ั ตอนการทดสอบ การสอบเทียบ (Calibrate) ขวดฟลาส กอนหรอื หลังการทดลอง วัตถุประสงค เพื่อหาความสัมพันธระหวางน้ําหนักน้ําในขวดฟลาส (ที่ขีดปริมาตร 500 ซม3) และน้ําหนัก ขวดที่อณุ หภูมิตางๆ กนั (ในชวงที่ทําการทดลอง) สําหรับอานคานํ้าหนักของน้ําในขวดฟลาส ท่ีอณุ หภูมิทดลอง

Soil Mechanics Laboratory 21 วิธีการหาดว ยวิธีการทดลอง (Experimental Procedure) 1) ทาํ ความสะอาดขวดแกว ฟลาสทจี่ ะใชทําการทดลอง 2) เติมนํ้ากลั่นในขวดประมาณ 3/4 ของคอขวด (เพ่ือไมใ หน าํ้ เดอื ดขวดแกว จะแตก) 3) ไลอากาศในนํ้า ดวยการตมนํ้าใหเดือดในเตาบุนเส็น หรือ เตาแผนรอน (Hot Plate) ประมาณ 10 นาที นําขวดแกวลงจากเตา เติมน้ํากล่ันท่ีตมไลฟ องอากาสท้ิงไวแลวลงใน ขวดแกวฟลาสใหเตม็ ดว ยวธิ กี ารลกั นํ้า (Siphon) จุมปลายสายยางลงใตผิวนํ้าเพื่อไมให อากาศเขาไปผสมในนํ้าอีก ปลอยใหเย็น ถาตองการใหเย็นเร็ว อาจแชในแชอางน้ํา (Water Bath) จนกระท่ังอุณหภูมลิ ดลงถงึ ประมาณ 40(50) องศา ตรวจสอบวาอุณหภูมิ ของน้าํ ในขวดแกวเทา กนั ทกุ ระดบั ถา ไมเทา กันคลึงขวดเอยี งไปมาหรือใชห ลอดแกว คน

Soil Mechanics Laboratory 22 4) แตงขอบนํ้าใหอยูท่ีขีดบอกปริมาตร 500 ซม3 สังเกตขอบลางของโคงผิวนํ้า เช็ดขวด ภายนอกและภายในเหนือผิวนํา้ ใหแหง 5) นําขวดแกวและน้ํา ข้ึนช่ัง และวัดอุณหภูมินํ้า ตรวจสอบอีกครั้งวาอุณหภูมิของน้ําใน ขวดเทา กนั ทุกระดับหรือไม 6) ทําการทดลองในขอ 4 – 5 อีก 3 – 4 ครั้ง ในชวงอุณหภูมิจากประมาณ 40(หรือ 50) องศา จนถงึ อุณหภูมหิ อ ง ถาตองการใหอ ณุ หภูมิตํ่ากวาอุณหภูมิของหอง ใชนํ้าแข็งผสม ในอางแชน้ํา แตตองระวังขณะอานคา อุณหภูมิทดลองจะตองกวนนํ้า (แบบไมให อากาศเขา ไปผสม) ใหม อี ณุ หภมู ิเทา กนั ทั่วขวด

Soil Mechanics Laboratory 23 ขั้นตอนการหาคาความถว งจําเพาะของเม็ดดิน ขั้นตอนที่ 1 นําดินใสในขวดแกวฟลาสและใสนํ้าลงไปประมาณ 3 ใน 4 สวนของปริมาตรขวดโดยใหดิน จมอยูใ ตน้าํ ทง้ั หมดและอยาใหด นิ ติดอยขู างๆ ขวด ข้นั ตอนท่ี 2 ทําการไลฟองอากาศโดยใช ปมสูญอากาศ (Vacuum Pump) แรงดูด 10 - 20 น้ิวปรอท ประมาณ 4 - 5 ชั่วโมงหรือนําไปกวนในน้ํารอนอยางนอย 10 นาที หรือจะทําทั้งสอง อยางควบคูกันไปก็ไดโดยใช ปมสุญญากาศไมนอยกวา 10 นาทีแลวจึงกวนในน้ํารอนอีก ประมาณ 10 นาที พรอมกับกลิ้งขวดไปมาหลายรอบทําเชนนี้สลับกันไปเรื่อยๆและคอย สังเกตวามีฟองอากาศเกิดขึ้นอีกหรือไม ทําจนกระทั่งฟองอากาศหมดไปซ่ึงตองใชเวลาและ ความละเอยี ดในการสงั เกต

Soil Mechanics Laboratory 24 ขน้ั ตอนที่ 3 หลังจากไลฟองอากาศหมดแลว ทําการเติมนํ้ากล่ันใหระดับทองน้ําอยูท่ีขีด 500 มิลลิลิตร พอดี ในการเติมนํ้ากล่ันนี้ควรใชหลอด และปลอยน้ํากล่ันจากหลอดโดยจุมปากหลอดใหอยู ใตระดับน้ําในขวดฟลาสเพ่ือปองกันอากาศลงไปอีก แลวต้ังทิ้งไวในอุณหภูมิหองทดสอบ จนกระท่ังอุณหภูมิของน้ําใน Flask เทากับอุณหภูมิหองหรืออุณหภูมิท่ีตองการ (โดยใช เทอรโมมิเตอรคอยเช็คดูอยูเสมอ) และคอยสังเกตวาถาระดับในขวดฟลาสตํ่าวาขีด 500 มลิ ลลิ ิตร กใ็ หเตมิ น้าํ กล่ันใหทอ งนาํ้ พอดีกบั ขีดอยเู สมอ ข้ันตอนท่ี 4 นําขวดฟลาสไปช่ัง จะไดเปนนํ้าหนักของขวดฟลาส + น้ํา + ดิน (Flask + Water + Soil) แลวจึงทําการวัดอุณหภูมิโดยจุมเทอรโมมิเตอรใหอยูประมาณกึ่งกลางกระเปาะของขวด Flask คอยจนกระท่ังอุณหภูมิคงที่ แลวจึงบันทึกคาอุณหภูมิน้ีไว หลังจากนั้นนําไปเทใส ภาชนะโดยตองเทดินออกใหหมด จนกระท่ังขวดFlaskสะอาด เสร็จแลวจึงนําไปอบแหงท่ี อุณหภมู ิ 105 ± 5 องศาเซลเซียส โดยทิ้งไวประมาณ 1 คืน

Soil Mechanics Laboratory 25 ขนั้ ตอนท่ี 5 นาํ ดนิ ท่อี บแหง แลว ไปชง่ั แลว บันทึกคา เมอ่ื ลบนาํ้ หนกั ภาชนะออก จะไดเปนนํ้าหนกั ของดนิ แหง

Soil Mechanics Laboratory 26 การบันทกึ ผลการทดลอง การทดสอบหาความถวงจาํ เพาะของดนิ Specific Gravity Test Project Name : Test Date of Test : 11/21/2547 Sample No. :1 Location : kkw Tested by : Mr.Somjit Thongseekao Boring No. :1 Soil Sample : Silty Clay Checked by : Mr.Chusak Kererat Depth (m) : 1.6 Calibration Data Flask + Water Temperature (g) (°C) No. 35 672.84 30 1 673.50 25 2 674.36 20 3 674.88 4 5 6 7 Testing Data Trial No. 123456 1. Temperature °C 30 28 2. Flask + Water g 673.54 673.82 3. Flask + Water + Soil g 705.86 706.50 4. Container No. C-1 C-2 5. Dry Soil + Container g 313.80 289.40 6. Weight of Container g 263.50 238.50

Soil Mechanics Laboratory 27 Project Name : การทดสอบหาความถว งจาํ เพาะของดิน Sample No. : Location : Specific Gravity Test Boring No. : Soil Sample : Depth (m) : Date of Test : Tested by : Checked by : Calibration Data Flask + Water Temperature (g) (°C) No. 1 2 3 4 5 6 7 Testing Data 123456 °C Trial No. g 1. Temperature g 2. Flask + Water g 3. Flask + Water + Soil g 4. Container No. 5. Dry Soil + Container 6. Weight of Container

Soil Mechanics Laboratory 28 ตวั อยางการคํานวณ GS = WSK ……… (2.1) Ws + WFW - WFWS เมื่อ GS = ความถว งจําเพาะของเมด็ ดินท่ีอุณหภูมนิ าํ้ 20°C WS = นาํ้ หนักของตวั อยา งดนิ ทอ่ี บแหง WFW = น้ําหนักของ Volumetric Flask + น้ํา ท่อี ณุ หภูมิหนงึ่ WFWS = นํ้าหนกั ของ Volumetric Flask + นํา้ + ดินแหง ท่ีอณุ หภมู เิ ทากบั WFW K= เปนคา ตวั แปรปรบั แกเ นอื่ งจากอณุ หภมู ิ

Soil Mechanics Laboratory 29 ตารางแสดงผลของขอ มูล การทดสอบหาความถวงจาํ เพาะของดิน Specific Gravity Test Project Name : Test Date of Test : 11/21/2547 Sample No. :1 Location : kkw Tested by : Mr.Somjit Thongseekao Boring No. :1 Soil Sample : Silty Clay Checked by : Mr.Chusak Kererat Depth (m) : 1.6 Calibration Data Temperature Weight of Water + Flask, g 676.00 (°C) 675.60 No. Flask + Water 35 675.20 (g) 30 674.80 25 674.40 1 672.84 20 674.00 2 673.50 673.60 3 674.36 673.20 4 674.88 672.80 5 672.40 6 672.00 7 20 22 24 26 28 30 32 34 36 Testing Data Temperature, Degree Celsius Trial No. 1 23456 1. Temperature °C 30 28 673.82 2. Flask + Water g 673.54 706.50 C-2 3. Flask + Water + Soil g 705.86 289.40 238.50 4. Container No. C-1 50.90 0.9963 5. Dry Soil + Container g 313.80 2.78 6. Weight of Container g 263.50 2.785 7. Dry Soil g 50.30 8. Correction Factor 0.9957 9. Specific Gravity 2.79 10. Average Specific Gravity

Soil Mechanics Laboratory 30 การทดสอบหาความถวงจําเพาะของดิน Specific Gravity Test Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Tested by : Boring No. : Soil Sample : Checked by : Depth (m) : Calibration Data Temperature (°C) No. Flask + Water (g) Weight of Water + Flask, g 1 2 3 4 5 6 7 Temperature, Degree Celsius Testing Data Trial No. 123456 1. Temperature °C 2. Flask + Water g 3. Flask + Water + Soil g 4. Container No. 5. Dry Soil + Container g 6. Weight of Container g 7. Dry Soil g 8. Correction Factor 9. Specific Gravity 10. Average Specific Gravity

Soil Mechanics Laboratory 31 การรายงานผลการทดสอบ 1) คาความถวงจาํ เพาะของเม็ดดนิ 2) คา ที่ไดจากการทดสอบบง ชถี้ งึ ดนิ อะไร 3) ปญหาทเี่ กิดขนึ้ จากการทดลอง ขอควรระวงั 1) ในการตรวจวดั คา ในขวดฟลาสหรอื นํ้าผสมดนิ จะตองมอี ณุ หภมู เิ สมอในขณะวดั 2) จะตองชั่งมวลของภาชนะกอ นจะนําของผสมระหวางนํ้าและดินเทลงไป 3) ตองไมใ หด ินที่ใชในการทดสอบสูญเสยี ระหวางเทลงในขวดฟลาส 4) ตองใหสว นโคง ของนา้ํ ดานลา งอยูตรงขดี ของขวดทุกครง้ั เม่อื นําไปชง่ั

Soil Mechanics Laboratory 32 3การทดลองที่ การทดสอบการเจาะสาํ รวจดนิ Soil Investigation ทฤษฎีและหลักการ การสํารวจดินในงานกอสราง มีความสําคัญในการเปนขอมูลประกอบงานออกแบบ และสงผลใหงาน กอสรางดําเนินไปดวยความประหยัดและมีความปลอดภัย ขอมูลดินเปนส่ิงที่สําคัญในงานทางวิศวกรรมโยธา ทัว่ ไป เชน ในกรณีเพ่ือกอสรางใหม ขอมูลดินเปนประโยชนในการเลือกชนิดและความลึกฐานราก ประเมินการ ทรุดตัวฐานราก หาระดับนํ้าใตดิน หาแรงดันตอผนังกันดิน หาแนวทางแกปญหาละอุปสรรคในงานกอสราง หรือกรณีงานถนน สนามบิน พิจารณาเลือกแหลงวัสดุ ใชออกแบบเสาเข็มสะพาน ใชในการวิเคราะห เสถียรภาพความลาด (Slope Stability) เปนตน การสํารวจดนิ จะทาํ ใหทราบถึงสภาพและลักษณะของช้ันดินในบริเวณที่ตองการทําการกอสรางหรือ ในบริเวณโครงการ โดยการทดสอบหาคาคุณสมบัติของดินซึ่งอาจจะหาไดจากการทดสอบในสนาม(In-situ Test) หรอื ทดสอบในหองปฏบิ ตั ิการ (Laboratory Test) ท้ังยังทําใหสามารถคาดคะเนถึงปญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึน ในระหวางทําการกอสรางไดอีกดวย สําหรับการทดสอบบางอยางตองนําดินไปทดสอบ หาคาคุณสมบัติใน หอ งปฏบิ ตั กิ ารแตส ําหรับการสาํ รวจในโครงการเพ่ือใหไ ดมาซง่ึ ผลลพั ธเพ่ือใช ในการประเมินเบื้องตน จะเรียกวา เจาะการสาํ รวจดิน ซ่ึงจดุ ประสงคหลกั ในการเจาะสํารวจดินมดี งั ตอ ไปนี้ 1) เพอื่ ประเมินความเหมาะสมของโครงการและสภาพแวดลอมเพ่ือใชใ นการวางแผนการดาํ เนนิ งาน 2) เพื่อใชเปน รายละเอยี ดซ่งึ เพียงพอตอการนําไปใชใ นการออกแบบใหเกิดความประหยัด 3) เพ่ือใชเปนขอมูลในการคาดการณลวงหนาถึงความยากลําบากในการกอสราง และเลือก วิธีการกอสรางท่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีในโครงการ ในบางกรณีเปนการสํารวจถึงความ เปนไปไดในการนํามาใชเ ปน วัสดกุ อ สรา ง 4) เพ่ือประเมินการเปลี่ยนแปลงซึ่งอาจจะเกิดจากธรรมชาติ หรือผลกระทบจากการกอสรางตอ บริเวณที่อยใู กลเคยี ง 5) เพ่ือใชเปนตวั เลือกในการตัดสินใจถงึ ความเหมาะสมที่จะใชเปนพ้นื ท่โี ครงการ

Soil Mechanics Laboratory 33 วตั ถปุ ระสงคข องการทดสอบ • เพ่อื ฝกใหรจู กั การเกบ็ ตวั อยางดิน และเกบ็ รายละเอียดทางกายภาพของดนิ ดวยวธิ ีการใชสวา นมือ • เพ่อื ใหสามารถเขยี นภาพตัดของดนิ (Boring Log) อยา งงายได • เพือ่ เกบ็ ตัวอยางดินไวใชในการทดสอบครงั้ ตอไป มาตรฐานทีใ่ นการทดสอบ • ASTM D1452-80(2000) Standard Practice For Soil Investigation And Sampling By Auger Boring อปุ กรณและเครื่องมอื อุปกรณแ ละเคร่ืองมอื สําหรบั การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ

Soil Mechanics Laboratory 34 อุปกรณและเคร่อื งมอื สําหรับการทดสอบการเจาะสํารวจดนิ อปุ กรณแ ละเคร่ืองมอื ท่ีใชเ ฉพาะ 1) สวา นเจาะดนิ แบบมือหมนุ (Hand Auger) 2) ดามตอ (Extension Rod) อุปกรณและเครื่องมือทใ่ี ชทว่ั ไป 1) ตูอบ (Drying Oven) ท่สี ามารถควบคุมอณุ หภมู ไิ ดคงที่ 105 ° C ± 5° C 2) กระปอ งเกบ็ ตวั อยางดิน (Container) ควรเปน โลหะและมีฝาปด 3) เครื่องชั่ง ( Balance ) ทม่ี คี วามละเอียด 0.01 กรัม 4) ประแจจบั ทอ 5) ตลับเมตรไวใ ชว ัดความลึก

Soil Mechanics Laboratory 35 การเตรียมตวั อยางและขั้นตอนการทดสอบ ขนั้ ตอนการทดสอบ ขั้นตอนที่ 1 นักศกึ ษาแตล ะกลมุ ใหใชส วา นแบบมือหมุนเจาะดนิ ลกึ อยา งนอย 3 เมตร หรือเจาะ จนกระทง่ั เจอหินแขง็ หรอื พบระดับน้ําซึง่ ไมส ามารถเจาะตอไปได ขั้นตอนที่ 2 เมอื่ เจาะลึกทกุ ๆ 0.50 เมตร ใหเ กบ็ ตวั อยางดนิ ใสก ระปอ งอบดินเพือ่ นาํ ไปหาคา ปรมิ าณ ความชน้ื พรอ มทงั้ บนั ทกึ ลกั ษณะของดนิ ขน้ั ตอนที่ 3 เก็บตัวอยางดินเพอ่ื นาํ ไปใชในการทดสอบคร้ังตอ ไป

Soil Mechanics Laboratory 36 การบันทกึ ผลการทดลอง การทดสอบการเจาะสํารวจดิน Soil Investigation Project Name : Sample Date of Test : 1/31/2548 Sample No. : 1 Location : kkw Water Table : 0.60 Boring No. : 1 Test by : Mr.Montree Rittiboon Checked by : Mr.Chusak Kererat Depth (m) : 3.00 Sample Depth Water Atterberg Limit Wet Unit USC Shear Strength SPT Length From To Content L.L. P.L. Weight Method Su Recovery (m) (m) (%) (%) (%) (t/m2) (t/m2) (m) HA-1 0.00 0.50 HA-2 0.50 1.00 HA-3 1.00 1.50 HA-4 1.50 1.80 HA-5 1.80 2.10 HA-6 2.10 2.50 HA-7 2.50 3.00

Soil Mechanics Laboratory 37 การทดสอบการเจาะสาํ รวจดิน Soil Investigation Depth(m) USC Soil Description From To 0.00 0.50 Top Soil 0.50 1.00 Top Soil 1.00 1.50 Silty clay, dark grey with some organic matter 1.50 1.80 Silty clay, dark grey with some organic matter 1.80 2.10 Silty clay, dark grey with some organic matter 2.10 2.50 Silty Clay, light grey brown and yellow 2.50 3.00 Silty Clay, light grey brown and yellow

Soil Mechanics Laboratory 38 การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ Soil Investigation Water Content of Soil (g) 1 2 3 4 5 (g) A-1 A-2 A-3 A-4 A-5 Sample No. (g) 45.992 47.638 45.508 45.165 48.608 Moisture Can No. 38.622 39.758 37.778 38.025 39.208 Mass of Can + Wet soil 20.132 20.048 20.218 20.185 20.418 Mass of Can + Dry soil Mass of Can Sample No. 6 7 8 9 10 Moisture Can No. A-6 A-7 Mass of Can + Wet soil (g) 42.546 43.891 Mass of Can + Dry soil (g) 38.324 39.529 Mass of Can (g) 20.112 20.089

Soil Mechanics Laboratory 39 การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ Soil Investigation Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Water Table : Boring No. : Test by : Checked by : Depth (m) : Sample Depth Water Atterberg Limit Wet Unit USC Shear Strength SPT Length From To Content L.L. P.L. Weight Method Su Recovery (m) (m) (%) (%) (%) (t/m2) (t/m2) (m)

Soil Mechanics Laboratory 40 Depth(m) USC การทดสอบการเจาะสํารวจดิน From To Soil Investigation Soil Description

Soil Mechanics Laboratory 41 การทดสอบการเจาะสํารวจดิน Soil Investigation Water Content of Soil Sample No. 12345 Moisture Can No. Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) Sample No. 6 7 8 9 10 Moisture Can No. Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) ตวั อยางการคํานวณ 1. ปริมาณความช้ืนในมวลดนิ คิดเปนรอ ยละ (Water Content , w % ) w = W1 − W2 ×100 ( % ) ……… (3.1) W2 − Wc เม่อื Wc = นํ้าหนักกระปองเกบ็ ตวั อยา งดนิ W1 = นํ้าหนกั กระปองเก็บตวั อยางดินกบั น้ําหนกั ดนิ เปย ก W2 = นา้ํ หนกั กระปอ งเก็บตวั อยางดินกับนํ้าหนักดินแหง w = Ww ×100 ( % ) ……… (3.2) เมือ่ Ws WW = น้าํ หนกั ของนํ้า WS = น้าํ หนักดินแหง

Soil Mechanics Laboratory 42 การบันทึกผลการทดลอง การทดสอบการเจาะสํารวจดิน Soil Investigation Project Name : Sample Date of Test : 1/31/2548 Sample No. : 1 Location : kkw Water Table : 0.60 Boring No. : 1 Test by : Mr.Montree Rittiboon Checked by : Mr.Chusak Kererat Depth (m) : 3.00 Water Content of Soil (g) 1 2 3 4 5 (g) A-1 A-2 A-3 A-4 A-5 Sample No. (g) 45.992 47.638 45.508 45.165 48.608 Moisture Can No. (g) 38.622 39.758 37.778 38.025 39.208 Mass of Can + Wet soil (g) 20.132 20.048 20.218 20.185 20.418 Mass of Can + Dry soil (%) 25.86 27.59 25.29 24.98 28.19 Mass of Can 18.49 19.71 17.56 17.84 18.79 Mass of Wet Soil 31 40 44 40 50 Mass of Dry Soil Water Content Sample No. 6 7 8 9 10 Moisture Can No. A-6 A-7 Mass of Can + Wet soil (g) 47.242 49.249 Mass of Can + Dry soil (g) 38.322 39.529 Mass of Can (g) 20.112 20.089 Mass of Wet Soil (g) 27.13 29.16 Mass of Dry Soil (g) 18.21 19.44 Water Content (%) 49 50

Soil Mechanics Laboratory 43 การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ Soil Investigation Sample Depth Water Atterberg Limit Wet Unit USC Shear Strength SPT Length From To Content L.L. P.L. Weight Method Su Recovery (m) (m) (m) (%) (%) (%) (t/m2) (t/m2) HA-1 0.00 0.50 31 HA-2 0.50 1.00 40 HA-3 1.00 1.50 44 HA-4 1.50 1.80 40 HA-5 1.80 2.10 50 HA-6 2.10 2.50 49 HA-7 2.50 3.00 50

Soil Mechanics Laboratory 44 การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ Soil Investigation Depth (m) NLiaqtuuirdalLWimaitter Content SSuu ((PUCC)) (St/um(2F)V) Sample No. Plastic Limit 2 468 Type of Sample SPT ,N (Blow/ft) Sample Distance (%) 20 40 60 80 Recovery 20 40 60 80 Graphic Log Description of Soil Top Soil 1 H.A. Silty clay, dark grey with some organic matter 2 Silty Clay, light grey brown and yellow 3 H.A. = Hand Auger M.A = Mechanic Auger หมายเหตุ W.S, = Wash Boring

Soil Mechanics Laboratory 45 การทดสอบการเจาะสาํ รวจดิน Soil Investigation Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Water Table : Boring No. : Test by : Checked by : Depth (m) : Water Content of Soil 123 45 Sample No. (g) Moisture Can No. (g) Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) Mass of Wet Soil (%) Mass of Dry Soil Water Content Sample No. 678 9 10 Moisture Can No. Mass of Can + Wet soil (g) Mass of Can + Dry soil (g) Mass of Can (g) Mass of Wet Soil (g) Mass of Dry Soil (g) Water Content (%)

Soil Mechanics Laboratory 46 การทดสอบการเจาะสํารวจดิน Soil Investigation Project Name : Date of Test : Sample No. : Location : Water Table : Boring No. : Test by : Checked by : Depth (m) : Sample Depth Water Atterberg Limit Wet Unit USC Shear Strength SPT Length From To Content L.L. P.L. Weight Method Su Recovery (m) (m) (%) (%) (%) (t/m2) (t/m2) (m)

Soil Mechanics Laboratory 47 การทดสอบการเจาะสํารวจดนิ Soil Investigation Depth (m) NLiaqtuuirdalLWimaitter Content Su (UC) (St/um(2F)V) Sample No. Plastic Limit Su (PC) Type of Sample 2 468 Sample Distance (%) Recovery 20 40 60 80 Graphic Log Description of Soil SPT ,N (Blow/ft) 20 40 60 80 1 2 3 H.A. = Hand Auger M.A = Mechanic Auger หมายเหตุ W.S, = Wash Boring


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook