Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศทางไกล

การนิเทศทางไกล

Published by jt2554, 2022-05-09 18:57:10

Description: การนิเทศทางไกล หมายถึง การนิเทศการศึกษาที่ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศไม่มีปฏิสัมพันธ์กันโดยตรง ต้องอาศัยสื่อต่าง ๆ ถ่ายทอดสาระการนิเทศ จุคเด่น ของการนิเทศอยู่ที่ปริมาณของผู้รับการนิเทศ ความทั่วถึง ความต่อเนื่องและความสม่ำเสมอ

หลักการนิเทศทางไกล
1) เป็นการนิเทศผ่านสื่อ 2) ถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วน 3) ต้องทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 4) มีความถูกต้องชัดเจนตรงกับความต้องการของผู้รับการนิเทศ

Keywords: การนิเทศทางไกล

Search

Read the Text Version

การนิเทศทางไกล โครงการ 4 ยทุ ธศาสตร์ พลิกโฉมคุณภาพการศกึ ษาสู่ศตวรรษที่ 21 ท่ามกลางสงครามเช้อื โรคโควดิ 19 แผนงาน พ้นื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวจริยา ทองหอม เบอรโ์ ทรศัพท์ 080-532-2618

การนเิ ทศทางไกล 1. ความหมายของการนเิ ทศทางไกล การนเิ ทศทางไกล หมายถงึ การนิเทศการศกึ ษาทผี่ ูน้ ิเทศ และผรู้ บั การนเิ ทศไมม่ ปี ฏิสมั พนั ธ์กันโดยตรง ต้องอาศัยสอื่ ต่าง ๆ ถา่ ยทอดสาระการนเิ ทศ จคุ เดน่ ของการนิเทศอยู่ทปี่ ริมาณของผรู้ บั การนิเทศ ความทวั่ ถึง ความต่อเน่อื ง และความสมา่ เสมอ 2. วตั ถุประสงคข์ องการนิเทศทางไกล 2) เพือ่ ส่งเสริมขวญั ก่าลงั ใจของผรู้ ับการนเิ ทศ 1) เพอื่ นิเทศใหท้ ่วั ถงึ ต่อเนื่อง และเกดิ ประสทิ ธิภาพ 4) เพือ่ ส่งเสรมิ ปรบั ปรงุ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 3) เพ่อื สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3. หลักการนิเทศทางไกล 1) เป็นการนิเทศผ่านสอ่ื 2) ถึงกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งครบถ้วน 3) ตอ้ งทา่ อย่างต่อเนอ่ื งสม่าเสมอ 4) มีความถกู ตอ้ งชดั เจนตรงกับความตอ้ งการของผรู้ ับการนเิ ทศ 4. กระบวนการนเิ ทศทางไกล กระบวนการนิเทศทางไกล มี 5 ขน้ั ตอน คือ ขน้ั ที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปญั หาเละความต้องการ โดยการนา่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ มาพิจารณา เช่น ข้อมูลดา้ นการ จดั การศึกษา ด้านการนเิ ทศการศึกษา และดา้ นการบริหารการศกึ ษา โดยการวิเคราะหด์ า้ นปัจจยั ด้านกระบวนการ ผลผลติ และประเมนิ ความต้องการการใชส้ อ่ื เครื่องมอื ต่าง ๆ ประชุมสมั มนาเพ่อื ต้นหาปญั หา เป็นต้น ขน้ั ท่ี 2 การวางแผน โดยจดั ลา่ ดับของปัญหาความตอ้ งการแลว้ กา่ หนดทางเลือกเขียนเป็นแผนการนิเทศและ ปฏิทนิ การนิเทศทางไกล ขน้ั ที่ 3 การสร้างส่อื เคร่อื งมือและพฒั นาวิธกี ารนิเทศทางไกล ได้แก่ การหาแนวทางแกป้ ัญหา พัฒนาการเรยี น การสอน การบริหารงานวิชาการเพ่อื สนองตอบ ความต้องการของผรู้ ับการนเิ ทศ อาจผลิตในหน่วยงานหรือนอก หน่วยงาน ส่อื มวลชนและงานวจิ ยั ข้ันท่ี 4 การปฏบิ ัติการนเิ ทศโดยการใชส้ ือ่ แทนผนู้ ิเทศ เป็นการปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศโดยการใชส้ อื่ ต่าง ๆ เช่น เอกสาร วิทยุ สง่ิ พมิ พ์ และโทรทศั นแ์ ทนผู้ท่าการนิเทศ ขั้นท่ี 5 การประเมินผลและรายงานผลการนเิ ทศ เปน็ การดา่ เนนิ การ 3 ระยะ คือ ก่อนการดา่ เนนิ การ ระหว่าง ด่าเนินการ และหลงั ดา่ เนินการเสร็จสิ้น ซึ่งสามารถ ทีม่ า: สุวัฒนพงษ์ ร่มศรี. (2554). การพฒั นากระบวนการนิเทศทางไกล เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กดั สา่ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 1. มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. ส่านักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยี สารสนเทศ

