Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

Published by jt2554, 2021-02-02 14:45:32

Description: จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีคำสั่งที่ 11/2564 เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้มีการปิดโรงเรียนทุกแห่งทั้งโรงเรียนรัฐและเอกชนทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระหว่างที่สถานศึกษาต้องปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษดังกล่าว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักถึงแนวทางและนโยบายของต้นสังกัดจึงได้มอบหมายให้กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ออกนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัด เพื่อเป็นขวัญ กำลังใจ สำรวจ รวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไขการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ระหว่างวันที่ 11 - 15 มกราคม 2564

Keywords: รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 การดำเนนิ การ การนิเทศ ติดตาม การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ดังน้ี กลมุ่ เป้าหมาย 1. ผู้นเิ ทศ ได้แก่ ศกึ ษานเิ ทศก์ผู้รบั ผดิ ชอบประจำเครอื ข่าย 7 เครือข่าย สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง 2. ผ้รู บั การนิเทศ ได้แก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ผ้ปู กครอง นักเรียน และผูม้ ีสว่ นได้เสยี ขอบเขตการนิเทศ เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ สถานศึกษาของโรงเรยี นใน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง ไดรับการการนิเทศกำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) เป็นไปในทิศทางเดียวกนั เชงิ คุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพรอม สามารถวางแผนและดำเนินการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ร่วมกับผู้ปกครองและนักเรียน ระยะเวลาในการดำเนินการ วันท่ี 11 - 15 มกราคม 2564 วธิ ีดำเนนิ การ 1. ข้ันเตรยี ม (Preparation) - ผู้นิเทศวางแผนและเตรยี มการนิเทศ - จัดประชุมชแี้ จงการนเิ ทศรว่ มกบั ผทู้ ี่เกยี่ วข้องในการออกนิเทศ - จดั เตรยี มสื่อ/เคร่ืองมือ 2. ข้นั นเิ ทศ (Supervision) ดำเนนิ การนเิ ทศตามประเด็นดังน้ี

44 - ดา้ นบริหาร - ดา้ นการจัดการเรียนการสอน 3. ขนั้ สรปุ (Conclusion) - ใหค้ ำแนะนำ เสนอแนะแนวทางแก้ไข - ผนู้ ิเทศรวบรวมและวิเคราะห์ผลจากการนเิ ทศ เพ่ือสรุปผลการนเิ ทศ - รายงานผลการนิเทศ เครื่องมอื ที่ใช้ในการนเิ ทศ กำกับ ติดตามและรายงานผลการเตรยี มความพรอ้ ม แบบนิเทศ กำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ คา่ รอ้ ยละ (%)

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การนิเทศ ติดตาม ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส CORONA 2019(COVID-19) ของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ไดว้ เิ คราะห์ขอมูล ดังนี้ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผลการนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) ตารางที่ 1 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส CORONA 2019 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน จำนวนโรงเรยี น (109) ร้อยละ ON-AIR 45 41.28 ON-LINE 47 43.12 ON-DEMAND 14 12.84 ON-HAND 109 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่า โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีการจัดการเรียนการสอนทั้ง 4 รูปแบบ โดยรูปแบบท่ีมีการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND 109 โรงเรียน ร้อยละ 100 ลำดับที่ 2 ได้แก่ การจัดการเรียน การสอนแบบ ON-LINE 47 โรง ร้อยละ 43.12 ลำดับที่ 3 ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR ร้อยละ 41.28 และนอ้ ยท่สี ุด ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนการสอนแบบ ON-DEMAND รอ้ ยละ 12.84

46 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน 150 100.00 100 43.12 109 41.28 47 12.84 ON-HAND 50 ON-LINE 14 45 ON-DEMAND 0 ON-AIR แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ ไวรัส CORONA 2019

47 ตารางที่ 2 การเตรยี มความพรอ้ มของโรงเรยี น ดำเนนิ การแล้ว อยูร่ ะหวา่ ง ยังไม่ดำเนนิ การ ข้อท่ี รายการเตรียมความพร้อม ดำเนินการ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (109) (109) (109) ด้านบริหาร โรงเรยี นมีการประชุมสร้างการรบั รู้ ความ 1 เข้าใจและวางแผนการดำเนินงานร่วมกนั 109 100.00 0 0.00 5 4.59 ของผูเ้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย 8 7.34 2 มีการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน 104 95.41 และกำหนดหน้าทีข่ องแตล่ ะฝ่ายชัดเจน 3 มีการจดั ทำแผนงาน แนวทางหรอื 101 92.66 มาตรการในด้านตา่ ง ๆ มีการสำรวจความพร้อมการเขา้ ถึงการ 4 เรียนของนักเรียนและผปู้ กครองด้าน 96 88.07 13 11.93 อปุ กรณ์ คลนื่ สัญญาณ เวลา และวาง แผนพฒั นาใหค้ วามช่วยเหลอื จดั ระบบการสื่อสาร วิธีการ วันและเวลา 5 ระหวา่ งโรงเรียนกับผปู้ กครอง และ 106 97.25 3 2.75 13 11.93 นักเรยี น 13 11.93 การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจดั ทำ 6 เอกสารสำหรับนกั เรียนและอำนวย ความ 96 88.07 สะดวกกบั ครู 7 การมอบหมายให้ครูเยย่ี มบา้ นนกั เรยี นเพื่อ 96 88.07 ติดตามประเมนิ ตรวจสอบ ชว่ ยเหลอื เฉลีย่ 92.79 7.21

48 ข้อท่ี รายการเตรียมความพร้อม ดำเนินการแลว้ อย่รู ะหว่าง ยังไมด่ ำเนนิ การ ดำเนินการ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ด้านการจดั การเรียนการสอน 4 การตรวจสอบ เช็คชือ่ เตรยี มความพร้อม 88 80.73 21 19.27 นกั เรยี น กอ่ นเข้าเรียน/การเช็คเวลาเรียน ครปู ระจำช้นั หรือครูทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 1.83 1 จดั ตัง้ กลุ่ม Line หรือชอ่ งทางอน่ื ในการ 107 98.17 2 ตดิ ตอ่ ส่อื สารกับนกั เรียนและผู้ปกครอง 2 การจดั เตรยี มเอกสารหรือช่องทางการรบั รู้ 107 98.17 2 1.83 ลว่ งหน้าใหก้ บั นักเรียน การนดั แนะนัดหมายกับผปู้ กครอง/ 105 96.33 4 3.67 3 นักเรียน ในการรบั ส่งเอกสารหรือ เคร่อื งมือประกอบการเรยี นรู้ 4 การตรวจสอบ เชค็ ชื่อ เตรียมความพร้อม 88 80.73 21 19.27 นักเรียน กอ่ นเข้าเรียน/การเช็คเวลาเรียน การเตรียมความพร้อมของครูประจำช้นั 5 หรือครทู ่ีได้รับมอบหมายในการช่วยเหลือ 103 94.50 6 5.50 แนะนำนกั เรียน ผู้ปกครอง เม่ือมีปญั หา หรอื ข้อสงสยั ระหว่างเรียน การตรวจสอบชิ้นงาน ภาระงาน ระหว่าง 6 เรียน เพอื่ ตรวจสอบความรูค้ วามเขา้ ใจ 80 73.39 29 26.61 ของนักเรียนและตรวจสอบระบบการ เรยี นรู้ทีบ่ ้าน 7 การกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผล 84 77.06 25 22.94 8 ผูป้ กครองมกี ารชว่ ยเหลือดูแลหรอื อำนวย 92 84.40 17 15.60 ความสะดวกแก่นักเรยี นในการเรยี นรู้ 87.84 12.16 เฉลยี่

49 จากตารางที่ 2 พบว่า การเตรียมความพร้อมของโรงเรียนด้านบริหาร จำนวน 109 โรงเรียน มีการ ดำเนินการอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 92.79 และอยู่ระหว่างดำเนินการร้อยละ 7.21 นอกจากนี้ด้าน การจัดการเรยี นการสอนมีการดำเนนิ การมีคา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 87.84 และอยูร่ ะหว่างดำเนินการรอ้ ยละ 12.16 การเตรยี มความพรอ้ มของโรงเรยี น 100 92.79 87.84 80 แผนภมู ิท่ี 2 การเตรยี มความพรอ้ มของโรงเรยี น 60 40 20 7.21 12.16 0 ดา้ นบริหาร ด้านการจัดการเรียนการสอน ดําเนนิ การแล้ว อย่รู ะหว่างดาํ เนนิ การ แผนภูมทิ ี่ 2 การเตรียมความพร้อมของโรงเรียน

50 บทที่ 5 สรุป และขอ้ เสนอแนะ การนิเทศ ติดตาม ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ซ่ึงผู้ศกึ ษาได้สรุปผลและข้อเสนอแนะ ดังนี้ วัตถุประสงค์ เพื่อนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ผนู้ ิเทศ ได้แก่ ศกึ ษานเิ ทศกผ์ รู้ บั ผดิ ชอบประจำเครือข่าย 7 เครอื ข่าย สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง 2. ผ้รู ับการนิเทศ ได้แก่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครอง นักเรยี น และผ้มู ีส่วนไดเ้ สีย ขอบเขตการนิเทศ เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ สถานศกึ ษาของโรงเรยี นใน สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง ไดรับการการนิเทศกำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) เป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน เชิงคุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพรอม สามารถวางแผนและดำเนินการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) ร่วมกบั ผู้ปกครองและนักเรยี น ระยะเวลาในการดำเนินการ วันท่ี 11 - 15 มกราคม 2564 สรุปผล 1. ผลการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) พบว่า โรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา

51 นครศรีธรรมราช เขต 1 มกี ารจดั การเรยี นการสอนทั้ง 4 รปู แบบ โดยรปู แบบท่ีมีการจัดการเรยี นการสอนมาก ที่สุด ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND 109 โรงเรียน ร้อยละ 100 ลำดับที่ 2 ได้แก่ การจัด การเรียนการสอนแบบ ON-LINE 47 โรง ร้อยละ 43.12 ลำดับที่ 3 ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR รอ้ ยละ 41.28 และน้อยทส่ี ุด ไดแ้ ก่ การจัดการเรยี นการสอนแบบ ON-DEMAND ร้อยละ 12.84 2. ผลการจดั การเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั CORONA 2019 (COVID- 19) พบว่า การเตรียมความพร้อมของโรงเรียนด้านบริหาร จำนวน 109 โรงเรียน มีการดำเนินการอยู่ใน ระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 92.79 และอยู่ระหว่างดำเนินการร้อยละ 7.21 นอกจากนี้ด้านการจัดการเรียน การสอนมีการดำเนินการมคี ่าเฉลี่ยยเทา่ กับ 87.84 และอย่รู ะหวา่ งดำเนินการรอ้ ยละ 12.16 ปัญหา/อุปสรรค จากการการนิเทศ ตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรียนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา สามารถสรปุ ปญั หาจาการเรยี นการสอนของโรงเรียน ดงั นี้ 1. นักเรียนบางคนไมม่ ีความพรอ้ มเรื่องระบบอนิ เทอร์ ซ่งึ ไม่สามารถจดั การเรียนการสอนในชอ่ งทางท่ี ต้องใช้สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นตได้ 2. ผู้ปกครองบางคนไมม่ เี วลาในการดแู ลนักเรียนระหว่างเรียนเนื่องจากต้องไปประกอบอาชพี โดยเฉพาะนักเรียนในระดับชั้นประถมตน้ ทำใหน้ กั เรียนประสบกับปัญหาบ้างในการเรียน 3. ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในการสอนบตุ รหลาน และขาดทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. นักเรยี นบางคนส่งการบา้ นไมต่ รงตามเวลา 5. นักเรยี นบางครอบครวั ขาดความพร้อมดา้ นอปุ กรณ์การเรียน เชน่ โทรศัพท์ โทรทศั น์ สัญญาณ อนิ เตอร์เน็ตมีไมค่ รบทกุ ครัวเรอื น จึงเรยี นไดเ้ พียงช่องทางเดยี วคอื ON-HAND ขอ้ คน้ พบจากการนเิ ทศ จากการนิเทศ กำกับ และติดตามจัดการเรียนการสอนในสถานกการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 พบว่าโรงเรียนบางโรงสามารถทำได้ดมี ากและเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีให้กบั โรงเรยี นอื่นได้ ดังน้ี 1. โรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับความพร้อมและศักยภาพ ของนักเรยี นและผปู้ กครอง 2. โรงเรยี นมกี ารจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยมกี ารรวบรวมใบงานหรอื การบ้านนักเรียนเป็นแฟ้ม สะสมของรายวิชาต่าง ๆ 3. ผู้บริหารและครูที่รับผิดชอบมีการประชุมร่วมกันถึงผลสำเร็จ ปัญหา อุปสรรคในการจัดการเรียน การสอน รวมทั้งแนวทางการแกป้ ัญหาและการพฒั นา

52 ข้อเสนอแนะ 1. ในการจัดการเรียนการสอนในสถานกการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา โรงเรยี นควรจัด โดยคำนึงถงึ ความพร้อมและศักยภาพของผ้เู รียนและความพร้อมของผปู้ กครองเป็นหลัก 2. กรณนี ักเรยี นไมม่ ีความพร้อมเรื่องระบบอินเทอร์โรงเรียนควรเน้นการจดั กาเรยี นการสอนใน รูปแบบ ON-HAND และติดตามเป็นระยะ 3. ในกรณีทน่ี ักเรยี นส่งงานหรือการบ้านไม่ตรงตามเวลาครูควรมกี ารสอบถาม ติดตาม และให้ คำแนะนำ ช่วยเหลือ 4. ครูผู้สอนควรมีการตรวจใบงานหรือการบ้านท่มี อบหมายใหก้ บั นักเรยี นและแจง้ ให้นักเรยี นและ ผปู้ กครองได้รับทราบ 5. โรงเรยี นควรมกี ารกำหนดให้มกี ารนำเอาใบงาน การบ้าน หรือการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนกั เรยี นมา เป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลและประเมินผลระหวา่ งเรียน

53 บรรณานกุ รม เกรียงศักดิ์ สงั ขช์ ัย. (2552). การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศการสอนของครวู ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนา ศักยภาพนกั เรยี นทมี่ แี ววความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานพิ นธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. เกษศิรินทร์ พลจันทร์. (2558). การบรหิ ารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมโรงเรียนวงั ไกล กังวลของผู้บรหิ ารโรงเรยี น สังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน. จังหวัด ประจวบครี ีขันธ.์ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี. กรุงเทพฯ. คมกริช มาตยว์ เิ ศษ. (2553). การพัฒนาการดำเนนิ งานนเิ ทศภายในโรงเรียนจตุรพกั ตรพิมาน อำเภอจตุรพกั ตรพมิ าน จังหวัดรอ้ ยเอ็ด. วิทยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ (การบริหาร การศึกษา). มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ณรงค์ ไชยชมพู. (2550). การนิเทศภายในโรงเรยี นเอกชนในเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาลำปาง เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต ลำปาง : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง. ทิศนา แขมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ปรียาพร วงศอ์ นุตรโรจน์. (2548). การนเิ ทศการสอน. กรงุ เทพฯ: ศนู ยส์ ่อื เสริมกรุงเทพฯ. มณรี ัตน์ รัตนวิชยั . (2553). การศึกษาความตอ้ งการการนิเทศภายในสถานศกึ ษาเอกชน. วทิ ยานิพนธ์ศกึ ษา ศาสตร มหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. รตั นา นครเทพ. (2552). การนำเสนอรูปแบบการนิเทศภายในโดยการประยกุ ตใ์ ชแ้ บบกลั ยาณมิตร ใน สถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาอุบลราชธานี เขต 2. บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี. วัชรา เลา่ เรียนดี. (2556). การนเิ ทศการสอน สาขาวิชาหลักสตู รและการนเิ ทศ. นครปฐม: โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ววิ รรธน์ วรรณศริ ิ. (2558). การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมในสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1. ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบุรี. ศิริกานต์ จนั ทรศริ ิ. (2559). การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ตามแนวคิดวงจร Deming โรงเรียน ขนาดเล็ก. สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 1. ศวิ ากร นนั โท. (2550). พฒั นารปู แบบการนิเทศภายในโรงเรียนขนาดเล็กสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา เขต 1และ เขต 2. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการ บรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา. ศุภชัย บญุ สทิ ธ์ิ. (2548) สภาพปัญหาและความต้องการรูปแบบและกระบวนการนิเทศภายใน. โรงเรยี น ประถมศกึ ษา ในจงั หวดั สกลนคร. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาการศึกษา ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

54 ศนู ยพ์ ัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล.(2559). โครงการพฒั นาคุณภาพ การศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร . สมเดช สีแสง. (2544). คมู่ ือบริหารโรงเรยี น. นครสวรรค:์ รมิ ปงิ การพิมพ.์ สงัด อทุ รานันท์. (2530). การนเิ ทศการศกึ ษา หลักการ ทฤษฎแี ละปฏิบตั ิ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสยาม. สรุ ศักดิ์ ปาเฮ. (2554). การพัฒนาครูทั้งระบบตามยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). แพร่ : สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 2. เอกสารจากการประชมุ ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีทัว่ ประเทศ ครง้ั ท่ี 4/2563 เพื่อมอบนโยบายเรื่องการ จัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผ่านระบบการ ประชมุ ทางไกล Video Conference. วันที่ 30 เมษายน 2563

55 ภาคผนวก - ประกาศจงั หวัด - ปฏิทนิ การนเิ ทศ - ภาพประกอบการนเิ ทศโรงเรยี น

56

57

58

59

60

61

62 ประมวลภาพการนิเทศ ติดตาม โรงเรียนในเครอื ข่าย 1 .

63

64 ประมวลภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นในเครือข่าย 2

65

66 ประมวลภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นในเครือข่าย 3

67 ประมวลภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นในเครือข่าย 3

68 ประมวลภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นในเครือข่าย 4

69

70 ประมวลภาพการนเิ ทศ ติดตาม โรงเรียนในเครอื ข่าย 5 โรงเรยี นบ้านสันยงู โรงเรยี นบ้านมะม่วงทอง โรงเรยี นชมุ ชนลานสกา โรงเรียนวดั ดินดอน โรงเรยี นวดั โคกโพธ์ิสถิต โรงเรียนวดั สมอ

71 โรงเรียนไทยรฐั วิทยา 74 (ชุมชนบา้ นคีรีวง) โรงเรียนวดั จันทร์ โรงเรยี นบ้านสำนกั ใหม่ โรงเรยี นราษฎร์บำรงุ โรงเรียนวดั ใหม่ทอน โรงเรยี นบา้ นคดศอก โรงเรียนวัดสอ โรงเรียนวัดไทรงาม

72 โรงเรยี นวดั คีรกี ันทร์ โรงเรียนบ้านร่อน โรงเรียนบ้านตลาด โรงเรียนวัดเจดีย์ โรงเรียนวัดน้ำรอบ โรงเรียนวดั วงั หงส์

73 ประมวลภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม โรงเรียนในเครอื ขา่ ย 6 วันท่ี 11 มกราคม 2564 โรงเรียนวัดคนั นาราม โรงเรียนวัดกัด โรงเรียนวดั พระเพรง วนั ที่ 11 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดแพร่ โรงเรยี นวดั ไสมะนาว เรียนบา้ นห้วยยูง โรงเรียนบ้านห้วยยูง

74 วนั ท่ี 13 มกราคม 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ โรงเรยี นบ้านห้วยระยา้ โรงเรยี นวัดเชงิ แตระ โรงเรยี นบ้านไสใหญ่ วันท่ี 14 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดราษฎรเ์ จริญวราราม โรงเรียนวัดราษฎร์เจริญวราราม โรงเรยี นวัดพระพรหม

75 วนั ท่ี 15 มกราคม 2564 โรงเรียนบ้านอ่าวตะเคยี น โรงเรยี นวดั หนองแตน โรงเรียนวดั มะม่วงตลอด โรงเรยี นวัดป่าหวาย โรงเรยี นบา้ นปลายคลอง

76 โรงเรียนบา้ นปากชอ่ ง โรงเรียนราษฎรบ์ ำรุง โรงเรยี นวัดโคกกะถิน โรงเรยี นวัดบางหว้า

77 โรงเรยี นวดั ดอนตรอ โรงเรียนวดั สระไคร โรงเรยี นวัดสระเพลง โรงเรียนวดั ทางพูน

78 โรงเรยี นวัดทุง่ เฟ้ือ โรงเรยี นวัดพังยอม โรงเรียนบ้านบางนกวกั

79 ทป่ี รกึ ษา คณะทำงาน 1. นายยงศกั ด์ิ เชาว์วฒุ กิ ุล 2. นายวัฒสัน สร้างดำรงคุณ ผ้อู ำนวยการ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 3. นางนรารตั น์ อ่อนละออ รองผอู้ ำนวยการ สพป.นครศรธี รรมราช เขต 1 4. นางสาวอัญชลี นามสนธิ์ รองผอู้ ำนวยการ สพป.นครศรธี รรมราช เขต 1 5. นายสุชาติพงษ์ ทรงทอง รองผู้อำนวยการ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 รองผ้อู ำนวยการ สพป.นครศรธี รรมราช เขต 1 คณะทำงาน 1. นายสุชาตพิ งษ์ ทรงทอง รองผู้อำนวยการ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 ประธานกรรมการ 2. นางสาวพรเพ็ญ ศรีวริ ตั น์ ผู้อำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามฯ รองประธานกรรมการ 3. นางปรียา สงประเสริฐ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ 4. นางสาวธญั ชนก ฤทธมิ าศ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ 5. นางสาวสภุ าพร อินบุญนะ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ 6. นางสาวชไมพร คำเอียด ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ 7. นายเอกวฒั น์ จุลเลศ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ 8. นางสาวเจณัฐิตา อสิ ลาม ศึกษานิเทศก์ กรรมการ 9. นางฐิตารีย์ ปา้ งสกลุ ววิ ัฒน์ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ 10. นางสาวผกามาศ จนั ทร์มณี ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ 11. นางสาวจรยิ า ทองหอม ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานุการ 12. นางสาวมณฑกานติต์ ิ เพชรอกั ษร ศึกษานิเทศก์ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ 13. นางสาวโสรยา น่นุ แกว้ พนักงงานพิมพ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร บรรณาธิการกิจ ศึกษานิเทศก์ ศึกษานเิ ทศก์ นางสาวมณฑกานต์ติ ิ เพชรอักษร นางสาวชไมพร คำเอยี ด

80

81