หลกั สูตร 4 ยุทธศาสตร์ พลิกโฉมคุณภาพการศกึ ษาส่ศู ตวรรษที่ 21 ท่ามกลางสงครามเช้อื โรคโควดิ 19 ชือ่ : นางสาวจริยา ทองหอม ตาแหนง่ : ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ สายงาน : กล่มุ นิเทศติดตามและประเมนิ ผลการศกึ ษา หนว่ ยงาน : สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ผังมโนทัศน์ โครงสร้างหลกั สตู ร 4 ยทุ ธศาสตร์ พลกิ โฉมคณุ ภาพการศึกษาสู่ศตวรรษที่ 21 ทา่ มกลางสงครามเช้อื โรคโควดิ 19

แนวคดิ /หลกั การของหลักสูตร 4 ยุทธศาสตร์ พลกิ โฉมคุณภาพการศกึ ษาสศู่ ตวรรษท่ี 21 ทา่ มกลางสงครามเชอ้ื โรคโควิด 19 จากการศึกษาสภาพปัจจบุ นั และปัญหาการจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นตน้ มา พบว่ามีปัญหาเกีย่ วกับการบรหิ าร คน บุคลากร งบประมาณ วัสดอุ ุปกรณ์ ใน สถานการณท์ ีย่ ากลา่ บากต่อการจดั การเรียนรู้ ทา่ ให้เราต้องเปดิ โอกาส เปดิ พนื้ ที่ ใหบ้ คุ ลากรไดใ้ ช้ความรคู้ วามสามารถในการ ออกแบบ การจัดการเรียนรใู้ หเ้ หมาะกบั นักเรยี นในแต่ละพื้นที่ ตามปกตเิ ราจะไดร้ ับค่าส่ังจากสว่ นกลางมา จนทา่ ให้ครไู มไ่ ดใ้ ช้ ศกั ยภาพของตนเองตามบรบิ ทของพื้นที่ ในการแก้ปัญหาของตนเอง ด้านบุคคล ต้องมองมาทคี่ รเู ราแต่ละคนวา่ มศี กั ยภาพใน การจัดการเรียนรู้อยา่ งไร ในลักษณะใด ครูเช่ยี วชาญในด้านเทคโนโลยี การบูรณาการไปกับวถิ ชี ีวติ ชมุ ชน ตอ้ งเปดิ พ้ืนทใ่ี หค้ รู ได้ใช้ศักยภาพของตนเองในการจดั การเรียนรู้ ผู้บรหิ ารในเขตพน้ื ที่ ทา่ นศึกษานเิ ทศกจ์ ะเป็นขวญั และก่าลังใจที่ดีให้กบั ครู บทบาท การให้ก่าลงั ใจแกค่ ุณครู การบูรณาการ การใชง้ บประมาณในการจัดทา่ เอกสาร ใบงาน แบบฝึกในสถานการณน์ ี้ ใหก้ บั นักเรยี น ซึง่ โรงเรียนต้องใชง้ บประมาณในจดั การเรียนการสอน แบบ On hand เยอะมาก เพราะตา่ งคนตา่ งท่าโดยไม่ มีการบรู ณาการ แต่ถ้าเราใช้หลกั บูรณาการใบงานระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ เขา้ ดว้ ยกนั โดยไมแ่ ยกสว่ น จะท่าให้ งบประมาณทจี่ ะไปถงึ นกั เรียนไม่เป็นเบย้ี หวั แตก เน้ือหาตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพือ่ ความประหยัด ไม่สิ้นเปลอื ง จะทา่ ให้ลดภาระ งานของครู ใหค้ รูไดม้ ีเวลาไปตรวจการบา้ นของนกั เรียน ด้านวัสดอุ ปุ กรณ์ โทรศัพท์ เราจะบริหารจดั การการเรียนการสอน อยา่ งไร เพราะการเรียนร้เู กดิ ข้ึนได้ทกุ ท่ี จะเรียนรทู้ ี่ไหนกไ็ ด้ การเรียนรู้จากสิ่งทอี่ ยูร่ อบตัว ถา้ ครูออกแบบการเรยี นรู้ดๆี เวลา เรียน 1 ชว่ั โมงของการเรยี นแบบออนไลน์อาจใช้เวลาจริงๆ ประมาณ 15 นาที เท่าน้นั เอง การเรียนรูไ้ มไ่ ดเ้ กดิ จากการเรียน แบบออนไลนเ์ ท่านัน้ เด็กสามารถเรียนรไู้ ด้จากทุกอยา่ งทีอ่ ยรู่ อบตวั และในชีวิตจริงของเด็ก ครใู ช้ศกั ยภาพของตนเองให้มาก ขึน้ ครตู ้องใชว้ ธิ กี ารบรู ณาการ การบรหิ ารเงนิ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ การบูรณาการเรียนร้กู ับวิถชี ีวติ จะชว่ ยเด็กได้มาก ส่านกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาตอ้ งเป็นผู้น่าในการจัดทา่ หลกั สูตรบรู ณาการ ในระดับชั้น ป.1-6 บรู ณาการทกุ ตวั ช้ีวดั โดยน่าครูในทกุ โรงเรียนมาคยุ กัน มามสี ว่ นรว่ มในการจัดท่าหลกั สูตร โดยมกี ารบรู ณาการทกุ ตัวชี้วดั เข้าด้วยกนั จะสอนแบบ แยกตัวช้ีวัดไม่ได้ ตอ้ งทา่ หลกั สูตรแบบบรู ณาการ สอนทเี ดยี วครบทกุ ตวั ชี้วดั และวัดผลได้ เดก็ ท่าชิ้นงานช้นิ เดยี วก็สามารถ วัดผลได้ใน 8 สาระการเรยี นรู้ ในระดับชน้ั ป.1-6 จะชว่ ยสง่ ผลตอ่ เร่ืองงบประมาณ ต้องมีการประชมุ เพ่ือจัดท่าหลกั สตู ร บูรณาการ เขตพ้นื ท่มี ขี อ้ จ่ากัดทุกเร่อื ง แต่ข้อจ่ากดั ไม่ได้มปี ญั หาต่อการสร้างนวัตกรรม แตจ่ ะท่าใหเ้ ราค้นพบตวั ตนท่แี ทจ้ รงิ ว่าในสถานการณ์นเี้ ราสามารถทา่ อะไรได้บา้ ง สถานการณโ์ ควดิ บอกเราแลว้ วา่ เราเรยี นแบบเดมิ ไมไ่ ด้แล้ว เด็กเลยหลดุ ออก จากระบบ เดก็ ไม่ทา่ ใบงาน ไม่ส่งใบงาน ถ้าใบงานเป็นเร่อื งทสี่ อดคล้องกบั บรบิ ทของผเู้ รยี นของใครของมนั ใบงานเพียงใบ เดียวที่สอดคลอ้ งกบั สภาพของผูเ้ รยี น ตอนนี้ เรายกการเรยี นร้ไู ปใหก้ ับพ่อแม่ ซ่ึงเปน็ สิง่ ที่ไมค่ วรเป็น ให้นึกถึงพอ่ แมใ่ นชนบท ทีเ่ รียนจบไปนานแลว้ แตต่ อ้ งมาสอนลกู ตามมาตรฐานชน้ั ปี และเนือ้ หาแตกต่างไป พอพอ่ แมส่ อนไมไ่ ด้ พอ่ แม่เครยี ด ลกู เครียด ครูเครียด ซงึ่ ความจรงิ คอื พ่อแม่สอนไม่ได้ แตเ่ ราจะออกแบบวิธีเรียนอย่างไรให้พ่อแมส่ อนได้ มานกึ ถงึ ความจริงวา่ พ่อ แม่สามารถสอนอะไรใหแ้ ก่ลกู ไดบ้ า้ ง นี่คอื โจทยท์ ีน่ ่าคิดมากกวา่ เช่น พอ่ แมท่ ่างานกอ่ สรา้ ง ลกู ตามไปก่อสร้างด้วย เอาเนอ้ื หา เกีย่ วกบั การก่อสร้างมาตั้งเปน็ โจทย์ แล้วบรู ณาการทกั ษะชวี ติ ตวั ช้วี ัดทีเ่ ข้ากับเรอื่ งนีไ้ ด้มารวมกนั ให้เดก็ ไดช้ ่วยพ่อแมท่ ่างาน ก่อสรา้ ง ได้ช่วยพอ่ แมข่ ายของไปด้วย วิธีเรียนแบบนจ้ี ะไมส่ ร้างความทกุ ขใ์ หแ้ กพ่ อ่ แม่ และเด็ก เด็กไดเ้ รียนร้จู ากการปฏบิ ตั ิ จริง เปน็ Active learning ในวถิ ีชวี ติ จริงของเด็ก มันจะเปน็ ความคงทน

สว่ นวิธวี ดั ผล ในขณะที่พอ่ แม่ท่างานก่อสร้าง ขายข้าวแกง ตัดยางไปด้วย พอ่ แม่ก็สามารถสอนเดก็ ได้ เพราะเป็นวิถี ชวี ิตของพอ่ แมอ่ ยแู่ ล้ว เปน็ วิธีการจัดการเรยี นการสอนที่มคี วามสขุ เรียนแล้วสามารถนา่ ไปใช้ได้เลย รปู แบบการเรียนการ สอนแบบออนไลน์ กจ็ ะสอนไดป้ ระมาณ 30% และจะมปี ัญหาในการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเรียนแบบ ออนไลน์จะต้องเสรมิ นวตั กรรมอะไรเขา้ ไป เชน่ คลปิ การสอน รูปแบบวิธีเรยี น ปัญหาเราเอาวิธีเรยี นของคนหนึ่งไปให้กบั คน หน่ึงท่ไี ม่มคี วามพรอ้ มในทุกมิติ เช่น เดก็ ไมม่ ีเวลาเรยี น ต้องเดนิ ทางไปกบั พอ่ แม่ ต้องไปชว่ ยพอ่ แมท่ า่ มาหากนิ สอนวิธเี รยี น รูปแบบการเรียนการสอน บูรณาการวธิ เี รยี น เอาเน้อื หาจากวิถชี วี ิตจรงิ ๆ ของเดก็ เอาชวี ติ จรงิ ของแตล่ ะคนมาเปน็ แกนหลัก ตามบรบิ ทของใครของมนั ตามวิถชี ีวิตของแตล่ ะคน ออกแบบวิธีเรยี นอย่างไรใหพ้ ่อแมส่ ามารถเป็นครผู ้สู อนเดก็ ไดจ้ รงิ เด็กได้ เรียน พอ่ แม่ได้ทา่ งานตามวถิ ชี วี ิตจริง เพื่อแก้ปัญหาเดก็ ไมเ่ รยี น เดก็ ไม่ท่างาน เดก็ ไม่สง่ ใบงาน การบรู ณาการ การรวมทีม เราตอ้ งวางแผนสร้างสือ่ การเรียนการสอนน่าไปแขวนไว้ เพื่อให้ครนู า่ ไปใช้ เราตอ้ งทา่ ความเข้าใจระหว่างทุกฝา่ ยร่วมกัน วางแผนรว่ มกัน เรามีขอ้ มูลพื้นฐานของโรงเรียนทกุ โรงอยู่แลว้ ขณะนีเ้ ราก่าลงั สนใจโรงเรยี นที่เรยี นไมไ่ ด้ เราจะแกป้ ญั หา อย่างไร เชิงบรหิ ารการนิเทศ ศกึ ษานิเทศก์ตอ้ งสรา้ งเครอื ข่าย ท่านจะทา่ งานบริหารจดั การท้ังเขตพนื้ ท่ดี ้วยก่าลงั คนเพยี ง 9-10 คน ไม่ได้ ในสถานการณไ์ ม่ปกติเช่นนี้ ศกึ ษานเิ ทศก์ต้องสรา้ งทีมงาน การนิเทศออนไลน์ เมอื่ สถานการณเ์ ปล่ยี น แต่ เป้าหมายจะตอ้ งเกดิ การเรียนรู้ เขตพนื้ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นกระบวนการเรยี นร้ขู องสถานศกึ ษาอยา่ งไร โดยมเี ปา้ หมายวา่ เดก็ จะตอ้ งได้รบั การเรียนรู้ จากความส่าคญั และปัญหาที่กลา่ วมาข้างตน้ จงึ ได้พฒั นาหลักสตู ร 4 ยุทธศาสตร์ พลกิ โฉมคุณภาพการศกึ ษาสู่ ศตวรรษที่ 21 ท่ามกลางสงครามเชือ้ โรคโควดิ 19 เพ่อื พัฒนารูปแบบและวธิ กี ารเพอ่ื เป็นแนวทางใหก้ บั สถานศึกษา โดย พัฒนา 1) สรา้ งหลักสตู รบูรณาการ STEAM Education 2) ออกแบบวธิ ีการเรียนร้ทู กุ มติ ิ 3) สรา้ งคลิปอัจฉริยะ My Course Design (สง่ ไปช่วยผูป้ กครองสอนลกู ) 4. สร้างทีมมืออาชีพขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ “เราตอ้ งรอดไปด้วยกนั ” เพือ่ นา่ มาสู่การปฏบิ ตั ิจริง โดยอาศยั การเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ รอบตัว เพื่อสรา้ งโอกาสและถา่ ยทอดแนวความคดิ ใหมท่ ท่ี า่ ให้เกิดประโยชนต์ ่อตนเอง และสังคมโดยส่วนรวม วสิ ยั ทศั น์และหลกั การของหลกั สูตร 4 ยุทธศาสตร์ พลิกโฉมคุณภาพการศกึ ษาส่ศู ตวรรษที่ 21 ท่ามกลางสงครามเชอ้ื โรค โควิด 19 วสิ ยั ทศั น์ หลกั สตู ร 4 ยุทธศาสตร์ พลิกโฉมคุณภาพการศกึ ษาสศู่ ตวรรษที่ 21 ทา่ มกลางสงครามเชอ้ื โรคโควดิ 19 มุง่ แก้ไขปญั หาท่ีเกิดขึ้นในสถานการณป์ จั จบุ ันโดยการประสานความรว่ มมอื ของทกุ ภาคส่วน หลกั การ 1. เป็นหลกั สตู รระยะสัน้ ผา่ นระบบออนไลนม์ จี ุดหมายเพ่ือแก้ไขปญั หาการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 2. เป็นหลกั สตู รการอบรมเชิงปฏิบตั ิการท่ยี ดึ สภาพจรงิ ปัญหา และความต้องการของผูเ้ รยี นจากชวี ติ จริง 3. การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง

• จดุ หมายของหลกั สูตร หลักสูตร 4 ยุทธศาสตร์ พลิกโฉมคุณภาพการศกึ ษาสูศ่ ตวรรษที่ 21 ทา่ มกลางสงครามเชือ้ โรคโควดิ 19 1. สร้างหลกั สูตรบรู ณาการ STEAM EDUCATION 1.1 รวมพลังจิตอาสาพฒั นาการศึกษาไทย (ผอ.โรงเรียน+ครผู ู้สอนทุกคน) รว่ มคดิ +รว่ มทา่ +รว่ มนา่ +ร่วมรับผิดชอบไป ด้วยกนั ระยะเวลา 1 ตลุ าคม 2564- 31 ตลุ าคม 2564 1.2 ออกแบบหลกั สูตรบูรณาการ STEAM EDUCATION ทุกชนั้ ปี ทุกรายวิชา แบง่ กันรบั ผิดชอบ (คนละหนว่ ย/ทีมละ หน่วย) 1.3 จดั ท่าหน่วยการเรยี นรบู้ ูรณาการ - เน้นเนอ้ื หาสา่ คญั ใช้จริงในชวี ิต สอดคล้องบริบทของผูเ้ รียน - บูรณาการสมรรถนะ 3R8C - กิจกรรมสร้างคณุ ภาพใหม่ 3 ขน้ั ตอน (ขั้นรบั รู้เปดิ ใจ + ข้นั เช่ือมโยงสมรรถนะ + ข้นั สรา้ งสรรค์นวัตกรรม) - เนน้ พฒั นานสิ ยั ดี ปัญญาดี ปฏบิ ัติดี เป็นข้ันตอน และสรา้ งสรรค์นวัตกรรม 1.4 เน้นสร้างความคงทน Active Learning+แบบระเบิดจากข้างใน - สรา้ งนวัตกรน้อย ตามธรรมชาติบุคคล 2. ออกแบบวธิ ีการเรยี นรูท้ กุ มิติ (อย่ทู ีไ่ หนกเ็ รียนได้อย่างปลอดภัย) 2.1 แบบออนไลน์ + คลปิ อัจฉรยิ ะ (สอนเสรมิ ชว่ ยผปู้ กครอง) 2.2 แบบเรยี นทางไกล (สง่ หนว่ ยการเรียนรไู้ ปให้ เรยี นตามสภาพจรงิ บรบิ ทของตนเอง) 3. สร้างคลปิ อจั ฉรยิ ะ My Course Design (ส่งไปชว่ ยผปู้ กครองสอนลูก) 3.1 คลปิ การเรียนรู้ Active Learning 3.2 มี 3 ยุทธวธิ ีการเรยี นรู้เพ่ือสรา้ งคุณภาพใหม่ - กจิ กรรมสร้างคณุ ภาพใหม่ 3 ขั้นตอน (ขน้ั รบั รเู้ ปิดใจ + ข้นั เชือ่ มโยงสมรรถนะ + ขั้นสร้างสรรคน์ วตั กรรม) 3.3 สร้างคลังความร้รู ะดับเขตพื้นที่ ทกุ คนสามารถแชร์+เรยี นรู้ ได้ตลอดเวลา 4. สรา้ งทีมมอื อาชีพขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ “เราตอ้ งรอดไปดว้ ยกนั ” 4.1 ทีมนเิ ทศประจา่ โรงเรียน (รอ้ ยละ 10 ของจา่ นวนครูท้ังหมด) 4.2 ทีมบรหิ ารจัดการสอื่ และนวตั กรรมระดบั เขตพ้ืนท่ี - สร้างแรงบนั ดาลใจ จัดเวทกี ารเรยี นรู้ เสรมิ แรง ตลอดเวลา 4.3 ทมี ตดิ ตาม ประเมินผล ชว่ ยเหลือ Real-time ทันทีทันใด โครงสรา้ งของหลักสตู ร 1. สร้างหลกั สูตรบูรณาการ Steam Education #หลักสตู รหลดุ โลก(โรค) 2. ออกแบบวิธีการเรียนร้ทู กุ มิติ (อยทู่ ่ีไหนกเ็ รียนได้อย่างปลอดภยั ) 3. สร้างคลิปอัจฉริยะ My Course Design (สง่ ไปช่วยผู้ปกครองสอนลูก) 4. สร้างทีมมอื อาชพี ขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ “เราตอ้ งรอดไปด้วยกนั ”

ระยะเวลาของหลกั สตู ร การก่าหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนตลอดหลักสตู ร ระหว่างเดอื นตลุ าคม 2564 –30 กนั ยายน 2565 โดยแบ่งเปน็ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การประชมุ ชี้แจงเพื่อเตรยี มความพร้อม วนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 การอบรมหลักสูตรบูรณาการ STEAM Education การอบรมการออกแบบวิธกี ารเรยี นร้ทู กุ มิติ การอบรมการสรา้ งคลปิ อจั ฉริยะ My Course Design คร้ังที่ 1 วนั ที่ 14-15 ตุลาคม 2564 ระยะท่ี 2 ปฏบิ ัติการ 4 ยุทธศาสตร์ พลกิ โฉมคุณภาพการศกึ ษาส่ศู ตวรรษท่ี 21 ทา่ มกลางสงครามเช้อื โรคโควดิ 19 กิจกรรม ระยะเวลา กจิ กรรมท่ี 1 จดั ทาเครือ่ งมอื นิเทศ แบบออนไลน์ และแบบ Face to Face 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 64 กิจกรรมท่ี 2 จดั อบรมครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเพื่อใหค้ วามรู้และแนวทางในการพัฒนา 1 ต.ค. - 31 ธ.ค 64 หลกั สูตรบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ แบบ STEAM Education กิจกรรมท่ี 3 จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทาหนว่ ยการเรยี นรบู้ รู ณาการเนน้ เน้ือหาสาคญั ใชจ้ ริง 1 ม.ค- 31 ม.ี ค 65 ในชีวติ สอดคล้องบริบทของผเู้ รยี น กิจกรรมท่ี 4 จดั อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างคลปิ อจั ฉริยะ My Course Design 1 ม.ค- 31 ม.ี ค 65 กิจกรรมท่ี 5 จัดใหม้ เี วทีในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ จดั แสดง และนาเสนอผลงาน 1 เม.ย-30 ม.ิ ย 65 กจิ กรรมที่ 6 สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาในสงั กดั และจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 1 เม.ย-30 ก.ย. 65 (PLC) นาเสนอ Best Practices ให้สถานศึกษาทีป่ ระสบผลสาเร็จไดเ้ ผยแพร่ ระยะที่ 3 การรายงานผลการปฏบิ ัติงาน กันยายน 2565 การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ประเมินผลงาน 1. แบบประเมินผลงาน ผู้เข้ารบั การอบรมสร้าง 2. สอบถามความคิดเหน็ 2. แบบสอบถามความคิดเหน็ 1. หลักสูตร บูรณาการ STEAM Education 2. ออกแบบวธิ กี ารเรยี นรทู้ กุ มิติ 3. สรา้ งคลปิ อจั ฉรยิ ะ My Course Design 4. สรา้ งทมี มอื อาชีพขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ “เราตอ้ งรอด ไปด้วยกัน” ได้ทุกคน 2. คะแนนเฉลี่ยความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ อบรมอยใู่ นระดบั มากหรือมีค่าเฉลีย่ ตง้ั แต่ 3.50 ข้ึนไป



ปฏบิ ตั ิการปรับหลักสูตรสถานศึกษาตน้ แบบ ปฏบิ ัตกิ ารปรบั หลกั สตู รสถานศกึ ษาต้นแบบ 1. คุณครูทุกคน 2. ณ สถานศึกษาต้นแบบ 3. ระยะเวลา 2-3 วัน เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2565 พฒั นาบุคลากรในสถานศึกษาต้นแบบ ประเมินคณุ ภาพ ครัง้ ที่ 1 1. แผนการจดั การเรียนรหู้ นา้ เดยี ว วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2565 2. โครงงานหนา้ เดียว วันที่ 23 พฤษภาคม 2565 3. คลิปอจั ฉริยะ วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2565 4. นิเทศติดตาม ส่งผลงาน ครบ 3 ชิ้น รบั วฒุ ิบตั รระดับเขตพนื้ ที่ กนั ยายน 2565 - ผลงานครู - นกั เรียน - ผู้บรหิ าร ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตใิ นระดับประเทศ ครง้ั ท่ี 1 1. แผนการจัดการเรียนร้หู น้าเดยี ว 2. โครงงานหน้าเดยี ว 3. คลปิ อจั ฉรยิ ะ 4. การบริหารจัดการ ตลุ าคม 2565 - ผลงานครู - นกั เรียน - ผ้บู รหิ าร













































































My Course Design อาหารท่ีมีประโยชนแ์ ละอาหารท่ีไมม่ ีประโยชน์ นางสาวสภุ าวดี ศรชี ่วย https://youtu.be/93DgL3t6MSc My Course Design หน่วย เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวอนญั ญา บญุ ทอง https://youtu.be/w2m9F-96u6A การพฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอนศิลปะ เพ่ือพฒั นาสนุ ทรยี ภาพในทศั นศลิ ป์ นางสาวจรยิ า ทองหอม https://www.youtube.com/watch?v=0d WS7IiQ1OA https://www.canva.com/design/DAFAGUjDSPA/oha7kuINzqjy_ i4QMfwH3Q/view?utm_content=DAFAGUjDSPA&utm_campai gn=share_your_design&utm_medium=link&utm_source=shar eyourdesignpanel


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook