Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

Published by jt2554, 2021-02-02 14:45:32

Description: จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีคำสั่งที่ 11/2564 เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้มีการปิดโรงเรียนทุกแห่งทั้งโรงเรียนรัฐและเอกชนทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระหว่างที่สถานศึกษาต้องปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษดังกล่าว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักถึงแนวทางและนโยบายของต้นสังกัดจึงได้มอบหมายให้กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ออกนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัด เพื่อเป็นขวัญ กำลังใจ สำรวจ รวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไขการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ระหว่างวันที่ 11 - 15 มกราคม 2564

Keywords: รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

Search

Read the Text Version

0 ปก



ขก คำนำ รายงานการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ฉบับนี้ เป็นผลการดำเนินงาน การนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน ทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต พ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากร ทางการศึกษา รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่ให้การส่งเสริม สนับสนุน ให้ความร่วมมือ จนส่งผลให้ การดำเนินงานบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ทุกประการ ผู้รายงานหวังเป็นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับน้ี จะเป็นแนวทางและประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ที่สอดคล้องกับความพร้อมและศักยภาพของผู้เรียนและผู้ปกครอง รวมทั้งบริบทของแต่ละ โรงเรยี น ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ กลมุ่ นิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1

สารบัญ ขค คำนำ หนา้ สารบัญ ก บทท่ี 1 บทนำ ข 1 ความเปน็ มาและความสำคัญ 1 วตั ถปุ ระสงค์ 2 กล่มุ เป้าหมาย 2 ขอบเขตการนิเทศ 2 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั 3 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง 4 การนิเทศการศึกษา 4 รู้จกั ไวรสั โคโรนา 30 แนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) 36 บทท่ี 3 การดำเนินการ 43 กลมุ่ เป้าหมาย 43 ขอบเขตของการศึกษา 43 วธิ ีดำเนินการ 43 เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการนิเทศ กำกับ ตดิ ตามและรายงานผลการเตรยี มความพร้อม 44 สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ 44 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 45 บทท่ี 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ 50 สรปุ ผล 50 ปญั หา/อุปสรรค 51 ขอ้ ค้นพบจากการนิเทศ 51 ข้อเสนอแนะ 52 บรรณานุกรม 53 ภาคผนวก 55

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ ให้สถานศกึ ษาในสังกดั และในกำกับ ปิดเรียนดว้ ยเหตพุ ิเศษนี้ ตั้งแต่วันที่ 4 – 31 มกราคม 2564 พร้อมท้ังให้ส่วน ราชการต้นสังกัดกำหนดแนวทางแก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนทีไ่ ม่สามารถ เปิดเรียนได้ตามปกติ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงไดจ้ ดั รูปแบบการเรยี นการสอนทางไกลขน้ึ เพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางหลักในการจัดการเรียนการสอน คือ การเรียนผ่าน DLTV โดย ผ่านสัญญาณระบบดาวเทียม (Satellite) และผ่านช่องทางการเรียนรู้ เว็ปไซต์ และ Application ของมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สนับสนุนเนื้อหาสาระการเรียนรู้ของระดับปฐมวัยถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำหรับการเรียนรู้ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ให้ใช้การส่ือสารแบบทางไกล หรอื ดว้ ยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ เชน่ Google Meet, MS Teams, ZOOM, Webex Meet, Hangouts หรอื เครื่องมือ อนื่ ๆ ผา่ นการจดั การเรียนการสอนโดยใช้อนิ เทอร์เนต็ (ONLINE) ทงั้ น้ี โรงเรียนสามารถออกแบบการจดั การเรียน การสอนเองได้ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ โรงเรียนจำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวดั (ศบค.จังหวัด) สำหรบั โรงเรยี นที่มนี ักเรียนจำนวนน้อยและมีพ้นื ท่ีเพยี งพอในการจัดการ เรียนการสอนได้แบบปกติ ให้โรงเรียนปฏิบัติตามมาตรการและแนวทางการดำเนนิ งานเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคมุ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับโรงเรยี นที่มนี ักเรียนจำนวนมากแต่พ้ืนที่น้อยให้จัดการ เรียนการสอนแบบผสมผสาน ระหว่างการเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่าน DLTV (ON-AIR) และการ เรียนผ่านออนไลน์ (ONLINE) โดยให้นักเรียนสลับกันมาเรียน และมาสอบที่โรงเรียน โดยโรงเรียนใช้ข้อสอบ คขู่ นาน (PARALLEL EXAMINATION) ซึ่งจังหวดั นครศรธี รรมราช ไดม้ คี ำส่ังท่ี 11/2564 เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้มีการปิดโรงเรียนทุกแห่ง ทั้งโรงเรียนรัฐและเอกชนทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 เพ่อื เป็นการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระหว่างที่สถานศึกษาต้องปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการได้ให้ส่วนราชการ ตน้ สังกดั กำหนดแนวทางจัดการเรยี นการสอนตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนดไว้ เช่น การสื่อสารแบบ ทางไกล หรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ หากไม่สามารถจัดการเรียนการสอนโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ สถานศึกษาอาจจัดการเรียนการสอนโดยใบสั่งงาน หรือมอบงานตามความเหมาะสม โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียนซึ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักถึงแนวทางและนโยบายของ ต้นสังกัดจึงได้มอบหมายให้กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ออกนิเทศ กำกับ ติดตาม

2 การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 โดยได้ดำเนินการจัดทำตารางการ นเิ ทศ และเคร่อื งมือการนิเทศ ตามนโยบายของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องออกนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัด เพื่อสำรวจ รวบรวมข้อมูลการ เตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ของโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางการแก้ไข ปัญหาจากการนิเทศกำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ระหวา่ งวนั ที่ 11 - 15 มกราคม 2564 วัตถปุ ระสงค์ เพื่อนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง กลุ่มเปา้ หมาย 1. ผู้นเิ ทศ ไดแ้ ก่ ศกึ ษานิเทศก์ผรู้ บั ผดิ ชอบประจำเครือข่าย 7 เครอื ขา่ ย สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง 2. ผูร้ ับการนเิ ทศ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ผปู้ กครอง นักเรียน และผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย ขอบเขตการนเิ ทศ เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ สถานศกึ ษาของโรงเรยี นใน สังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 109 โรง ไดรับการการนิเทศกำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั เชิงคณุ ภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพรอม สามารถวางแผนและดำเนินการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) รว่ มกบั ผูป้ กครองและนกั เรยี น ระยะเวลาในการดำเนนิ การ วันที่ 11 - 15 มกราคม 2564

3 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและโรงเรียนได้รับรปู้ ญั หา สภาพบริบทของผปู้ กครองและนักเรียน ไดเ้ รยี นร้แู ละค้นพบแนวทางท่ีเหมาะสมในการแกป้ ญั หาและพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนมากขึน้ 2. เกิดเครือข่ายร่วมมือที่ดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในท้องถิ่นในการร่วมมือกัน พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 3. ผ้ปู กครองมีบทบาทในการดแู ลเร่ืองการเรียนของบตุ รหลานมากยิง่ ขึ้นและเปน็ สว่ นหน่งึ ในการ ส่งเสริมให้นักเรยี นมวี ินยั และความรบั ผิดชอบมากย่งิ ข้ึน

บทท่ี 2 เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 ไดศ้ กึ ษาเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ดังน้ี 1. การนเิ ทศการศกึ ษา 2. รู้จกั ไวรสั โคโรนา 3. แนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) การนเิ ทศการศกึ ษา ความหมายของการนเิ ทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ช่วยเหลือครูในการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชนส์ ูงสดุ กับผเู้ รยี น ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมายของการนิเทศการศกึ ษาไว้ ดังนี้ สงัด อุทรานันท์ (2530 : 7) ได้ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษา คือ กระบวนการทำงาน ร่วมกันของครูและผู้นิเทศเพือ่ ให้ได้มาซึง่ สัมฤทธิ์ผลสงู สุดในการเรียนของนักเรียน นอกจากนี้ การนิเทศศึกษา เป็นกระบวนการดำเนินงานรว่ มกันระหวา่ งผนู้ ิเทศกับผรู้ ับการนิเทศเพื่อพัฒนาการสอนของครู อันจะส่งผลท่ีดี ขึ้นของนักเรียนโดยตรงไปสู่ผลการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า งานนิเทศการสอนเป็นงานที่ช่วยให้ครูปรับปรงุ การเรียนการสอนได้ดีขึ้น และการที่ครูผู้สอนได้รับนิเทศภายในอย่างสม่ำเสมอ เป็นวิถีทางหนึ่งที่ช่วยให้ครู ได้รับการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการสอน มคี วามมน่ั ใจและคลอ่ งตัวในการปฏบิ ัตงิ าน รัตนา นครเทพ (2552 : 19) การนิเทศการศึกษารวมถึงการนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึงการ ส่งเสริม สนับสนุน หรือการให้ความช่วยเหลือครูในการด้านต่าง ๆ ให้ประสบความสำเร็จ ดำเนินการใดทำให้ ครูมีความพึงพอใจ มีกำลังใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการดำเนินงานต่าง ๆ ของ โรงเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และส่งผลให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่าย อีกทั้งผ่านการประเมินท้ัง ภายในและภายนอก คมกริช มาตย์วิเศษ (2553 : 16) กล่าวว่า การนิเทศเป็นวิธีการที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา บคุ ลากรให้มีความรู้ความสามารถสำหรบั หน่วยงาน โดยความรว่ มมือของบุคลากรทุกฝ่ายในการดำเนินงานให้ ทันกบั การเปล่ยี นแปลงทางวิชาการและนวัตกรรมการสอนตา่ ง ๆ

4 มณีรัตน์ รัตนวิชัย (2553 : 26) กล่าวว่าการนิเทศการศึกษา หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ทำให้เกิด ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนหรือทำให้เกิดการเพิ่มพลังในการปฏิบั ติงานของครูรวมทั้งทำให้ครูเกิด ความก้าวหน้าในวิชาชีพและกอ่ ให้เกิดผลในขนั้ สดุ ท้าย คอื การศึกษามีความกา้ วหนา้ มีประสิทธภิ าพตามมา เกรียงศักดิ์ ไชยเนตร (2552 : 18) การนิเทศการศึกษา หมายถึง การร่วมกันทาง การศึกษาของ ผู้บริหารโรงเรยี นและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ นอกจากน้ันยังเป็นการ สร้างขวญั กำลังใจให้แก่ครูอีกด้วย และการนิเทศภายในมีความจำเป็นและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพราะเป็นความร่วมมือร่วมใจ ร่วมแรงของบุคลากรทุกภาคส่วนที่จะต้อง พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สูงขึ้น การให้กำลังใจ สร้างแรงจูงใจให้กับบคุ ลากรในสถานศึกษา ไดแ้ สดงศกั ยภาพของตนเองในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือมุ่งส่คู ุณภาพที่สูงขน้ึ ของผู้เรยี น สรปุ ได้วา่ การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่างผนู้ ิเทศและผู้รับการ นิเทศ ร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาในการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพส่งผลตอ่ ใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ภาพเพมิ่ ขึน้ และบรรลุเปา้ หมายตามมาตรฐานหลกั สตู รและมาตรฐานการศกึ ษา จดุ ม่งุ หมายของการนิเทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งที่จะทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประสบ ผลสำเร็จตามจุดประสงคท์ ่วี างไวน้ ักการศึกษาและหนว่ ยงานทางการศึกษาได้แสดง ทศั นะเกยี่ วกับจุดมุ่งหมาย ของการนิเทศการศกึ ษา ดังน้ี วัชราเล่าเรียนดี (2556 : 15) ได้กล่าวถึงความมุ่งหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อมุ่ง ปรับปรงุ การปฏิบตั งิ านของครู โดยเนน้ การทำงานเปน็ ทีมร่วมกนั ในการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบสร้างเจตคติท่ี ดีในการอนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ลและประสทิ ธภิ าพในการางานจัดการศึกษา พศิน แตงจวง (2554 : 23) การนิเทศการศกึ ษามคี วามมุง่ หมายเพื่อมุ่งช่วยเหลอื แนะนำปรับปรุง และส่งเสริมครูใหพ้ ฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ อย่างเตม็ ที่ เพอ่ื ทจ่ี ะเอาความสามารถของครู ออกมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อันจะส่งผลต่อ คุณภาพการเรียนการสอน ความ เจรญิ กา้ วหนา้ ของนักเรียนและโรงเรียนในท่สี ดุ หรือสรปุ ไดเ้ ปน็ 4 ข้อ ดงั นี้ 1. เพ่ือพฒั นาคนและบุคลากรทางการศึกษา 2. เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ 3. เพ่ือการสร้างความสัมพนั ธอ์ นั ดี 4. เพ่ือสร้างขวัญและกำลงั ใจ มณีรัตน์ รัตนวิชัย (2553 : 28) กล่าวว่าเป้าหมายหลักของการนิเทศการศึกษา อยู่ที่เพ่ือ สนับสนุนส่งเสริมกระตุ้นให้ครูและผู้มีส่วนได้เสียจากการจัดการศึกษาทุกฝ่ายเป็นรายบุคคล หรือหลายคน รว่ มมือรว่ มใจกนั ปฏิรปู วิธีการจัดการเรียนการสอนวิธีการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีความสำเร็จตามมาตรฐานใด ๆ ของโรงเรียนและบคุ ลากรของโรงเรยี นให้สงู ขึ้นและรักษาไว้ได้อย่าง ต่อเนอ่ื งด้วยความเต็มใจ สมเดช สแี สง (2544 : 730) ไดก้ ลา่ วถึงจดุ มงุ่ หมายของการนิเทศการศึกษา ไว้ดังนี้

5 1. เพื่อสร้างวิธปี รับปรงุ การเรียนการสอน 2. เพอ่ื ให้เกดิ ความงอกงามในวิชาชีพทางการศกึ ษา 3. เพอ่ื พัฒนาครู 4. เพอ่ื ช่วยเหลอื ปรบั ปรุงวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 5. เพื่อช่วยเหลอื ปรบั ปรุงวิธีสอน 6. เพอ่ื ชว่ ยเหลอื และปรบั ปรุงการประเมนิ การสอน ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 : 20) กลา่ วว่าจุดม่งุ หมายของการนิเทศการสอนเป็นการมุง่ ปรับปรุงและพฒั นาการเรียนการสอนในโรงเรียน ดังน้ี 1. เพ่อื การพฒั นาวิชาชีพครู ไดแ้ ก่ 1.1 การนเิ ทศการสอนให้ข้อมูลแกค่ รูในด้านการสอน เพือ่ ครจู ะไดใ้ ช้เปน็ แนวทางในการ ปรับปรุงการสอนของตน 1.2 การนิเทศการสอนเพ่ือให้ครูได้พัฒนาความรู้ความสามารถในดา้ นการสอน 1.3 การนเิ ทศการสอนเพื่อส่งเสรมิ และพัฒนาวชิ าชพี การสอนของครู 2. เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพของนักเรยี น 2.1 เพ่ือปรบั ปรุงคุณภาพของการเรยี นการสอนในโรงเรยี นเพ่ือคณุ ภาพของนักเรียน 2.2 เพ่ือส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพงานวชิ าการในโรงเรยี น 3. เพื่อสร้างขวญั และกำลงั ใจแก่บุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การนิเทศการสอน 4. เพื่อสรา้ งความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างบคุ คลท่ีเกย่ี วข้องในการทำงานร่วมกนั กระทรวงศึกษาธิการ (2552 : 33) กลา่ วถงึ จดุ มุ่งหมายของการนิเทศไว้ดงั นี้ 1. เพอ่ื ช่วยผ้บู รหิ ารสถานศึกษาและครผู ู้สอนใหเ้ กิดการปรบั ปรุงพฒั นาการจัดการศึกษาให้ มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการ ของ ชมุ ชน สงั คม ทันต่อการเปล่ียนแปลงทุกด้าน 3. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรยี นปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนรบั ผดิ ชอบและ ชื่นชมใน ผลงาน 4. เพื่อให้เกิดการประสานงานและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่างผู้ท่ี เกยี่ วข้อง ไดแ้ ก่ ชมุ ชน สังคม สรุปได้วา่ จุดมงุ่ หมายของการนิเทศการศกึ ษาเพื่อพัฒนากระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการ เรียนการสอน และกระบวนการนิเทศภายใน ใหม้ ีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผลในการจัดการศึกษา

6 หลักการนเิ ทศการศึกษา การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศ การศึกษาจะ บรรลุตามความมุ่งหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยหลักในการดำเนนิ งาน มีนักการศึกษาเสนอแนวคดิ เก่ยี วกับหลักการในการนเิ ทศการศกึ ษาไว้ ดงั นี้ สุรศักด์ิ ปาเฮ (2554 : 18) ได้สรุปหลักการของการนิเทศภายในว่าผู้บริหาร สถานศึกษาจะต้อง ถือเป็นหน้าที่โดยตรงที่จะต้องนิเทศภายในสถานศึกษาของตนเองที่รับผิดชอบ การดำเนินการนิเทศภายใน สถานศกึ ษาจะต้องเปน็ การร่วมมือหรอื ยอมรับของบุคคลในสถานศึกษา ทจี่ ะชว่ ยกนั พฒั นาปรับปรงุ แกไ้ ขซึ่งกัน และกันภายใตบ้ รรยากาศแหง่ ความเป็นประชาธิปไตย ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มบี รรยากาศแบบความ สร้างสรรค์มีการประสานงานทำงานเปน็ หมู่คณะ การนิเทศภายในสถานศึกษาจะต้องเกิดขนึ้ จากความต้องการ แก้ไขปัญหาหรือต้องการสนองความต้องการของสถานศึกษาที่จะต้องยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาและการนิเทศภายในสถานศึกษาจะต้องเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้กำลังใจแก่บุคลากรใน สถานศึกษา ให้มีความเชื่อมั่นในตนเองและพร้อมที่จะเผยแพร่ผลงานทางวิชาการเพื่อให้บุคคลในหน่วยงานมี ความรู้ความสามารถสงู ขน้ึ เกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552 : 25) ได้กล่าวถึงหลักการนิเทศการศึกษาว่าการนิเทศเป็นแนวทาง ปฏบิ ตั ทิ ผี่ ู้นิเทศต้องนำไปปฏิบตั ิขณะนเิ ทศภายในสถานศึกษา โดยเฉพาะทางด้านวชิ าการจะบรรลตุ ามความมุ่ง หมายทวี่ างไวอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพผู้ดำเนนิ งานต้องมหี ลักยึดในการนเิ ทศดงั น้ี 1. การนิเทศควรจัดให้มีการบริหารที่เป็นระบบและมีการวางแผนการดำเนนิ งานเปน็ โครงการ 2. การนิเทศต้องถือหลักการมีส่วนร่วมในการทำงาน คือความเป็นประชาธิปไตยเคารพใน ความคิดเห็นของผู้อื่น เห็นความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นความร่วมมือร่วมใจกันในการดำเนินงานและใช้ ความร้คู วามสามารถในการปฏิบัตงิ านเพ่ือใหง้ านนนั้ ไปสูเ่ ป้าหมายที่ต้องการ 3. การนเิ ทศเป็นงานสร้างสรรคเ์ ป็นการแสวงหาความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคลให้แต่ละ บุคคลไดแ้ สดงออกและพัฒนาความสามารถเหลา่ นน้ั ได้อย่างเต็มที่ 4. การนิเทศเป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนโดยให้ครูอาจารย์ได้เรียนรู้ว่า ปญั หาของตนเปน็ อย่างไรจะหาวิธแี กไ้ ขปัญหานั้นได้อย่างไร 5. การนิเทศเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ดีขึน้ สร้างความเข้าใจ ระหว่างกัน สรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธ์ มวี ธิ ีการทำงานทีด่ ีและความสามารถทจ่ี ะอยู่ร่วมกันได้ 6. การนิเทศเป็นการสร้างความผูกพันและความมั่นคงต่องานอาชีพรวมทั้งความ เชื่อมั่นใน ความสามารถของตนเกิดความพอใจในการทำงาน 7. การนิเทศเป็นการพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพครูให้ความรู้สึกภาคภูมิใจในอาชีพที่ต้องใช้ วชิ าความร้แู ละความสามารถ ศวิ ากร นันโท (2550 : 21) ได้กล่าวว่า การนเิ ทศภายในสถานศึกษาใชห้ ลกั การ ดังนี้ 1. หลักการปฏิบัติงานตามวิธีวิทยาศาสตร์ดำเนินการอย่างเป็นระบบระเบียบ ซึ่งครอบคลุม วิธีการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาความต้องการ การวางแผนการนิเทศการศึกษา และการปฏิบัติการนิเทศ

7 การประเมินผลการนิเทศ ซึ่งควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีประสิทธิภาพเป็นที่ เชอื่ ถือได้ 2. หลักการปฏิบัติงานตามวิธีทางประชาธิปไตย เคารพในความแตกต่างระหว่าง บุคคลให้ เกียรติซึ่งกันและกัน เปิดใจกว้างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตุผลและปฏิบัติ ตามข้อตกลง ตลอดจนใชค้ วามร้คู วามสามารถในการปฏบิ ัติงานเพอื่ ใหง้ านนั้นบรรลเุ ป้าหมาย 3. หลักการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาสร้างสรรค์ โดยการแสวงหาความสามารถพิเศษของครูแต่ ละบคุ คล เปิดโอกาสให้ได้แสดงออกและสนับสนุนส่งเสริมความสามารถเหลา่ นน้ั อยา่ งเต็มท่ี 4. หลักการปฏิบัติตามกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมเน้นความร่วมมือ ร่วมใจในการ ดำเนินงาน โดยยึดวัตถุประสงค์การทำงานร่วมกัน การช่วยเหลือแบ่งปันประสบการณซึ่งกันและกัน และการ ร่วมคิดร่วมพฒั นา ทงั้ นเี้ พื่อความสำเร็จของงานโดยรวดเร็ว 5. หลักการปฏิบัติงานเพื่อประสิทธิภาพเน้นการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ รับผิดชอบ มี การควบคุมติดตามผลการดำเนินงานและผลผลิตอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตาม มาตรฐานการศึกษา 6. หลกั การปฏิบตั ิงาน โดยยึดวัตถุประสงคก์ ารดำเนินงานทุกคร้งั จะต้องกำหนด วัตถปุ ระสงค์ การทำงานอย่างชัดเจน ออกแบบการดำเนินงานอย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ กำหนดไว้ สรุปได้ว่า หลักการนิเทศการศึกษาต้องยึดหลักวิชา หลักประชาธิปไตย หลักมนุษยสัมพันธ์ สร้างสรรค์ผลงานให้เกดิ การพัฒนา และแสวงหาความร่วมมือจากทกุ ฝ่าย กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่งผู้นิเทศจะต้องกำหนดขั้นตอนในการ ดำเนินการนิเทศเพื่อช่วยให้งานนิเทศการศกึ ษาประสบผลสำเร็จตามความมุง่ หมาย อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มี นกั การศึกษาใหท้ ัศนะเกย่ี วกบั กระบวนการนิเทศการศกึ ษาไวด้ ังนี้ ศุภชัย บุญสิทธิ์ (2548 : 32) ได้กล่าวถึงกระบวนการนิเทศการศึกษาว่าเป็นขั้นตอนการนิเทศ การศึกษาที่มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 5 ขั้นตอนซึ่งสามารถเขียนภาพประกอบตามลำดับ ขน้ั ตอนไดด้ ังภาพท่ี 1 การศกึ ษา การวางแผน การสรา้ งส่อื การปฏิบตั ิ การประเมนิ ผล สภาพปัจจุบัน และกำหนด และเครื่องมือ การนเิ ทศ และรายงานผล ปัญหาและ ทางเลือก ความตอ้ งการ ภาพที่ 1 แสดงขน้ั ตอนกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน ตามแนวทางของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาประถมศกึ ษาแห่งชาติ ที่มา : ศุภชยั บญุ สิทธ์ิ 2548 : 32

8 ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาสภาพปัจจบุ ัน ปญั หาและความต้องการ ดงั นี้ 1. การดำเนนิ การ แก้ไขปรบั ปรงุ หรอื พฒั นางานใด ๆ จะต้องเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการมองเห็นปัญหา ของงานอย่างชัดเจน เพราะการมองเห็นปัญหาจะนำไปสู่ความต้องการในการแก้ไขปรับปรุงพัฒนา ดังนั้น การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการจึงจำเป็นต้องกำหนดไว้ให้ แน่ชัด ซึ่งมีจุดประสงค์ดังน้ี เพื่อทราบสภาพการศึกษาและคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เพื่อทราบสภาพปัญหาที่เป็นปัญหาและความ ต้องการของครู เพื่อใช้ในการกำหนดแนวทางตัดสินใจแก้ปัญหา เพื่อใช้ในการกำหนดวัตถุประสงค์หรือ เปา้ หมายของการปฏิบัตงิ านนิเทศ ให้ไปสู่อนาคตทีพ่ ึงประสงค์ได้อยา่ งแท้จริง การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของบุคลากรในโรงเรยี นนนั้ 2. ตรวจสอบขอ้ มูลในแต่ละเรอ่ื งให้แน่ชัด 3. เปรียบเทยี บข้อมูลของปัญหาโดยเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานหรือจุดหมายที่กำหนดเพื่อจะ ได้กำหนดเป้าหมายในการแกป้ ญั หาไดถ้ กู ตอ้ ง 4. จัดลำดับความสำคัญของปัญหาแต่ละชนิด เพื่อนำไปพิจารณาดำเนินการแก้ไขปรับปรุง ขั้นต่อไป ข้ันตอนท่ี 2 การวางแผนและกำหนดทางเลือก การวางแผนการนิเทศ หมายถึง การนำข้อมูลมาวเิ คราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา สาเหตุของ ปัญหาและความต้องการมากำหนดกิจกรรมและแนวทางการปฏิบัติงานนิเทศ ซึ่งการ วางแผนนั้นต้องให้ สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานเหนือทุกระดับด้วยและควรจะมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังภาพที่ 2 และ รายละเอยี ด ดงั นี้ ขั้นเตรยี มการ ข้นั ลงมอื ขนั้ ประสาน ข้ันเตรยี มแผน วางแผน ปฏิบตั กิ าร การวางแผน ไปปฏิบตั ิ วางแผน ภาพท่ี 2 แสดงขัน้ ตอนการวางแผนการนิเทศการศกึ ษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาประถมศึกษาแห่งชาติ ทีม่ า : ศุภชยั บญุ สทิ ธ.์ิ 2548 : 34 ขั้นเตรียมการวางแผนควรดำเนินการโดยทำความเข้าใจขอบข่ายงานอำนาจหน้าที่บทบาทของ ผู้นิเทศแล้วจึงเริ่มจัดทำแผนและโครงการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน โดยนำผลจากการศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของโรงเรียนมา จัดลำดับความสำคัญรวมทั้งศึกษานโยบาย วตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวปฏิบตั ิของหนว่ ยเหนือเพือ่ จัดทำแผนให้สนองตอบในส่วนทเี่ กี่ยวข้องกับการนิเทศภายใน โรงเรียน ขั้นลงมือปฏบิ ตั ิการวางแผน ในข้ันนี้ผบู้ ริหารควรจะได้มีการจัดประชุมโดยนำประเด็นปัญหาและ ความต้องการที่สำคัญ ซึ่งได้จากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการรวมทั้งนโยบายของหน่วย

9 เหนือมาพิจารณา เพื่อสรุปว่าในแต่ละปีโรงเรียนสามารถจัดการปัญหาหรือปรับปรุงพัฒนางานใดได้มากน้อย เพียงใด ขั้นประสานการวางแผนต้องมีการทบทวนเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวปฏิบัติและเวลาที่กำหนด แลว้ จงึ ดำเนนิ การประสานคนและประสานงานเพื่อให้ฝ่ายต่าง ๆ สามารถดำเนินงานได้ด้วยดีขั้นเตรียมนำแผน ไปปฏิบัติในขัน้ นี้โรงเรียนควรจัดทำคู่มือการปฏบิ ัติหรือทำแผนปฏิบตั ิงานออกมาเป็นรูปเล่ม และจัดทำปฏิทิน ปฏิบัติงานเป็นหลักฐานเพื่อสะดวก การปฏิบัติงานของทุกฝ่ายและเพื่อสะดวกต่อการติดตามผลงานภายหลัง ซง่ึ ในแผนปฏบิ ตั งิ านนิเทศภายในโรงเรยี นจะตอ้ งประกอบด้วยโครงการซึ่งควรมสี าระสำคัญ ดงั น้ี 1. หลักการและเหตผุ ล 2. วัตถปุ ระสงค์ 3. เปา้ หมาย 4. กจิ กรรมสำคญั 5. ปฏทิ นิ ปฏิบตั งิ าน 6. ทรพั ยากรที่ต้องการ 7. การประเมนิ ผล 8. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั จากการปฏบิ ัติการนเิ ทศ ขน้ั ตอนที่ 3 การสร้างสื่อและเครอื่ งมอื สื่อและเครื่องมือในการนิเทศการศึกษาจำแนกตามลักษณะใช้งานได้ 2 ชนิด คือ สื่อสำหรับใช้ใน การตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งได้แก่ แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบประเมิน แบบสังเกต ตลอดจนแฟ้มทะเบียน นกั เรยี น และส่อื สำหรบั สง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษา ไดแ้ ก่ กรณตี วั อยา่ งการแสดงบทบาทสมมติ ค่มู ือครู ชดุ การ เรียน หนงั สืออ่านประกอบวารสารการนิเทศ ศูนยว์ ิชาการ ชดุ ฝึกอบรม นทิ รรศการและเครอ่ื งโสตทศั นปู กรณ์ เปน็ ต้น ข้ันตอนที่ 4 การปฏิบัติการนเิ ทศ การปฏิบัติการนิเทศ หมายถึง การปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในโครงการนิเทศ ภายในโรงเรยี น ซึ่งผบู้ ริหารจะต้องนำหลักการนเิ ทศ เทคนคิ ทักษะ ส่ือ และเคร่อื งมือนเิ ทศไปใช้เหมาะสมกับสถานการณ์และ บุคลากรผูร้ ับการนเิ ทศ เพื่อให้การปฏิบัติการนิเทศเป็นไปด้วยความเรียบร้อยผู้บริหารโรงเรียนควรดำเนินการ ดงั นี้ เตรียมความพร้อมก่อนการนิเทศ ควรจัดให้มีการประชุมคณะปฏิบัติงาน เพื่อซักซ้อมความเข้าใจ เกีย่ วกับวิธีการ กจิ กรรม สอื่ เครื่องมือ การบันทกึ ผลการประเมนิ ผล การสรุปผลการนเิ ทศ การปฏิบัติการนิเทศ ดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในโครงการนิเทศภายในโรงเรียน ผู้บริหาร ไม่ควร ละเลยเกี่ยวกับการส่งเสริมแรงใจ ให้กำลังใจ รับทราบปัญหาความต้องการของครูและนำเอาปัญหาความ ตอ้ งการน้ันมาพจิ ารณาทางชว่ ยเหลอื สนับสนนุ ซึ่งในการปฏบิ ัติการนิเทศน้ีผู้บรหิ ารจะให้การนิเทศทางตรง คือ ผู้นิเทศปฏิบัติการนิเทศด้วยตนเอง โดยปฏิบัติตามโครงการแผนงานและการใช้สื่อการนิเทศต่าง ๆ รวมทั้ง วิธกี ารนเิ ทศท่ีเตรยี มไว้หรือใชก้ ารนเิ ทศทางอ้อม ซ่ึงเป็นวิธกี ารนเิ ทศโดยใชส้ ือ่ การนิเทศแทนผ้นู ิเทศ ได้แก่ การ

10 ใช้คู่มือครู การแนะนำ แนะนำ จุลสาร เทป สไลด์วดิ ีโอเป็นต้น รวมทั้งการใช้วทิ ยากรที่มคี วามเชี่ยวชาญสาขา ต่าง ๆ ช่วยแนะนำก็ได้ ในการปฏบิ ตั ิการนิเทศในโรงเรยี นให้ได้ผลดนี น้ั ศุภชัย บญุ สทิ ธ์ิ (2548 : 37) ได้นำเสนอขั้นตอน ไว้ 5 ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. ประชมุ ผเู้ กี่ยวข้อง 2. ปฏบิ ัติการนิเทศตามแผน/โครงการ 3. ประชมุ ทบทวนการปฏิบัตงิ าน 4. ประชุมสรปุ ผลการนเิ ทศ 5. นำข้อมลู ไปใช้ดำเนนิ การต่อไป ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและรายงานผล การประเมินผลการนิเทศ หมายถงึ การตรวจสอบความสำเรจ็ ของโครงการกบั วัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซ่ึงผ้นู ิเทศควรประเมินผลตั้งแต่การเตรยี มงานก่อนนิเทศเมื่อเร่ิมปฏิบตั ิ ระหวา่ ง ปฏบิ ตั ิ สุดโครงการและเมื่อส้ินขน้ั ตอนการประเมินควรประกอบดว้ ย ขน้ั เตรียมงาน ควรตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแผนงาน/โครงการ ข้นั เตรยี มปฏิบตั ิงาน ควรตรวจสอบปัจจยั บุคลากรสร้างความเขา้ ใจกับผูป้ ฏิบัติ ขน้ั ระหวา่ งปฏบิ ัติงาน ตรวจสอบเพื่อทราบปัญหาและอปุ สรรคขณะปฏิบตั งิ าน ข้ันสิ้นสดุ โครงการ ตรวจสอบผลรวมการปฏบิ ตั ิงานเปรียบเทียบกบั วัตถปุ ระสงค์ และ เป้าหมาย ซ่งึ ในการประเมนิ โครงการนน้ั ควรประเมนิ ท้งั ผลสมั ฤทธผ์ิ ลของการปฏบิ ตั ิงานตาม โครงการและ ปัญหาอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิตามโครงการด้วย ขนั้ สรปุ และรายงานผล ควรดำเนนิ การหลงั จากประเมนิ ผลเสรจ็ เรียบร้อยแล้วตามหวั ข้อ ดังน้ี 1. ช่ือโครงการ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 3. เป้าหมาย 4. ปญั หาและอุปสรรค 5. ผลสัมฤทธ์ิของโครงการ 6. ขอ้ เสนอแนะ 7. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 8. ผู้รายงาน แฮร์ริส (Harris. 1985 : 28) ได้เสนอขนั้ ตอนการนิเทศเปน็ 6 ขั้นตอนคือ 1. ประเมินสภาพการทำงานเป็นกระบวนการศึกษาถึงสภาพต่าง ๆ รวมทั้ง ข้อมูลที่จำเป็นที่จะ นำมาเปน็ ตวั กำหนดถึงความตอ้ งการจำเปน็ เพือ่ กอ่ ให้เกดิ การเปลยี่ นซึ่งประกอบด้วยงานต่อไปนี้คือ 1.1 วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการศึกษาหรือพิจารณาธรรมชาติและความสมั พันธข์ องสิ่งต่าง ๆ

11 1.2 สงั เกตส่งิ ต่าง ๆ ดว้ ยความรอบคอบถีถ่ ว้ น 1.3 ทบทวนและตรวจสอบส่งิ ต่าง ๆ ด้วยความระมดั ระวงั 1.4 วัดพฤติกรรมการทำงาน 1.5 เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงาน 2. จดั ลำดับความสำคญั ของงานเป็นกระบวนการกำหนดเป้าหมาย จุดประสงค์และกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามลำดับความสำคัญ ประกอบดว้ ย 2.1 กำหนดเป้าหมาย 2.2 ระบุจดุ ประสงค์ในการทำงาน 2.3 กำหนดทางเลือก 2.4 จดั ลำดบั ความสำคญั 3. ออกแบบวิธกี ารทำงานเปน็ กระบวนการวางแผนหรือกำหนดโครงการต่าง ๆ เพื่อกอ่ ให้เกิด การเปลย่ี นแปลง ประกอบด้วย 3.1 จัดสายงานให้สว่ นประกอบต่าง ๆ มคี วามสมั พนั ธ์กัน 3.2 หาทฤษฎีหรือแนวคดิ ไปสู่การปฏิบัติ 3.3 เตรยี มการตา่ ง ๆ ใหพ้ ร้อมท่ีจะทำงาน 3.4 จัดระบบการทำงาน 3.5 กำหนดแผนในการทำงาน 4. จดั สรรทรัพยากร เปน็ กระบวนการกำหนดทรัพยากรตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ในการ ทำงาน ประกอบด้วย 4.1 กำหนดทรัพยากรท่ีตอ้ งใชต้ ามความต้องการของบคุ คลหรอื โครงการต่าง ๆ 4.2 จดั สรรทรพั ยากรไปให้หน่วยงานตา่ ง ๆ 4.3 กำหนดทรพั ยากรทีจ่ ำเป็นตอ้ งใช้สำหรับจดุ มงุ่ หมายบางประการ 4.4 ออกแบบทรัพยากร 4.5 มอบหมายบุคลากรให้ทำงานในแตล่ ะโครงการหรือแต่ละเป้าหมาย 5. ประสานงาน เปน็ กระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องกบั คน เวลา วัสดุ อุปกรณแ์ ละ สงิ่ อำนวยความ สะดวกทุก ๆ อย่างเพื่อจะทำใหก้ ารเปล่ียนแปลงบรรลผุ ลสำเร็จ ไดแ้ ก่ 5.1 ประสานการปฏิบัติงานในฝา่ ยตา่ ง ๆ ใหด้ ำเนนิ การไปดว้ ยความราบร่ืน 5.2 สร้างความกลมกลืนและความพร้อมเพรยี งกนั 5.3 ปรับการทำงานในส่วนตา่ ง ๆ ให้มปี ระสทิ ธิภาพใหม้ ากทส่ี ดุ 5.4 กำหนดเวลาในการทำงานในแต่ละชว่ ง 5.5 สรา้ งความสมั พนั ธใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ 6. นำสกู่ ารปฏิบตั เิ ปน็ กระบวนการที่มีอิทธิพลต่อการปฏบิ ัติเพื่อใหเ้ กิดสภาพทีเ่ หมาะสมสามารถ บรรลุผลแห่งการเปลี่ยนแปลงใหม้ ากทส่ี ุด ไดแ้ ก่

12 6.1 การแต่งตงั้ บุคลากร 6.2 กำหนดแนวทางหรือกฎเกณฑ์ในการทำงาน 6.3 กำหนดแบบแผนเก่ยี วกบั เวลา ปริมาณ หรอื อัตราเร็วในการทำงาน 6.4 แนะนำการปฏิบัตงิ าน 6.5 ชี้แจงกระบวนการทำงาน 6.6 ตดั สนิ ใจหาทางเลอื กในการปฏิบัติงาน ณรงค์ ไชยชมพู (2550 : 25) ไดเ้ สนอกระบวนการนิเทศภายในไว้ว่า การดำเนนิ การนิเทศภายใน สถานศึกษาควรเปน็ กระบวนการต่อเน่ืองกนั ดงั นี้ ขั้นเตรียมการนิเทศ เป็นขั้นตอนการสำรวจความต้องการจำเป็น สำรวจ ปัญหาหรือ ข้อบกพร่องที่ทำให้งานไม่บรรลุผลมาใช้ประกอบการทำโครงการ โดยสำรวจความต้องการของครูจัดลำดับ ความสำคัญของปัญหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา จัดลำดับกำหนดทางเลือกการแก้ปัญหาและกำหนด กจิ กรรมให้เหมาะสมสำหรบั แผนงานโครงการของสถานศึกษาต่อไป ข้ันวางแผนการนิเทศ เป็นการดำเนนิ การตอ่ จากขั้นท่ี 1 โดยนำทางเลอื กในการแก้ปัญหามา กำหนดกิจกรรมโดยเขียนเป็นโครงการนิเทศ ซ่ึงจะต้องระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและมี ผู้รับผดิ ชอบทช่ี ัดเจน ขน้ั ปฏิบตั ติ ามแผนการนเิ ทศ เป็นการปฏิบตั ิงานโดยการนำโครงการนิเทศที่ได้รับการอนุมัติ จากผบู้ รหิ ารแลว้ นำไปสู่การปฏบิ ัติ โดยคำนงึ ถงึ หลักการนเิ ทศ ส่ือ เครอื่ งมือ การนเิ ทศ การเตรียม ความพรอ้ มสรา้ งความเขา้ ใจรวมท้ังช่วยเหลอื สนบั สนุนจากผ้บู รหิ าร ขั้นประเมินการนิเทศเป็นการตรวจสอบผลการดำเนินงานตามโครงการนิเทศ โดยการ พิจารณาผลสมั ฤทธ์ติ ามวัตถุประสงค์ และนำผลการประเมนิ มาเป็นข้อมูลในการ ปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป ขั้นปรับปรุงแก้ไขวิธีการเป็นขั้นตอนการนิเทศที่ต้องรีบดำเนินการทันที หากพบว่ามีสิ่งใด บกพร่องหรือไม่เป็นไปตามเป้าหมายก็จะต้องปรับปรุงแก้ไขในแต่ละขั้นของการดำเนินงานการปรับปรุงแก้ไข จึงสามารถกระทำไดต้ ลอดการดำเนนิ งานจนกระทัง่ เม่ือส้ินสดุ การนิเทศก์ สรุปได้ว่ากระบวนการนิเทศการศึกษามีขั้นตอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพ ปัจจุบันปัญหาและความต้องการ ขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศ ขั้นที่ 3 การสร้างสื่อและเครื่องมือ ขั้นที่ 4 การปฏิบัตกิ ารนิเทศ ขั้นที่ 5 การประเมนิ ผลและรายงานผล โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ ขั้นท่ี 1 การศึกษาสภาพปัจจุบนั ปัญหาและความตอ้ งการ เป็นการกำหนดปัญหาและความตอ้ งการในการแกป้ ญั หาหรือพฒั นา ดงั นี้ 1.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาวางแผนการ ดำเนนิ งาน 1.2 การแลกเปลี่ยนระดมความคิด วิเคราะห์เพื่อหาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและความ ต้องการในการพัฒนาตามบริบทของหนว่ ยงาน

13 1.3 การจดั ลำดบั ปัญหาและเลือกปญั หาทเี่ ป็นความจำเป็นหรือตอ้ งการในลำดับเร่งด่วน หรือลำดับที่เห็นว่าสำคัญที่สุด เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสำนักเข พื้นที่ 1.4 การสร้างการรับรู้ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การ ประชุม การสมั มนา ฯลฯ เพือ่ สรา้ งวิสัยทัศนห์ รอื สรา้ งเปา้ หมายร่วมกันในการดำเนินงาน ข้ันที่ 2 การวางแผนการนเิ ทศ เป็นการนำปัญหาและความต้องการ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในการจัดทำแผน นิเทศ โดยให้สอดคลอ้ งกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ดงั น้ี 2.1 กำหนดแนวทาง/วิธีการพัฒนาทหี่ ลากหลายตามปัญหาท่ีเกิดขนึ้ ตามความต้องการ และจำเป็น มีการใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาวิชาชีพครูและการพัฒนาผู้เรียน อย่างระบบและตอ่ เนื่อง 2.2 เลือกแนวทาง/วิธกี ารในการพัฒนาโดยการมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝ่ายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2.3 วางแผนการดำเนนิ งานพัฒนา 1) การประชุมเตรียมการนเิ ทศของศึกษานิเทศก์ เพ่ือสรา้ งความรู้ความเข้าใจ และ แนวทางการนิเทศรว่ มกนั 2) กำหนดประเด็นการนิเทศ ร่วมกันโดยวิเคราะห์จากปัญหา ความต้องการของ โรงเรยี นและนโยบายของต้นสังกดั 4) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกำหนดระยะเวลาในการนิเทศที่เหมาะสม กบั การแก้ปญั หาและการพัฒนา 5) กำหนดวิธีการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่เหมาะสมตามสภาพปัญหาและ ความต้องการ เช่น การประชุมสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสังเกตช้ันเรียน การสาธิต การบันทึกวีดีโอ และการถา่ ยภาพ การสัมภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ เป็นต้น 2.4 จัดทำแผนนิเทศ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการดำเนินการ ประเด็นหรือรายการนิเทศ กิจกรรมสำคัญ ปฏิทินการปฏิบัติงาน ทรัพยากรที่ต้องการ เครือ่ งนิเทศ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ข้นั ที่ 3 การสร้างส่ือและเครอื่ งมอื สื่อและเครื่องมือนิเทศเป็นสิ่งที่จะช่วยให้การนิเทศมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นสิ่งที่จะช่วยเก็บรายละเอียดที่ผู้รับการนิเทศไม่สามารถแสดงออกมาได้ และสามารถเก็บข้อมูลนำมา เปรียบเทียบผลท่ีเกิดขึ้นเพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนา และสิ่งที่ทำใหม้ ีความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้นิเทศและ ผู้รบั การนิเทศ 3.1 สร้างสื่อการนิเทศท่ีทำให้การนิเทศบรรลวุ ัตถุประสงค์ เช่น วิธีการนิเทศ ทักษะการ นเิ ทศ เทคนิคการนิเทศ โดยเป็นสอ่ื ท่ีสอดคลอ้ งในยคุ ศตวรรษที่ 21

14 3.2 สร้างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข้อมูลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนา ตรวจสอบ ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน และการประเมินผลการดำเนินงานซึ่งเป็นเครื่องมือที่มี คุณภาพ ใช้ง่าย สามารถเก็บข้อมูลที่ตอบประเด็นปัญหาความต้องการ และเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหา ปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ขนั้ ท่ี 4 การปฏบิ ัติการนิเทศ ดำเนนิ การนิเทศตามวิธีการนเิ ทศและกจิ กรรมท่กี ำหนด 4.1 ประชุมเตรียมการก่อนการนิเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจของผู้นิเทศให้การนิเทศ เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4.2 นเิ ทศตามขนั้ ตอน ระยะเวลา และใชเ้ คร่อื งมือตามท่กี ำหนด 4.3 การสะทอ้ นผลการนิเทศ 4.4 ปรับปรุงและพฒั นาการดำเนนิ งาน ข้ันท่ี 5 การประเมินผลและรายงานผล 5.1 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงาน เช่น การดำเนินงานของผู้รับการนิเทศ เพอื่ นำผลไปปรบั ปรุงแนวทางการดำเนินงาน 5.2 ประเมินผลการนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติการนิเทศตามระยะเวลาที่ต้องการใน การนำผลไปใช้ในการพฒั นา 5.3 รายงานผลการนิเทศตอ่ ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง 5.4 นำผลการนิเทศที่เป็นปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศในครั้ง ต่อไป หรือในปีการศึกษาต่อไป รปู แบบการนเิ ทศ ในการนเิ ทศ ติดตาม โรงเรียนสามารถเลอื กใช้รูปแบบหรือเทคนิคการนิเทศตามดลุ พนิ จิ ของตนอย่าง อสิ ระ ตามรูปแบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การนเิ ทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) ทฤษฎีการนเิ ทศตามรปู แบบของโกลด์แฮมเมอร์ ได้เสนอรูปแบบ (Model) การนเิ ทศ แบบคลนิ กิ ไว้ 5 ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การประชุมปรึกษาก่อนการสังเกตการสอน (pre-observation conference) เป็น พืน้ ฐานของความเข้าใจและตกลงรว่ มกันระหว่างครูและผู้นิเทศเกยี่ วกับการจัดการเรยี นการสอน ขั้นที่ 2 การสังเกต การสอน (observation) ซ่ึงผนู้ เิ ทศจะดำเนนิ การสงั เกตการสอนของครู ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลและกำหนดวิธีการประชุมนิเทศ (analysis and strategy) คือ การ รวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการสอนให้เป็นหมวดหมู่เป็นระบบเพื่อนำมาวิเคราะห์ ผู้นิเทศและครูจะร่วมกันคิด วางแผนข้นั ตอนของการประชุมนิเทศดว้ ย ขั้นที่ 4 การประชมุ นเิ ทศ (supervision conference) เปน็ การใหข้ อ้ มูลป้อนกลับ

15 เก่ียวกบั พฤติกรรมการสอนของครู ขั้นที่ 5 การประชุมวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศ (post-conference analysis)เป็นการ เปิดโอกาสให้ครแู ละผนู้ ิเทศได้ปฏบิ ัติตัง้ แตเ่ ริ่มตน้ ในข้นั ตอนท่ี 1 จนถึงขัน้ ตอนที่ 4 เพื่อค้นหาถึงพฤติกรรมการ นิเทศท่ีดี และที่บกพร่องสมควรปรับปรุงโดยที่ครูมีส่วนรับผิดชอบที่จะให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับพฤติกรรม การนเิ ทศ 2. การนเิ ทศแบบระบบพ่ีเล้ียง (Mentoring Supervision) Mentoring หมายถึง ผูท้ ม่ี ีความรู้ ความสามารถเปน็ ท่ียอมรับทส่ี ามารถให้คำปรึกษาและแนะนำ ช่วยเหลือครูเพ่ือพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ พ่ีเลี้ยง หรือ Mentor จะดูแลครู ครูที่ได้รับการดูแลจากพี่เลี้ยง เรียกว่า Mentee บางองค์กรจะเรียกระบบพี่เลี้ยง หรือ Mentoring System นี้ว่า Buddy System ซึ่งเป็นระบบที่พี่จะต้องดูแลเอาใจใส่น้อง คอยให้ความช่วยเหลือ และให้คำปรกึ ษาแนะนำ เมอ่ื Mentee มปี ญั หา คณุ ลักษณะของ Mentor 1. มีทกั ษะในการสร้างปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ ื่น (Interpersonal Skills) 2. มที ักษะในการจูงใจ (Influence Skills) 3.การยอมรับผลสำเร็จในการทำงานของผู้อ่ืน (Recognized other’s accomplishment) 4. การมีทกั ษะในการนเิ ทศ (Supervisory Skills) 5. มเี ทคนคิ ในสายวิชาชพี (Technical Knowledge) บทบาทหนา้ ทขี่ อง mentor 1. Guide Mentor จะเป็นผู้แนะแนวแก่กล่มุ Mentee ในการระมดั ระวงั ปญั หาและ อปุ สรรคตอ่ การทำงาน 2. Ally Mentee เป็นพันธมติ รที่คอยใหข้ ้อมูลแก่ Mentee 3. Catalyst Mentor เปน็ ผู้กระตนุ้ ใหก้ ลุ่ม Mentee มองภาพวิสยั ทัศน์และอนาคตของ สถานศกึ ษาว่าจะไปในทิศทางใด 4. Savvy Insider Mentor เป็นผู้มคี วามรู้ ทกั ษะ และประสบการณใ์ นการจัดการศึกษาให้ มีแนวทางในการจัดการศึกษาให้ประสบความสำเร็จและสามารถให้แนวทางแก่กลุ่มMentee ในการจัด กิจกรรมการเรยี นรใู้ หบ้ รรลุตามเป้าหมายทีส่ ถานศึกษากำหนด 5. Advocate ในขณะท่ีกล่มุ Mentee เกิดการเรียนรู้น้ัน สมาชิกจะเริม่ มองเหน็ ว่าตนเอง สามารถผลกั ดันความเจริญกา้ วหนา้ และแผนพัฒนาความก้าวหนา้ ด้วยตนเอง Mentor จะทำหนา้ ที่ชว่ ยให้ Mentee ได้มีโอกาสแสดงความสามารถให้เหน็ เป็นทปี่ ระจกั ษ์

16 3. การนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching Supervision) เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) เป็นการชี้แนะครู โดยผู้ชี้แนะ (Coach) อาจเป็น ศึกษานเิ ทศก์ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผนู้ ิเทศภายในทีส่ ามารถเป็นผชู้ ี้แนะได้ ผไู้ ด้รบั การช้ีแนะ (Coached) ส่วน ใหญ่เป็นครูในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเน้นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ( Individual performance) และพฒั นาศกั ยภาพ (Potential) ของครู Coaching เป็น การสื่อสารอย่างหนึ่งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เป็นการสื่อสารแบบสองทาง ( Two way Communication) ผนู้ ิเทศและครไู ดร้ ่วมกนั แกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวปฏบิ ัติการนเิ ทศแบบชแี้ นะ 1. กำหนดเวลาให้เหมาะสมกบั เนื้อหาท่ีต้องการชี้แนะ 2. มีความพรอ้ มในการช้ีแนะ 3. สขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง 4. วธิ ีการชี้แนะมคี วามเหมาะสมกบั เนือ้ หาสาระและผู้รับการนิเทศ 5. ศกึ ษาข้อมลู เก่ียวกบั เน้อื หา/ขอบเขตของงานท่นี เิ ทศโครงสรา้ งสถานศึกษา วิสยั ทศั น์ นโยบายตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา ข้อมลู เกยี่ วกับผู้รบั การนเิ ทศ 6. เตรียมความพรอ้ มด้านสื่อ อุปกรณ์ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการนเิ ทศช้ีแนะ 7. เขา้ ใจจิตวทิ ยาการเรยี นรู้ของครู 4. การนิเทศแบบ Coaching & Mentoring Coaching เป็นการชี้แนะ/สอนงานให้แก่ผู้ถูกชี้แนะ โดยผู้ชี้แนะ (Coach) อาจเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้นิเทศภายในหรือศึกษานิเทศก์ที่สามารถเป็นผู้ชี้แนะ สอนงานได้ ผู้ถูกชี้แนะ(Coached) ส่วน ใหญ่เป็นครูที่อยู่ในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเน้นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน (Individual Performance) และพัฒนาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เป็นการสื่อสารอย่างหนึ่งที่เป็นทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการระหว่างผู้ช้แี นะและผู้ถกู ชแ้ี นะ เป็นการส่ือสารแบบสองทาง (Two way Communication) ทำให้ได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผเู้ รียนต่ำ ผเู้ รียนออกกลางคนั สื่อทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไม่มีคุณภาพ ซ่งึ การรว่ มกนั แก้ไขปัญหา ดงั กล่าวกอ่ ใหเ้ กิดความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผ้ชู ี้แนะ (Coach) และผู้ถูกชีแ้ นะ (Coached) อย่างไรก็ตามการที่ จะ Coaching ได้ดีน้นั ต้องมคี วามพร้อมทงั้ ผู้ชีแ้ นะและผถู้ กู ชีแ้ นะ แนวทางการชีแ้ นะ การช่วยเหลือครูจำเป็นต้องใช้กลุ่มบุคคล บทบาท และกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อนำพาครู ไปส่จู ดุ หมายที่พึงประสงค์ การนเิ ทศเป็นการดำเนนิ การโดยผู้มีประสบการณ์ในการใช้กระบวนการวธิ ีการ ตา่ ง ๆ ในการให้ ความช่วยเหลือ อำนวยการ กำกับ ดูแล เพื่อคุณครูสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถได้ตามเป้าหมายของ องคก์ ร

17 การเป็นพี่เลย้ี ง เป็นวิธีการที่ผู้ที่มีประสบการณ์ให้ความช่วยเหลือผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ให้ได้รับการ พัฒนาทั้งเรื่องวิชาชีพและการดำเนินชีวิตให้พัฒนาไปสู่เป้าหมายที่ได้ว างไว้ร่วมกันการอบรมเป็นวิธีการให้ ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบตั ิงาน โดยมีหลกั สูตรและวิธีการใน การดำเนินการเฉพาะให้ได้ผลตามมาตรฐาน ท่ีวางไว้ การชี้แนะเป็นวิธีการในการพัฒนาสมรรถภาพการทำงานของคุณครู โดยเน้นไปที่การทำงานให้ ไดต้ ามเป้าหมายของงานนนั้ หรือ การช่วยให้สามารถนำความรู้ความเขา้ ใจท่ีมีอยแู่ ละ/หรอื ได้รบั การอบรมมา ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิได้ เครื่องมอื การชีแ้ นะ เครื่องมือสำคัญของการชี้แนะคือ รูปแบบการใช้ภาษาแบบต่าง ๆ ที่ช่วยให้ครูเกิดการเรียนรู้ รูปแบบการใชภ้ าษาของผชู้ ้แี นะเหล่าน้ี จะเปน็ แบบอย่างให้ครูนำไปใชใ้ นการชีแ้ นะตนเองได้ในภายหลัง การใช้ ภาษาในการชี้แนะ มคี ณุ ภาพและระดับท่ีแตกต่างกันไป ซ่ึงผชู้ แี้ นะต้องเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ใน สถานการณ์ที่ครูประสบปัญหาในการสอน ผู้ชี้แนะจำนวนมากมักมีแนวโน้มบอกวิธีการแก้ปัญหาหรือให้ แนวทางแก่ครูเป็นหลัก แทนที่จะช่วยให้ครูได้คิดและหาวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งผู้ชี้แนะต้องตัดสินใจ เลือกโดยการถามตวั เอง จำนวน 3 คำถามคือ 1. เราควรบอกวิธีการแก้ปัญหาไปเลยหรอื ไม่ 2. เราควรร่วมมือกับคุณครูในการแก้ปัญหา ด้วยการให้ข้อมูลบางอย่างและหาทางแก้ ร่วมกนั หรือไม่ 3. เราควรใหค้ ณุ ครูได้เรยี นรู้และแก้ปญั หาด้วยตวั เองหรือไม่ การนเิ ทศแบบ Mentoring Mentoring การเป็นพ่ีเล้ียง (Mentor) เป็นการให้ผ้ทู ม่ี ีความรู้ความสามารถหรือเป็นท่ยี อมรับ หรือผู้บริหารในหน่วยงานให้คำปรึกษาและแนะนำช่วยเหลือรุ่นน้องหรอื ผู้ทีอ่ ยู่ในระดับ ต่ำกว่า (Mentee) ใน เรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานเพื่อให้มีศักยภาพสูงขึ้น การเป็นพี่เลี้ยงอาจ ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ในปัจจุบัน โดยตรงการ Mentoring นอกจากใชก้ บั พนักงานใหม่แล้ว ยังสามารถนำวธิ ีการน้ีมาใช้กบั พนักงานท่ีปฏิบัติงาน ในองค์กรมาก่อน โดยคุณลักษณะของผู้ที่เข้าข่ายของการเป็นMentee ในองค์กรได้นั้น ควรมีคุณลักษณะท่ี สำคัญ ดังตอ่ ไปน้ี 1. เป็นผูท้ ี่มปี ระวตั ิในการทำงานที่ประสบความสำเรจ็ 2. เป็นผูท้ ีม่ คี วามเฉลียวฉลาดและมีความคิดสรา้ งสรรค์ในการทำงาน 3. เป็นผูท้ ีม่ คี วามผูกพนั กับบริษัทและผกู พันกับหน้าที่การงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4. เป็นผูท้ ม่ี ีความใฝฝ่ ันและความปรารถนาทจี่ ะทำงานให้บรรลเุ ป้าหมาย 5. เป็นผทู้ ่ชี อบความท้าทายและเตม็ ใจพรอ้ มทจี่ ะทำงาน 6. เป็นผู้ท่มี ีความปรารถนาท่ีจะได้รบั ความก้าวหน้าและการเตบิ โตในสายอาชีพ

18 7. เป็นผู้ที่เต็มใจรับฟังคำชี้แนะและข้อมูลป้อนกลับจากหัวหน้างานและคนรอบข้างเพื่อการ พฒั นาและปรับปรุงตนเองอยเู่ สมอ บทบาทหนา้ ทขี่ อง Mentor ในองค์กรแห่งการเรียนรู้ซึ่งทุกคนต้องเรียนรู้ไปพร้อมกันเป็นทีมนั้น Mentoring แบบกลุ่มมี ความเหมาะสม ที่จะนำมาใช้พัฒนาบุคคลในองค์กรได้ดี โดย Mentor หรือ Learning Leader จะทำหน้าที่ ดังนี้ 1. Guide เป็นผู้คอยชี้ช่องทางแก่กลุ่ม Mentee และคอยเตือนให้ระมดั ระวังจุดอันตราย แต่ จะไม่เป็นผู้ตัดสินใจเลือกทางให้ จะช่วยให้กลุ่มมองเห็นภาพขององค์กรในอนาคต เพื่อกลุ่มย้อนไปดูว่าการที่ เขาก้าวหน้าในงานขึ้นมาจนอยู่ในตำแหน่งปัจจุบัน เขาได้ใช้ทักษะ วิธีการและพฤติกรรมที่ดีหรือไม่ดีอย่างไร บา้ ง นอกจากนย้ี ังคอยตัง้ คำถามที่กระต้นุ ให้กลุ่มหาคำตอบซง่ึ จะทำให้ กลุ่มสามารถมองเห็นกลยุทธ์และเทคนิคใหม่ ๆ ที่จะนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ การเรียนรู้ Mentee ไม่ไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณข์ องตนเองเท่านั้น แต่จะเรียนรูจ้ ากประสบการณข์ อง Mentee อ่นื ๆ ในกลมุ่ ด้วย 2. Ally เปน็ พนั ธมติ รท่คี อยให้ขอ้ มูลแก่ Mentee แต่ละคนในกลมุ่ วา่ บคุ คลนอกกล่มุ เขามอง จุดอ่อน จุดแข็งของ Mentee แต่ละคนอย่างไร หาก Mentee เล่าถึงปัญหาของตนก็จะฟังอย่างตั้งใจเห็นอก เห็นใจ แล้วใหข้ ้อมลู ความเหน็ ทง้ั ทางดแี ละทางไม่ดีอย่างตรงไปตรงมาและเป็นมิตร 3. Catalyst เป็นผู้กระตุ้นให้กลุ่มมองภาพวิสัยทัศน์ขององค์กรและอนาคตของตนเอง ชี้ให้เห็นว่าในอนาคตจะมีอะไรที่เป็นไปได้เกิดขึ้นบ้างแทนการคาดการณ์ การมองภาพในอนาคตนั้นให้มอง ออกไปนอกแวดวงการทำงานของแต่ละคนดว้ ย 4. Savvy Insider Mentor เป็นผู้ซึ่งอยู่ในหน่วยงานมานาน พอจะรู้ว่างานต่าง ๆ ใน หน่วยงานประสบความสำเร็จได้อยา่ งไร รู้ล่ทู างว่าหาก Mentee ในกลมุ่ แตล่ ะคนจะกา้ วหนา้ บรรลเุ ป้าหมายท่ี กำหนดไว้จะต้องเดินไปทางไหน จะเป็นผู้ทำหน้าที่เชื่อมโยง Mentee กับบุคคลอื่นในองค์กรที่สามารถช่วย ให้Mentee เกิดการเรยี นร้ไู ด้ 5. Advocate ในขณะที่กลุ่มเกิดการเรียนรู้นั้น สมาชิกจะเริ่มมองเห็นว่าตนเองสามารถ ผลักดันความเจริญก้าวหน้าและพัฒนาแผนความกา้ วหน้าได้ด้วยตนเอง Mentor จะทำหน้าที่ช่วยให้Mentee ได้มี โอกาสแสดงความสามารถให้เห็นเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้บังคับบัญชา (Visibility) เช่น เมื่อ Mentee เสนอ โครงการปฏิบัติงานที่เห็นว่าดี ก็พยายามผลักดันให้โครงการน้ันได้รับอนุมัติให้ดำเนินการได้เพื่อ Mentee จะ ไดม้ ีโอกาสแสดงความรคู้ วามสามารถ กล่าวโดยสรุป Coaching คือการเป็นผู้สอนให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องของงานที่ รับผิดชอบ โดยผู้รับการสอนจะเป็นผู้ที่มีผลงานอยู่ในระดับมาตรฐาน ส่วนการ Mentoring นั้นเป็นการให้ คำปรึกษาและแนะนำช่วยเหลือให้กับพนักงานใหม่หรือพนักงานที่มีอยู่เดิมที่มีผลงานอยู่ในระดับสูงกว่า มาตรฐาน ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานและอื่น ๆ ที่จะทำให้ศักยภาพของพนักงานสูงขึ้น อันจะส่งผลต่อการ พัฒนาองค์กรต่อไปในอนาคต อย่างไรก็ตามทั้ง Coaching และ Mentoring ต่างก็เป็นเทคนิคในการพัฒนา

19 ทรัพยากรมนุษย์ ที่จะทำให้ทัง้ ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาทำงานไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ และองค์กรมีความ พร้อมในการรับการเปล่ียนแปลง มีผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น Mentor(พเ่ี ล้ียง) คือผู้ทมี่ ีประสบการณ์สูงและเช่ียวชาญเฉพาะทางปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั ผู้มปี ระสบการณ์น้อยกว่า สมั พนั ธภาพของพีเ่ ล้ยี งและผู้รว่ มงานจะเป็นสัมพันธภาพเชิงบวก มีการแลกเปลยี่ นความคิดเห็น การปฏิบัติตน เป็นต้นแบบและเคารพความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกัน นอกจากเป็นแม่แบบแล้วผู้ที่เป็น Mentor ยังต้องมีบทบาท ของการเป็นผู้สอนงานหรือผู้ชี้แนะ (Coach) ด้วย ทั้งนี้การเป็นพี่เลี้ยงและการเป็นผู้ฝึกสอนมุ่งเป้าหมายท่ีการ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้ร่วมงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล 5. การนเิ ทศแบบสอนและสะทอ้ นคดิ (Reflective Coaching Supervision) การนิเทศแบบสะท้อนคิด (Reflective Coaching Supervision) เป็นการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching Supervision) รูปแบบหนึ่งที่มุ่งให้ความสำคัญกับการสะท้อนกลับผลการสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ของผู้รับการนิเทศและให้ความสำคัญในเรื่องความร่วมมือในการทำงานระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศใน ฐานะทเี่ ปน็ partner ในการทำงานรว่ มกัน หลกั การสำคญั 1. ผนู้ ิเทศตอ้ งมีบทบาทเปน็ ผสู้ นับสนุนไม่ใชผ่ ปู้ ระเมนิ 2. เป็นการนิเทศที่ช่วยผู้รับการนิเทศจัดการปัญหาในการทำงานโดยมุ่งความสนใจไปท่ี นักเรียนใหม้ สี ่วนรว่ มในกิจกรรมท่ีคาดหวัง และอธิบายในเชงิ พฤติกรรมของผเู้ รยี น 3. การสะทอ้ นกลับจะทำให้ผู้รบั การนิเทศได้คน้ พบศักยภาพที่ดใี นการทำงาน กจิ กรรมในห้องเรยี น (Lesson day) กำหนดประเดน็ ท่ีต้องสงั เกตและวธิ ีการบนั ทึกขอ้ มลู การสะท้อนคิด (Reflective) จดบันทึกย่อประเดน็ ทสี่ งั เกตเลอื กประเด็นเปา้ หมายท่จี ะรว่ มหารือ การอภปิ รายร่วมกนั (Debriefing) ท้งั สองฝ่ายเขยี นบรรยายประเดน็ ที่สังเกตอย่างละเอยี ดมานำเสนอ รว่ มแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ภาพที่ 3 กระบวนการ Reflective Coaching

20 6. การนิเทศรูปแบบประชุม อบรม สมั มนา การประชุม อบรม สัมมนา เป็นรูปแบบการนิเทศที่มีศึกษานิเทศก์พบปะครูหรือผู้รับการนิเทศ ซึ่งอาจจะจัดเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ หรือกลุ่มย่อย ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาหรือสื่อที่จะใช้ในการนิเทศ การประชุม อบรม สมั มนาน้ัน มจี ุดประสงคส์ ่วนใหญ่เพ่ือให้ผู้รบั การนิเทศได้พัฒนาความรู้ แตป่ ระสบการณ์ที่เกิดข้ึนจะอยู่ ในระดบั กลาง (สงัด อุทรานนั ท์. 2530 : 107) การประชุม อบรม สมั มนามีลกั ษณะเป็นท่ีน่าสังเกต ดงั นี้ 1. การประชุมช้แี จง เปน็ การนิเทศที่ผู้นิเทศใช้กับผู้รบั การนิเทศที่มีจำนวนมากเพื่อนำเสนอ ข้อมลู แจง้ แนวปฏิบัติ ช้ีแจงการปฏิบตั ิงาน เปน็ ต้น สามารถดำเนินการเป็นกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กก็ได้ ผู้รับการ นิเทศจะได้รับความรู้หรือรับรู้เพื่อนำไปปฏิบัติ ผู้นิเทศเป็นผู้ดำเนินการอาจมีการอภิปรายซักถามระหว่างผู้ นิเทศกับผรู้ ับการนิเทศ 2. การประชุม อบรม สัมมนา เป็นการนิเทศที่ผู้นิเทศใช้กับผู้รับการนิเทศที่มีจำนวนมาก เพอื่ ให้ความรู้ สามารถดำเนนิ การเป็นกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กก็ได้ ผูน้ เิ ทศเป็นผู้ให้ความรู้ ส่วนผู้รับการนิเทศจะ ไดร้ บั ความร้ไู ดว้ ุฒิมากข้ึน 3. การประชุมปฏิบัติการ (Work Shop) เป็นการนิเทศที่ผู้นิเทศใช้กับผู้รับการนิเทศที่มี จำนวนมาก เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการนเิ ทศไดร้ ับความรู้และลงมือฝึกปฏิบัตจิ รงิ หรอื ปฏิบัติงานแก้ปญั หาดว้ ยกันเป็นกลุ่ม สามารถดำเนินการเป็นกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กก็ได้ ผู้รับการนิเทศจะได้รับความรู้และทักษะไปพร้อม ๆ กัน ผู้ นิเทศเป็นผู้ดำเนินการ อาจมีการอภิปรายซักถามระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ การประชุมปฏิบัติการนี้ผู้ นเิ ทศจะมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ ับผรู้ ับการนิเทศมาก จากการศึกษา สรุปได้ว่า รูปแบบการนิเทศแบบการประชุม อบรม สัมมนานี้ เป็นรูปแบบที่ผู้รบั การ นิเทศได้รับประสบการณ์ตรงและหลากหลายการเรียนรู้ ทำให้ได้รับความรู้ความสามารถนำไปพัฒนางาน โดยเฉพาะการจดั การเรียนรู้ไดเ้ ป็นอย่างดีย่ิง 7. การนิเทศทางไกล การนิเทศทางไกล หมายถึง การถ่ายโยงองค์ความรู้โดยใช้สื่อ สิ่งพิมพ์ที่ผู้นิเทศการศึกษาใช้ ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่มีต่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสดุ แก่ผู้เรยี นและสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2534 : 4) ให้ความหมายการนิเทศทางไกล หมายถึง การนิเทศการศึกษาที่ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศไม่มีปฏิสัมพันธ์กันโดยตรงต้องอาศัยสื่อต่าง ๆ ถ่ายทอดสาระในการนเิ ทศ 1. เนอ้ื หาเกีย่ วกบั นโยบายการศึกษาของหน่วยงานระดบั สงู เน้นนโยบายรัฐบาลสมยั ปัจจุบัน นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพื่อดำเนินการด้านการจัด การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายดังกล่าว 2. เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการศึกษา ได้แก่ วิธีการ สื่อ อุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

21 3. เนื้อหาเกี่ยวกับโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น ผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น ครูดีเด่น กิจกรรมสหกรณ์ดีเด่น กจิ กรรมประชาธิปไตยดเี ด่น เปน็ ต้น 4. ผลการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ วิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน เช่น การทดลองโดยใช้สื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ เกม เพลง นิทาน บทบาทสมมุติ ชุดการสอน รูปภาพ สไลด์ ฯลฯ การบริหาร เชน่ การสำรวจ ปัญหาการบรหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา ขวญั กำลงั ใจ การปฏิบัตงิ านของผู้บริหาร เป็นต้น 5. การนเิ ทศการศกึ ษา เช่น การประยุกตใ์ ชว้ ธิ กี ารนเิ ทศแบบคลนิ กิ ในโรงเรียนประถมศึกษา สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา เป็นต้น เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพการศึกษาสำหรับการนิเทศทางไกลในยุคการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นี้ มีส่ือเทคโนโลยีที่นำมาใช้เป็น เครื่องมือในการสื่อสารการนิเทศมากมาย เช่น การนิเทศผ่านกลุ่มไลน์ เฟสบุ๊ค เว็บไซต์ โทรศัพท์หลักในการ นเิ ทศทางไกล 5.1 การนเิ ทศทางไกลเป็นการนเิ ทศโดยผา่ นส่อื 5.2 การนเิ ทศทางไกลเปน็ การสอื่ สารทางเดียว ผูน้ เิ ทศจะไมไ่ ดร้ ับขอ้ มลู ยอ้ นกลับทันที 5.3 การนิเทศทางไกลต้องดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนื่องและสม่ำเสมอ 5.4 สื่อที่ใช้ในการนิเทศทางไกลต้องส่งถึงบุคคลกลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วนเพื่อปรับปรุง และเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ัตงิ าน 5.5 สื่อที่ใช้ในการนิเทศ เน้นความถูกต้อง ชัดเจน เบ็ดเสร็จในตัวเอง เหมาะสมกับสภาพ ปัญหาความตอ้ งการและสอดคล้องกับท้องถิ่น 8. การนเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร กรอบความคิดพื้นฐานของกัลยาณมิตรนิเทศ คือ หลักธรรมความเป็นกัลยาณมิตร ของ พระพทุ ธศาสนาและวัฒนธรรมไทย ไดแ้ ก่ ความมนี ้ำใจ การร่วมทกุ ขร์ ่วมสุข การชว่ ยเหลอื เกื้อกลู และแนวทาง ที่ถูกต้องด้วยการยอมรับนับถือและให้เกียรติซึ่งกันและกัน เป็นการนิเทศที่มุ่งพัฒนาคนมากกว่าการพัฒนา เอกสารและผลงาน โดยกัลยาณมติ ร 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ปิโย หมายถงึ น่ารัก สบายใจ สนิทสนม ชวนให้อยากปรึกษา 2. ครุ หมายถึง น่าเคารพ ประพฤติสมควรแก่ฐานะ รู้สึกอบอ่นุ เป็นท่ีพึ่งไดแ้ ละปลอดภัย 3. ภาวนีโย หมายถึง น่าเจริญใจหรือน่ายกย่อง ทรงคุณความรู้ และภูมิปัญญาแท้จริง ท้ัง เปน็ ผู้ฝึกอบรมและปรบั ปรงุ ตนอย่เู สมอ ควรเอาอย่าง ทำใหร้ ะลกึ และเอ่ยอ้างดว้ ยความซาบซึ้งภูมิใจ 4. อตฺตา จ หมายถึง รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยใหค้ ำแนะนำ ว่ากลา่ วตักเตือน เป็นทป่ี รึกษาที่ดี 5. วจนกฺขโมหมายถึง อดทนต่อถ้อยคำ พร้อมที่จะรับฟังคำปรึกษา ซักถาม คำเสนอแนะ วพิ ากษ์วิจารณ์ อดทนฟังได้ไมเ่ บ่ือไมฉ่ ุนเฉียว

22 6. คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา หมายถึง แถลงเรือ่ งล้ าลึกได้ สามารถอธิบายเรื่องยุ่งยากซับซ้อน ให้เข้าใจและ ให้เรยี นรเู้ รอ่ื งราวทล่ี ึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ไปได้ 7. โน จฎฐาเน นิโยชเน หมายถึง ไม่แนะนำในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย (พจนานุกรมพุทธศาสตร์: 2528) จะเหน็ ได้ว่า กัลยาณมิตรธรรม 7 นี้ มุ่งเนน้ ความปลอดโปรง่ ใจ ไม่บีบคั้น เน้นความมีน้ำใจ ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูล สร้างความเขา้ ใจ กระจ่างแจ้ง แนะแนวทางที่ถกู ตอ้ งด้วยการยอมรบั นบั ถอื ซ่ึงกนั และกัน สรุปได้ว่า กระบวนการกัลยาณมิตร คือ กระบวนการประสานสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เพ่ือ จุดหมาย 2 ประการ คือ 1) ช้ที างบรรเทาทุกข์ 2) ชีส้ ุขเกษมศานต์ โดยทุกคนตา่ งมีเมตตาธรรม พรอ้ มจะชแ้ี นะและ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน กระบวนการกัลยาณมิตร ช่วยให้บุคคลสามารถแก้ปัญหาได้โดยการจัดขั้นตอนตาม หลกั อริยสจั 4 ดังน้ี 8.การปฏบิ ัติเพื่อแก้ปัญหา มรรค ตามแนวทางท่ีถูกต้อง 7. การจัดลำดับจุดหมาย ของภาวะพ้นปัญหา 6. การรว่ มกันคดิ วิเคราะห์ ความเปน็ ไปไดข้ องการแก้ปัญหา 5. การกำหนดจดุ หมายหรือสภาวะพ้นปัญหา นิโรธ 4. การจัดลำดับความเข้มระดับของปัญหา 3. การรว่ มกันคิดวเิ คราะห์เหตุผลของปญั หา สมุทัย 2. การกำหนดและจัดประเด็นปญั หา ทุกข์ 1. การสรา้ งความไววา้ งใจ ตามหลกั กลั ยาณมติ รธรรม 7 ภาพที่ 4 ข้นั ตอนการสอนตามกระบวนการกลั ยาณมิตร

23 หากพจิ ารณาแผนภมู ิขา้ งตน้ กระบวนการนเิ ทศโดยช้ที างบรรเทาทกุ ข์ มีขนั้ ตอนคือ 1) การสร้างความไวว้ างใจ 2) การกำหนดปัญหาและแนวทางแก้ปญั หา 3) การศึกษา คน้ ควา้ คิดวเิ คราะหร์ ว่ มกันถงึ เหตปุ ัจจัยแห่งปัญหา 4) การจดั ลำดบั ความเข้มหรอื ระดับความซับซ้อนของปัญหา 5) การกำหนดจุดหมายของการแกป้ ญั หา หรอื วัตถปุ ระสงค์ของภารกจิ 6) การวิเคราะห์ความเป็นไปไดห้ รอื ทางเลอื ก 7) การจดั ลำดบั วัตถุประสงค์และวธิ ีการ 8) การกำหนดวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมหลาย ๆ วิธี แผนภูมิขั้นตอนชี้ทางบรรเทาทุกข์ และช้ี สุขเกษมศานต์นี้ นักการศึกษาส่วนใหญ่มุ่งนำไปใช้ในกิจกรรมการแนะแนวและการให้คำปรึกษา (Guidance and Counseling) แก่นักเรียนและนิสิต นักศึกษา อย่างไรก็ตามหากจะนำข้ันตอนดังกล่าวมาใช้ในการ แกป้ ัญหาทางการพัฒนาหลกั สูตรการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนและการพัฒนาครูก็ย่อมจะประยุกต์ใช้ได้ ปัจจยั ท่ีเกอ้ื หนุนกระบวนการกลั ยาณมติ ร การนำกระบวนการกลั ยาณมิตรมาใช้ในการพัฒนาครูและการปฏิรูปการศึกษามปี ัจจัยหลัก 4 ประการที่เก้ือหนนุ ให้ทกุ ขน้ั ตอนดำเนนิ ไปด้วยดี ได้แก่ 1) องคค์ วามรู้ 2) แรงหนนุ จากตน้ สังกดั 3) ผู้บริหาร ทุกระดบั 4) บุคลากรทั้งโรงเรยี น 1. องค์ความรู้การชี้แนะและช่วยเหลือกันในกลุ่มหรือหมู่คณะ ย่อมต้องอาศัยอุดมการณ์ เป้าหมายร่วมกัน และมีหลักการความรู้ที่ได้พิสูจน์เห็นจริงแล้วเป็นพื้นฐาน ตัวอย่าง เช่นการปฏิรูป กระบวนการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2540) ผู้เชี่ยวชาญถึง 5 คณะ ได้พัฒนา หลักการและความรู้เกี่ยวกับการสอนที่นักเรียนมีความสุข การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การสอนและการฝึก กระบวนการคิด การพัฒนาสุขภาวะ สุนทรียภาพทางศิลปะ ดนตรี กีฬา และหลักการฝึกหัดอบรมกาย วาจา ใจ คณะผเู้ ชย่ี วชาญได้นำเสนอหลักทฤษฎีและวธิ ีการ เพื่อเป็นพ้ืนฐานความรูส้ ำหรับผ้บู ริหารและครูท่ีต้องการ พัฒนาการสอน ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดการความรู้ให้เป็นฐานสู่การปฏิบัติ จึงเป็นปัจจัยที่จำเป็นและ กอ่ ให้เกิดการเรียนรรู้ ่วมกันในการปฏิบตั ิ (interactive learning through action, ประเวศ วะสี. 2545 : 57) ทั้งนี้เพราะผู้นิเทศและบุคลากรในโรงเรียนจะพัฒนาตนได้ก็ต่อเมื่อ มีหลักการความรู้เป็นพื้นฐาน และสร้าง แนวทางสู่จุดหมายร่วมกันเกิดวัฒนธรรมความรู้ขั้นอีกระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการใช้สามัญสำนึกและ ประสบการณ์เดิมกระบวนการกัลยาณมิตรที่มีฐานความรู้จะเกิดการวิจัย การพัฒนาและวิจัยต่อเนื่องกันไป สร้างวัฒนธรรมความรู้ให้เกิดขึ้นในโรงเรียน ดังท่ีศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสีได้อธิบายไว้ในหนังสือ “เครอื ข่ายแหง่ ปัญญา” ว่า วฒั นธรรมความรู้มีองคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ

24 1. การมฉี ันทะในความรู้ 2. มีความสามารถในการสร้างความรู้ 3. ใชค้ วามรู้ในการดำรงชีวิตและการทำงาน 4. ได้ประโยชนจ์ ากการใชค้ วามรู้ 5. มีความสุขจากกระบวนการความรู้ท้งั หมด ภาพที่ 5 วฒั นธรรมความรู้ (ประเวศ วะสี : 2545) การนิเทศและพัฒนาครูจึงต้องเริ่มที่การสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ตรงกันในประเด็นหลักทฤษฎี เช่น การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนสำคัญที่สุด ที่หลักการอย่างไร ทฤษฎี สร้างสรรค์ความรู้ หลัก บูรณาการ การพัฒนาพหุปัญญา กิจกรรมพัฒนานักเรียน หลักสูตรสถานศกึ ษาการประเมินผลตามการปฏบิ ัติ จริง คืออะไร ถ้าต่างฝ่ายไม่มีหลักความรู้ ก็ย่อมตีความกันไปคนละทางเกิดการโต้แย้งโดยไม่จำเป็น ดังนั้นจึง ตอ้ งมเี อกภาพในหลกั การ และมีความหลากหลายในวธิ ีการ 2. แรงหนุนจากต้นสังกัด ปัจจุบันนี้มีการตื่นตัวอย่างมากในทุกองค์กรที่มุ่งพัฒนาบุคลากรให้มี คุณภาพ ทั้งนี้เพราะในสังคมไทยมีการประเมิน การตรวจสอบ และการประกันคุณภาพของสถานศึกษา การ ดำเนินงานของโครงการหลายโครงการที่ประสบความสำเร็จเป็นเพราะหน่วยงานต้นสังกัดได้ให้ความร่วมมือ และมีสว่ นร่วมในการวางแผน การปฏิบตั ิงาน ตลอดจนการประเมนิ ผล 3. ผู้บริหารทกุ ระดับ รายงานผลการดำเนินงานปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรหู้ ลายโครงการได้แสดง ให้เห็นว่าความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถและเจตคติของ ผู้บริหารนับตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติในสถานศึกษาการพัฒนาบุคลากรทั้งโรงเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพนั้น ผู้บริหารมีความสำคัญมากดังที่สำนักนโยบายและแผนการศึกษาได้ให้ความหมายของ ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบว่า “...หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลการปฏิบตั ิงานดเี ด่นด้านการบริหารท่ี ส่งเสริมการปฏิรปู การเรยี นรู้ ตามแนวพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2)

25 พ.ศ. 2545 เป็นผู้นำทางวิชาการ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้ ความสามารถ เป็นที่ยอมรับของคณะครู นกั เรียน ผู้บงั คับบญั ชา กรรมการสถานศกึ ษา พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ชุมชนและสงั คม...” 4. บุคลากรทั้งโรงเรียน โครงการสนับสนุนการฝึกอบรมครู โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา (2546) ได้ดำเนินการต่อจากโครงการนำร่องระยะที่ 1 (พ.ศ.2545) นั้น เกิดขึ้นจาก ความเชื่อท่ีว่าการพัฒนาครูที่โรงเรียนทั้งโรงเรียน โดยโรงเรียนร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ช่วยให้มีการ ปฏิบัติจริง พัฒนาการสอนทางไกลในสถานการณ์จริงที่โรงเรียน เกิดการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลภายใน โรงเรยี นอย่างต่อเนื่อง ประหยัดค่าใชจ้ ่าย และเวลาและส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน ดังท่ีมีคำกล่าว หยอกเย้าวา่ School-Based Training นา่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลมากกว่า Hotel-Based Training จุดแข็งของการจัดกิจกรรมปฏิรูปทั้งโรงเรียนที่ค้นพบคือ ครูเก่งต้องลดดีกรีความเก่งลงมาเทียบเคียง แล้วเดินไป พร้อม ๆ กัน คนใดยังทำไม่ได้ ครูเก่งต้องเข้าไปช่วยเหลือให้เขาทำตามแบบก่อน แล้วถึงปล่อยให้ทำตามแบบ ของตนเอง การนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรนี้ มูลนิธยิ ุวสถิรคุณ ได้ใชเ้ ป็นหลกั ในการนิเทศอาสาของศูนย์โรงเรียน คุณธรรม ซึ่งการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจะช่วยให้กระบวนการนิเทศประสบความสำเร็จ ผู้นิเทศที่มีความเป็น กัลยาณมิตร คือ มีความเป็นมิตร ชวนให้เข้าไปหารือไต่ถาม ขอคำปรึกษาน่าเคารพทำให้ผู้รับการนิเทศเกิด ความรู้สึกอบอุ่น เป็นที่พึ่งได้ น่ายกย่องในฐานะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง รู้จักพูดให้ ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจง่าย อดทนต่อถ้อยคำ พร้อมที่จะรับฟังคำปรึกษา คำแนะนำและคำวิพากษ์วิจารณ์ สามารถอธิบายเร่อื งที่ยุ่งยากและซบั ซ้อนให้เขา้ ใจได้ และให้เรียนรู้เรือ่ งราวที่ลกึ ซ้ึงยิ่งขนึ้ ไปได้ จึงเปน็ การชแี้ นะ และใหค้ วามช่วยเหลอื ทีด่ แี ละมีประสทิ ธภิ าพ (ศูนย์โรงเรยี นคณุ ธรรม มลู นิธิยวุ สถิรคณุ . 2560 : 15) 9. การนิเทศการศกึ ษาเชิงระบบ การนิเทศการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ ควรมีกระบวนการที่ต่อเนื่อง มีการเคลื่อนไหวที่เปน็ พลวัตร (Dynamic) นั่นก็คือการนำวงจรคุณภาพ (Quality Loop) หรือวิธีระบบ (System Approach) มาใช้ ในการดำเนนิ งาน 1. การวิเคราะห์ ขั้นการวิเคราะห์ เป็นขั้นตอนการทำงานขั้นแรกท่ีผู้นิเทศควรให้ความสำคัญ เพราะการนเิ ทศจะประสบความสำเร็จ มปี ระสิทธภิ าพสงู ควรตอ้ งมผี ลการวเิ คราะห์ในหัวข้อท่สี ำคัญๆ ดังนี้ 1.1 การวิเคราะห์ความต้องการ ความจำเป็นการวิเคราะห์ความต้องการ ความจำเป็น ควร ใช้เทคนิคและวิธีการหลายอย่างเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุม เช่น การนิเทศและตรวจเยี่ยม การสัมภาษณ์ ผู้บริหารและครูผู้สอน การส่งแบบสำรวจความต้องการ แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ผล จะทำให้ได้รับ ข้อมูลเก่ยี วกับความต้องการจำเป็นในการพฒั นาการเรยี นการสอนท่ีหลากหลายและครอบคลมุ เป็นประโยชน์ ตอ่ การออกแบบ กิจกรรมการนิเทศที่ตรงกบั ความต้องการของโรงเรยี นกล่มุ เปา้ หมาย 1.2 การวิเคราะห์เนื้อหาและภารกจิ เมื่อได้ข้อมูลเก่ยี วกับความต้องการ ความจำเป็นแล้ว ผู้ นิเทศจะดำเนินการกำหนดหลักสูตร กิจกรรม ตามลำดับความต้องการ แล้วกำหนดเนื้อหาในการนิเทศ การศึกษา การจัดโครงสร้างและลำดับการนำเสนอ ให้ง่ายต่อการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ ผู้รับการนิเทศไดร้ บั

26 ความสะดวก มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจในการนิเทศ สามารถชักจูงให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึน้ ได้ 1.3 การวิเคราะห์ผู้รับการนิเทศ ผู้นิเทศควรทำความรู้จักกับผู้รับการนิเทศในทุกมิติ เช่น เพศ วัย วุฒิการศึกษา ประวัติการรับราชการ นิสัยใจคอ ความสนใจ ความถนัด เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้สามารถ วางแผนการนิเทศ การเลือกวิธีการ สื่อ รวมทั้ง เทคนิคการนิเทศที่เหมาะสมได้ ซึ่งก็คือ หลักการนิเทศ ที่ยึด ผรู้ ับการนเิ ทศเปน็ ศนู ยก์ ลางในการนเิ ทศ นัน่ เอง 1.4 การวเิ คราะห์สภาพการณแ์ ละนโยบาย การนเิ ทศการศึกษา ไมเ่ พยี งสนองความตอ้ งการ จำเป็นของโรงเรียน ผู้บริหาร และครู เท่านั้น แต่ในบางกรณี ก็เป็นการนิเทศตามนโยบาย เช่น การ เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับหลักสูตรวิธกี ารจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการทีส่ นองกลยุทธ์ของฝ่ายนโยบาย เป็นต้น ดงั นัน้ การวิเคราะห์สภาพการณ์และนโยบาย จึงเปน็ ภาระงานทีจ่ ำเปน็ ไม่ยง่ิ หย่อนไปกว่ากัน 2. การออกแบบและพัฒนา เมื่อมีการวิเคราะห์ความต้องการ ความจำเป็น วิเคราะห์ผู้รับการ นิเทศ เนื้อหา ภารกิจ และสภาพการณ์ต่าง ๆ อย่างครอบคลุมแล้ว จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญในการ ออกแบบและพัฒนาในหวั ขอ้ ต่าง ๆ ดงั นี้ 2.1 การออกแบบวตั ถุประสงค์ของการนิเทศ การกำหนดวัตถุประสงค์ เปน็ เสมอื นเข็มทิศใน การนิเทศการศึกษา ผู้นิเทศควรให้ความสำคัญ อยู่เสมอ โดยกำหนดจุดวัตถุประสงค์ ทั้งในลักษณะกว้างๆ (Goals) และวัตถปุ ระสงค์ ทีม่ ลี ักษณะเฉพาะ หรือเชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) มีความครอบคลุม ทั้งด้านพทุ ธพิ สิ ัย จิตพิสยั และทักษะพสิ ัย ทำใหก้ ารนิเทศการศกึ ษามคี วามชัดเจนและครอบคลมุ 2.2 การออกแบบวิธีการและกิจกรรมการนิเทศเมื่อผู้นิเทศ ได้มีการวิเคราะห์ความ ต้องการ ความจำเป็น และประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดังที่ได้กล่าวมาแล้วก็จะเป็นขั้นตอนของการดำเนินการ กำหนดวิธีการนเิ ทศ ได้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ ในเบื้องต้น เช่น การนิเทศทางไกลผ่านเว็บไซต์ โดยการ ใชช้ อ่ งทางกระดานถาม-ตอบ (Web การนเิ ทศและให้คำแนะนำปรึกษา ทางจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ การนิเทศ ทางไกลด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การนิเทศทางไกลด้วยเทคโนโลยีเว็บบล็อก (Web Blog) การ จดั สง่ แผ่นซีดีรอมหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) 3. ขัน้ การนิเทศ 3.1 การเตรียมการและประสานงานการนิเทศเมื่อผู้นิเทศได้มีการวิเคราะห์ความต้องการ ความจำเปน็ วเิ คราะหผ์ รู้ ับการนิเทศเน้ือหา ภารกิจ สภาพการณ์ต่าง ๆ มีการสร้างและพัฒนาส่ือและกิจกรรม การนเิ ทศแล้ว ควรมกี ารเตรยี มการประสานงานและนเิ ทศการศกึ ษา ดังนี้ 3.1.1 การจัดทำตารางและกำหนดการนเิ ทศ ท่ีสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ 3.1.2 ประสานงานกับคณะนิเทศ เพื่อให้มีการบูรณาการการนิเทศ ให้ครอบคลุมภารกิจ และกลยทุ ธ์ตา่ ง ๆ รวมท้งั การบูรณาการการนิเทศ ตามความจำเป็น 3.1.3 ประสานงานไปยงั โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนัดหมายเกีย่ วกับวัน เวลาตารางการ นิเทศ รวมทัง้ การเตรียมขอ้ มูลเบื้องตน้ ในดา้ นตา่ ง ๆ

27 3.2 การปฏิบัติการนิเทศ เป็นขั้นตอนที่ผู้นิเทศ ลงมือดำเนินการนิเทศ ซึ่งควรใช้หลักการ นเิ ทศท่สี ำคัญๆ เช่น การมมี นุษย์สัมพันธ์อันดตี ่อกัน การทำงานเปน็ ทีม มีการร่วมคิด รว่ มทำ ร่วมผลสำเร็จ ภายใต้ ความเชื่อที่ว่า ผู้รับการนิเทศทุกคน สามารถพัฒนาให้บรรลุผลตามศักยภาพได้ ให้ความสำคัญในการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ตามแนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญปัญหาและการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะ ในการป้องกันและการแก้ไข ปัญหาให้ผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกให้คิดเป็น ทำเป็น รักการแสวงหาความรู้ ด้วย ตนเอง เกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างสมดุล ผู้สอน สามารถจัด บรรยากาศ สภาพ แวดลอ้ ม สอ่ื การเรียนการสอน การอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียน มีการใช้ กระบวนการวิจัยเป็น ส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรยี นรู้ 4. ขั้นการประเมินผลและรายงานการดำเนินกิจกรรมการนิเทศต่าง ๆ ควรได้มีการประเมินท่ี สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ทั้งก่อนการดำเนินกิจกรรม ระหว่างดำเนินกิจกรรม และหลังการดำเนิน กิจกรรม ทั้งน้ีเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่เป็นประโยชน์หลายประการ กล่าวคือ การประเมินก่อนการดำเนินกิจกรรม จะทำ ให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการนิเทศ เกี่ยวกับความสนใจ ความรู้พื้นฐานการประเมินระหว่างดำเนินกิจกรรมจะทำให้ ทราบข้อมูล เกี่ยวกับพัฒนาการของผู้รับการนิเทศ ส่วนการประเมินหลังการดำเนินกิจกรรม จะทำให้ทราบถึง ผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินงาน มีการเลือกใชว้ ิธีการและเครื่องมือในการประเมินผล ที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ เม่ือ การประเมินผลสิ้นสุดลง ควรได้มีการสรุปและรายงานผลให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ โดยอาจจัดทำเป็นรายงาน อย่าง งา่ ย แล้วรวบรวมไว้ในเอกสารการนเิ ทศท.่ี ...เพ่ือให้เห็นเส้นพัฒนาของการดำเนินงานได้อย่างเป็นรูปธรรม 5. ขั้นปรับปรุงและพัฒนา เป็นขั้นตอนสำคัญที่ผู้นิเทศควรดำเนินการอยู่เสมอในทุกขั้นตอนการ นิเทศ เพราะในปรับปรุงและพัฒนา การปฏิบัติงานนั้น ต้องมีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เมื่อมี การประเมินผลการดำเนินการทุกครั้ง จะได้ข้อมูลสำคัญที่ผู้รับการนิเทศ ผู้นิเทศ บุคลากร หน่วยงานองค์กร ผู้รับผิดชอบ จะนำไปประกอบการปรับปรุง แก้ไขหรือพัฒนาให้การทำงานเป็นไปอย่างสอดคล้อง เหมาะสมตาม บทบาทหน้าที่ และมีการผลดำเนินงานที่เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด การปรับปรุงและพัฒนาได้ดำเนินการในทุก ขั้นตอนของการนิเทศ เช่น การปรับปรุงวิธีการและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้ได้ผลที่แม่นยำ มี ประโยชน์ในการดำเนินการนิเทศการศึกษาอย่างสูงสุด การปรับปรุงในขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้ วัตถุประสงค์ของการนิเทศมีความครอบคลุม สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของครูและโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงพัฒนาชุดฝึกอบรม ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เลือกวิธีการนิเทศที่เหมาะสมกับ กลุ่มผู้รับการนิเทศ บริบท เนื้อหาสาระ งบประมาณ รวมทั้งการปรับปรุงแผนการนิเทศให้มีประสิทธิภาพตลอดจน การปรับปรุงพัฒนาวิธีการประเมิน ผลการนิเทศ ใหไ้ ดเ้ คร่ืองมือท่ีมีคุณภาพตามหลักวชิ าการซ่ึงจะส่งผลถึงข้อมูลท่ี ได้จากการประเมินมีความถูกต้องตามความเป็นจริง 10. การนเิ ทศแบบ “PIDER” การนเิ ทศของสงดั อทุ รานันท์ (2530) ซ่งึ เปน็ กระบวนการนิเทศท่ีสอดคล้องกบั สภาพสังคมไทย 5 ขน้ั ตอน เรียกว่า “PIDER” ดังน้ี

28 1. การวางแผน (P-Planning) เป็นขั้นตอนที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศจะทำการ ประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหาและความต้องการจำเป็นที่ต้องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึง ข้นั ตอนการปฏิบัติเกี่ยวกบั การนิเทศท่จี ดั ขึ้น 2. ใหค้ วามรกู้ ่อนดำเนินการนิเทศ (I-Informing) เป็นข้นั ตอนของการให้ความรู้ ความเข้าใจถึง สิง่ ทจี่ ะดำเนินการวา่ ต้องอาศยั ความรู้ ความสามารถอย่างไรบา้ ง จะมีขน้ั ตอนในการดำเนนิ การอย่างไร และจะ ดำเนินการอย่างไรให้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ ขั้นตอนนี้จำเป็นทุกครั้งสำหรับเริ่มการนิเทศที่จัดขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม และเมื่อมีความจำเป็นสำหรับงานนิเทศที่ยังเป็นไปไม่ได้ผล หรือได้ผลไม่ถึงขั้นที่ พอใจ ซ่งึ จำเป็นท่จี ะต้องทบทวนให้ความรใู้ นการปฏบิ ัติงานท่ีถูกต้องอีกคร้งั หนึ่ง 3. การดำเนินการนิเทศ (D-Doing) ปะกอบด้วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ การปฏิบัติงาน ของผู้รับการนิเทศ (ครู) การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ (ผู้นิเทศ) การปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิเทศ (ผบู้ รหิ าร) 4. การสร้างเสริมขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (R-Reinforcing)เป็นขั้นตอนของการเสริมแรง ของผู้บริหาร ซึ่งให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานขั้นนี้อาจดำเนินไป พรอ้ ม ๆ กับผ้รู ับการนเิ ทศที่กำลงั ปฏบิ ตั งิ านหรอื การปฏบิ ัตงิ านไดเ้ สรจ็ สนิ้ แล้วก็ได้ 5. การประเมินผลการนิเทศ (E-Evaluating) เป็นขั้นตอนที่ผู้นิเทศนำการประเมินผลการ ดำเนินงานที่ผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบว่ามีปัญหาหรือมีอุปสรรค อยา่ งใดอย่างหนงึ่ ท่ีทำให้การดำเนนิ งานไม่ได้ผล สมควรทจ่ี ะตอ้ งปรับปรุง แก้ไข ซึง่ การปรับปรุงแก้ไขอาจทำได้ โดยการให้ความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องที่ปฏิบัติใหม่อีกครั้ง ในกรณีที่ผลงานยังไม่ถึงขั้นน่าพอใจ หรือได้ดำเนินการ ปรบั ปรงุ การดำเนินงานทัง้ หมดไปแล้ว ยงั ไมถ่ งึ เกณฑ์ท่ตี อ้ งการ สมควรท่จี ะตอ้ งวางแผนร่วมกันวิเคราะห์หาจุด ทคี่ วรพฒั นา หลังใช้นวตั กรรมดา้ นการเรยี นรูเ้ ข้ามานเิ ทศ ภาพที่ 6 กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE ใหก้ ารนเิ ทศและ ควบคมุ คุณภาพงาน ขน้ั ท่ี 1 ขั้นที่ 2 ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ที่ 4 ข้นั ท่ี 5 ประเมนิ วงแผน การให้ ปฏบิ ตั ิงาน การสร้าง (E) (P) ความรู้(I) (D) ขวัญกำลงั ใจ ปรบั ปรงุ แก้ไข (R) ในกรณที ่ีทำยงั ไม่ไดผ้ ล บรกิ าร สนับสนนุ ในกรณีคุณภาพไม่ถงึ ขน้ั

29 11. รูปแบบการนิเทศ SMART TEAM โดยกลุ่มนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 S Scheme การวางแผน M Management บรหิ ารจดั การสคู่ วามสำเร็จ A Action การปฏิบตั ิ R Reinforcement สนับสนุน เสรมิ แรง รายงาน สะทอ้ นผล T Technology เทคโนโลยี …………………………………………………………………………………. T Team – Training – Technology ทำงานเป็นทีม พัฒนาความรู้ ใช้เทคโนโลยี E Encourage ให้กำลังใจ ส่งเสรมิ A Assistance ประสานงานและชว่ ยเหลือ M Mind & Smile ทำงานด้วยความยิ้มแย้มแจม่ ใส การวางแผน (S – Scheme) เป็นขั้นตอนที่คณะทำงานทุกคน ทำการประชุม ปรึกษาหารือเพื่อให้ ได้มาซึ่งประเด็นและความต้องการจำเป็นที่ต้องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึงขั้นตอนการปฏิบัตเิ กี่ยวกับ การ นเิ ทศที่จัดขึน้ บริหารจัดการสู่ความสำเร็จ (M – Management) เป็นขั้นตอนท่ีคณะทำงานทุกคนร่วมกำหนด แนวทางและรปู แบบที่นำไปสูค่ วามสำเร็จ การดำเนินการนิเทศ (A – Action) เป็นขั้นตอนการดำเนนิ การนิเทศ คือ การปฏิบัติงานของผู้รบั การ นเิ ทศ ผู้ให้การนิเทศ และผูส้ นบั สนนุ การนเิ ทศ สนับสนุน เสริมแรง รายงาน สะท้อนผล (R – Reinforcement) เป็นขั้นตอนการสนับสนุนเสริมแรง สร้างเสริมขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศเพื่อให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความ พึง พอใจในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งให้ข้อแนะนำและเสนอแนะโดยวาจา หลังจากนั้นผู้นิเทศประเมินผลการ ดำเนนิ งานการนเิ ทศ วิเคราะหจ์ ดุ เดน่ จดุ ด้อย และจุดทีค่ วรพฒั นา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการนเิ ทศในคร้ังต่อไป เทคโนโลยี (T – Technology) เป็นขัน้ ตอนทผ่ี รู้ บั ผิดชอบดำเนินการรวบรวมข้อมลู ท่ีได้ทัง้ หมด เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทสที่พร้อมใชง้ านในโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาขับเคลือ่ น TEAM การทำงานเปน็ ทีม ใช้กระบวนการขบั เคลือ่ นโดยเนน้ การใช้เทคโนโลยี T Team – Training – Technology ให้กำลังใจ ส่งเสริม เน้นการทำงานร่วมกันโดยการให้ กำลังใจซึ่งกนั และกัน E Encourage

A Assistance 30 M Mind & Smile ประสานงานและชว่ ยเหลอื ทำงานดว้ ยระบบเครือข่าย ความร่วมมอื ช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั เพือ่ ให้งาน ประสบความสำเร็จบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทีว่ างไว้ ทำงานด้วยความยมิ้ แย้มแจ่มใสเป็นมติ รต่อกัน สรุปว่า รูปแบบการนิเทศการศึกษาหรือกระบวนการนิเทศมีหลายรูปแบบ แต่มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งกระบวนการนิเทศท่ีมีระบบขั้นตอน จะต้องอยู่บนปัญหาและความตอ้ งการ มีการ วิเคราะห์ปัญหาและสำรวจความต้องการอย่างถูกต้อง มีการปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ การใช้กระบวนการนเิ ทศในลักษณะที่มีกระบวนการที่ถูกต้องจะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี นอย่าง แท้จริง 2. รูจ้ กั ไวรัสโคโรนา ไวรสั โคโรนาคอื อะไร ไวรัสโคโรนา (CoV) คอื ไวรสั ทีม่ ีเครือข่ายขนาดใหญ่สามารถพบได้ทง้ั ในคนสัตว์ ไวรัสโคโรนาสาย พันธใ์ุ หม่ 2019 เป็นตระกลู ของไวรัสท่ีกอ่ ให้อาการป่วยหลากหลายระดับต้ังแต่ อาการหวดั ธรรมดาจนไปถึง โรคระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเก่ยี วขอ้ งกบั หลายโรครา้ ยแรงอย่าง MERS และ SARS สว่ นไวรัสโคโรนาใน ปัจจุบนั คอื โรค COVID-19 โดย คำว่า COVID-19 มีท่ีมาดังนี้ Co มาจากคำว่า Corona, VI มาจากคำว่า Virus ส่วน D มาจาก Disease ซง่ึ แปลว่าโรค สว่ น 19 คอื ปี 2019 สำหรับผ้ปู ว่ ยจะมีอาการเกีย่ วกบั ระบบ ทางเดนิ หายใจเป็นหลัก ซ่ึงระดับความรนุ แรงคล้ายกนั กับโรคทางเดินหายใจทง้ั โรค MERS และ SARS ไวรสั โคโรนามาจากไหน โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ซึ่งพบเป็นครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน โดย คาดการณ์ว่ามาจากการค้าอาหารป่าและอาหารทะเล ซึ่งผลการทดสอบพบว่าสัตว์ที่มีเชื้อใกล้เคียงกับ ไวรัส โคโรนามากที่สุดคือ “ค้างคาว” ไวรัสโคโรนาไม่ได้หยุดแค่เพียงอู่ฮั่น เพราะหลังจากนั้นไม่นานไวรัสได้ แพรก่ ระจายไปทั่วประเทศจีนและลามไปมากกวา่ 118 ประเทศ สัญญาณและอาการของโควดิ -19 อาการของไวรัสโคโรนาไม่ได้แสดงออกมาในทันที แต่มีระยะฟักตัวประมาณ 2-14 วัน ซึ่งโดยระยะ ฟักตัวนี้อาจมากขึ้นหรือน้อยลงได้ตามภมู ิคุ้มกันในตัวผู้ป่วย บางรายอาจไม่แสดงอาการแม้ผ่านไป 20 กว่าวัน แล้วก็มีหลังจากอาการฟักตัว ผู้ป่วยจะมีอาการดังต่อไปนี้ มีไข้ เสมหะ อาการไอและอ่อนเพลีย จากนั้นเมื่อ ผปู้ ่วยอยใู่ นระดับทร่ี ุนแรงมากขึน้ อาการป่วยจะพฒั นาไปสู่ระบบทางเดินหายใจ โดยผู้ป่วยจะหายใจเร็ว หอบ ระบบทางเดินหายใจล้มเหลวและเกดิ อาการช็อคจนเสียชีวิตในท่ีสดุ

สญั ญาณและอาการของโควดิ – 19 31 เมอ่ื ไหร่ควรไปพบหมอ มีอาการไข้ อุณหภมู สิ งู กว่า 37.5 0C ตัวรอ้ น ปวดเน้อื ปวดตวั หนาวตวั มอี าการ ระบบทางเดนิ หายใจ ไอ จาม เจบ็ คอ มีน้ำมูก หายใจลำบาก การติดตอ่ ของโควดิ -19 โควิด-19 สามารถติดตอ่ ผ่านทางการสัมผัสโดยตรงกบั ละอองของสารคดั หลั่งจากระบบทางเดนิ หายใจ และน้ำลายของผู้ติดเชื้อ เช่น ไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย และยังสามารถแพร่เชื้อจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่นได้ จากการสัมผสั พนื้ ผิวที่ปนเปื้อนเชือ้ ไวรสั ซึ่งเชื้อดงั กล่าวสามารถมชี ีวติ อยบู่ นพื้นผิวต่างๆหลายชั่วโมง เมื่อมือไป สมั ผัสเช้อื จะเข้าสูร่ ่างกายใน 3 ชอ่ งทาง คอื รูน้ำตา รจู มกู และรูปาก ลงสู่ลำคอ ทางเดนิ หายใจ และลงสู่ปอด ในท่ีสุด รนู ้ำตา รูจมกู รปู าก ไมข่ ยตี้ า ดวงตามชี ่องท่อระบาย ไมแ่ คะจมูก เชื้อโรคสามารถเขา้ ไม่จับปาก ปากเป็นช่องรว่ มที่เชอื้ โรค นำ้ ตาทเ่ี ช้ือโรคสามารถผ่านเข้า ทางโพรงจมูกสู่ทางเดนิ หายใจได้ สามารถเข้าสู่ทางเดินหายใจต่อไป ไปได้

32 หากตดิ ไวรัสโคโรนามโี อกาสรอดไหม จากสถิติจำนวนผู้ติดเชื้อ เสียชีวิต และรักษาหายที่ผ่านมา จะเห็นว่าอัตราผู้เสียชีวิตน้อยกว่าผู้ป่วย ที่รักษาหาย ดังนั้นจึงเป็นเครื่องยืนยันที่ว่า หากติดไวรัสโรโคนามีโอกาสหายแน่นอน แต่อย่างไรก็ตามยังมี กล่มุ เส่ยี งท่ีจะเสยี ชวี ิตจากไวรัสโคโรนา โดยกล่มุ ที่มเี ส่ยี งตอ่ การเสยี ชวี ติ มีดังน้ี กลุม่ ผ้สู ูงอายุ สถิติเกี่ยวกับไวรัสนี้ระบุไว้อีกว่าผู้เสียชีวิตจากไวรัสโคโรนาส่วนใหญ่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป 60-80 โดย ปัจจัยท่ีส่งเสริมการเสยี ชวี ิตมาจากสุขภาพปอดและระบบทางเดนิ หายใจที่ไม่แขง็ แรง เนอื่ งจากไวรัสโคโรนามุ่ง ทำลายระบบทางเดินหายใจและปอด ส่งผลให้ผู้สูงอายุที่ระบบภายในร่างกายไม่แข็งแรงเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เม่ือไดร้ บั เช้อื เขา้ มาในร่างกายไวรัสจงึ สามารถทำลายล้างได้รุนแรงจนเสียชีวิต กลมุ่ ผทู้ ม่ี โี รคประจำตวั 1. โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ (cardiovascular disease) 2. โรคเบาหวาน (diabetes) 3. โรคปอดอดุ กนั้ เร้ือรงั (chronic respiratory disease) 4. โรคความดนั โลหิตสูงผดิ ปกติ (abnormally high blood pressure) 5. โรคมะเร็ง (cancer) กลมุ่ ผู้ทีม่ โี รคประจำตัวเหล่าน้ี มโี อกาสเสี่ยงท่จี ะมีอาการรนุ แรงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา เนื่องจาก ภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่แข็งแรง ส่งผลให้ไวรัสสามารถแพร่กระจายภายในร่างกายได้เร็วและมีประสิทธิภาพ นำไปสอู่ าการเจ็บป่วยอยา่ งรุนแรงและจนเสยี ชวี ติ ในท่สี ุด การแพร่กระจายของไวรัส แพร่กระจายจากการไอจามของผู้ติดเชือ้ โดยเชื้อไวรัสถ่ายถอดผ่านละอองในอากาศหลังจากการจาม ทั้งน้ีเชื้อไวรสั โคโรนายังสามารถติดอยู่บนพืน้ ผิวส่ิงของได้ เชน่ โลหะ ธนบตั ร แก้ว โดยไวรัสโคโรนาสามารถอยู่ บนพลาสตกิ 9 วันและอยบู่ นกระดาษ 5 วัน ทง้ั ระยะเวลาการแพร่กระจายเชอ้ื จากคนส่คู น ผู้ป่วยสามารถแพร่ เชื้อได้ตั้งแต่ระยะฟักตัว ส่งผลให้เราทุกคนมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ เพราะเราไม่มีทางรู้เลยว่าคนรอบตัวติด ไวรัสหรือไม่ วิธหี ลกี เลยี่ งจากไวรสั โคโรนา ในตอนนี้ยังไม่มีวิธีไหนที่ยืนยันได้ว่าสามารถป้องกันไวรัสโคโรนาได้สมบูรณ์ ดังนั้นวิธีการหลีกเลี่ยง ไวรัสจึงต้องปรับพฤติกรรมหลายอย่างเพื่อเป็นตัวช่วยปิดรอยรั่วไม่ให้เชื้อไวรัสเข้ามาในร่างกายได้ โดยวิธีการ เล่ียงไวรสั โคโรนาสามารถทำไดด้ งั น้ี - อาหารการกิน อาหารคือจุดเริ่มต้นของจากการแพร่เชื้อโรคนี้ ดังนั้นการป้องกันจึงไม่ควรละเลยเรื่องอาหารด้วย โดยการป้องกันไวรัสจากอาหารสามารถทำไดโ้ ดย การทานอาหารปรงุ สุก โดยไวรสั โคโรนาถูกทำลายด้วยความ

33 รอ้ นท่ี 65 องศาเซลเซียส หลกี เลีย่ งการบรโิ ภคอาหารดิบ นอกจากนใ้ี นการทานอาหารควรทานอาหารขณะยัง มีความรอ้ นและใช้ช้อนกลางในการทานข้าว เพ่อื ป้องกนั เชื้อที่แพร่กระจายขณะทานอาหาร - ปรับพฤติกรรมเพมิ่ ความสะอาด อีกหนึ่งวิธีที่ช่วยหลีกเลี่ยงไวรัสโคโรนาได้คือ การปรับพฤติกรรม โดยรักษาความสะอาดมากข้ึน เร่ิมต้งั แต่ ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ รวมถงึ ทำความสะอาดด้วยเจลลา้ งมือ โดยเจลล้างมือที่มีประสิทธิภาพ ฆ่าเชื้อได้ต้องมีแอลกอฮอล์ผสมมากกว่า 70% ลดการสัมผัสใบหน้าทั้งขยี้ตาแคะจมูก หรือมีความจำเป็นต้อง ทำควรลา้ งมือก่อนเพ่อื ฆ่าเชือ้ โรค - การหลกี เลย่ี งเชื้อโรคในพ้นื ท่สี าธารณะ พื้นทสี่ าธารณะคอื พ้นื ท่เี สย่ี งในการติดโรคมากที่สุด เน่ืองจากเปน็ แหล่งรวมผ้คู นจำนวนมาก โดยคุณ ไม่สามารถรู้ได้เลยว่าใครบ้างที่ติดไวรัส ดังนั้นพฤติกรรมขณะอยู่ในพื้นที่สาธารณะจึงสำคัญ โดยพฤติกรรมที่ ชว่ ยลดความเสี่ยงในการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนาสามารถทำไดด้ ังน้ี 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสสิ่งของในพื้นที่สาธารณะ เช่น ปุ่มกดลิฟท์ ราวบันไดเลื่อน ประตูห้องน้ำ สาธารณะ เพือ่ ป้องกันการรับเชือ้ จากพ้ืนที่สาธารณะ 2. รกั ษาระยะห่างจากผู้มีอาการไออย่างน้อย 2 เมตร 3. งดการสมั ผสั กบั บคุ คลอน่ื ในพื้นทสี่ าธารณะ

เสน้ ทางการรักษาโควดิ -19 34 2. สมั ผสั ใกลช้ ิดผู้ปว่ ยสงสัยตดิ เชอื้ กลุ่มเสีย่ งโดยตรงท่อี าจสัมผัสกบั เช้อื 1. เพงิ่ กลับจากพื้นที่เสี่ยง แยกตวั เพื่อสังเกตอาการ ครบ 14 วนั ดำเนนิ ชวี ติ ตามปกติ ณ ทพ่ี ัก 14 วัน ไมม่ ีอาการ  หลกี เลยี่ งสถานท่แี ออดั ตรวจไมพ่ บ ระหว่าง 14 วัน มีไข้  ล้างมอื บอ่ ย ๆ โควิด – 19 อุณหภมู สิ งู กวา่ 37.5 OC  เวน้ ระยะการใกลช้ ิดอยา่ งน้อย 2 เมตร ร่วมกับอาการทางเดิน  สวมหน้ากาก ตรวจร่างกาย หายใจ เชน่ ไอ มนี ำ้ มูก เพื่อหาเช้ือโควดิ – 19 เจบ็ คอ หอบ เหน่ือย  แจง้ พนักงานควบคุมโรคตดิ ตอ่ หรอื 1669 เพื่อประสานรบั ตวั ไปพบแพทย์  ไม่ใช้รถสาธารณะในการเดนิ ทาง  สวมหน้ากากอนามยั ระหวา่ งเดินทาง

35 แพทยจ์ ะแบ่ง 5 กลุ่ม ตามอาการ กลมุ่ ท่ี 1 ไม่มีอาการ (20% ของผู้พบเช้อื ) -> สงั เกตอาการในโรงพยาบาล 2-7 วัน -> สังเกตอาการต่อท่ีหอ ผปู้ ว่ ยเฉพาะโรงพยาบาลเฉพาะกจิ เชน่ โรงแรมทเ่ี รยี กวา่ ฮอสพเิ ทล (Hospitel)14 วันนบั จากตรวจพบเชือ่ -> เมื่อหายกลับบา้ นตามปกติ ต้องใสห่ นา้ กากอนามัยตลอดเวลาทอ่ี อกไปนอกบา้ น/อยหู่ ่าง 2 เมตร/แยกห้อง ทำงาน ไม่กินอาหารร่วมกนั จนครบ 1 เดอื น กลุ่มท่ี 2 อาการไมร่ ุนแรงคลา้ ยไข้หวัด (อายุมากกวา่ 60 ปี หรือเป็นโรคเรือ้ รัง) > รกั ษาตามอาการ/ใหย้ ารักษา ไวรสั ในโรงพยาบาล 2-7 วัน->สังเกตอาการตอ่ ในฮอสพิเทล (Hospitel) จนครบอย่างน้อย 14 วนั นบั จากมี อาการ -> เมอื่ หายกลับบ้านจะต้องปฏบิ ัติเช่นเดียวกับกล่มุ 1 กลุ่มท่ี 3 อาการไมร่ นุ แรงคลา้ ยไข้หวัดปอดปกติ แตม่ ีปัจจัยเสี่ยง -> ให้ยารักษาไวรสั ในโรงพยาบาลตดิ ตามปอด -> ส่งเข้าสังเกตอาการต่อในฮอสพิเทล (Hospitel) จนครบอย่างนอ้ ย 14 วนั นับจากมีอาการ -> เมอื่ หาย กลับบ้านจะต้องปฏบิ ตั เิ ช่นเดียวกับกลุ่ม 1 และ 2 กลุ่มที่ 4 ปอดอักเสบไม่รนุ แรง (12% ของผู้พบเชือ้ ) ให้ยารักษาไวรัสในโรงพยาบาล กลมุ่ ที่ 5 ปอดอักเสบรนุ แรง (3% ของผู้พบเช้อื ) ให้ยารักษาไวรสั ในหอ้ งไอชียู ตรวจพบ “โควิด – 19 ” ตอ้ งทำอยา่ งไร ทุกรายต้องรบั การดูแลในโรงพยาบาลก่อน 2 – 7 วนั

36 3. แนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั CORONA 2019 (COVID-19) แนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระดบั ปฐมวยั ทส่ี ่วนกลางจดั ให้ 1. การจัดการเรียนการสอนทางไกล ใช้สื่อวีดิทศั นก์ ารเรยี นการสอนของมลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สำหรับการรับชมต้องคำนึงถึงสุขภาวะ ของนักเรียน และให้ถือว่าการจัด การเรยี นการสอนทางไกลเปน็ ช่องทางสนบั สนนุ เท่าน้ัน ไมส่ ามารถใชท้ ดแทนการเรียนการสอนได้ท้ังหมด ท้ังน้ี โรงเรยี นสามารถออกแบบการเรยี นการสอนเองได้ตามความเหมาะสม 2. ช่องทางการเรียนที่บ้าน (Learn from home) ผ่านช่องทาง DLTV โดยสามารถเลือกชมได้ 3 ช่องทาง ได้แก่ (1) Mobile Application : DLTV (2) Youtube : DLTV Channel (3) www.dltv.ac.th (DLTV 10 – 12) หมายเหตุ : 1. กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ข้นั ต่ำทีส่ ามารถยอมรับได้ สำหรับรองรับการ จัดการเรียนรู้ในความปกติใหม่ (New Normal) กำหนดเงื่อนไขในการบริหารหลักสูตรรวมถึงการวัดและ ประเมินผลในสถานะการพิเศษ พร้อมทั้งจัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกำกับ ติดตาม และแกไ้ ขปัญหารว่ มกบั โรงเรียน ชว่ ยเหลือครูในการจัดการเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์โควิด 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายต่อต้านการทุจริต ทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณพ์ ิเศษ เช่น ลอกเลียนคำตอบ/การรับจ้างทำการบ้านออนไลน์ เปน็ ตน้

37 3. แนวทางปฏิบัติสำหรบั ครูและผปู้ กครอง 3.1 การจดั การเรยี นการสอนทางไกลตามแนวทางที่สว่ นกลางจัดให้ กรณีนักเรยี นทส่ี ามารถเรยี นทีบ่ า้ นได้ (Learn from home) กรณนี กั เรยี นทไ่ี มส่ ามารถเรียนท่ีบา้ นไดท้ ้งั 3 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏบิ ตั ิ สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง สำหรับครู สำหรับผปู้ กครอง 1) ศึกษาแผนการจดั 1) เตรยี มสอื่ /ใบงาน 1) ศึกษาแผนการจัด 1) รอรบั การตรวจเยี่ยม ประสบการณ์การเรยี นรู้ ทีไ่ ดร้ ับจากครู (กรณี ประสบการณ์การเรียนรู้ บา้ นจากครู ส่อื ใบงาน ของ DLTV ผ้ปู กครองมีความพรอ้ ม) สอื่ ใบงาน ของ DLTV 2) สนบั สนนุ การจดั (www.dltv.ac.th) 2) กำกบั ดูแลการจัด (www.dltv.ac.th) เพื่อ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 2) เตรียมส่อื /ใบงาน และ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ออกแบบวางแผนการจัด สำหรับนกั เรียน ขณะอย่ทู ่ี อปุ กรณ์ ให้นักเรยี น ผ่านชอ่ งทางต่าง ๆตาม ประสบการณ์ การเรียนรู้ บา้ นตามศักยภาพและ 3) ตรวจเยย่ี มบ้านของ ช่วงเวลาแตล่ ะวนั ให้ ให้เหมาะสมกับนกั เรยี น บรบิ ทของครอบครวั นักเรียน เพอ่ื พดู คุย ให้ เหมาะสม กบั นกั เรียนและ 2) เตรยี มส่อื ใบงาน สง่ ไป 3) กำกับ ดูแลใหน้ ักเรียน คำปรึกษา จดั เกบ็ ชนิ้ งาน ผู้ปกครอง ให้นกั เรียน ทำแบบฝึกหดั ใบงาน ของนักเรียนกลบั มาตรวจ 3) รบั -ส่งชน้ิ งานของ 3) ตรวจเยี่ยมบา้ น ช้นิ งานภาระงาน ด้วย และกระตุ้นผปู้ กครอง นกั เรยี นตามการนดั หมาย นักเรยี น พรอ้ มรับ-สง่ ตนเองขณะอยู่ที่บ้าน โดย อย่างน้อยสปั ดาห์ละ1ครง้ั 4) รอรับการประเมนิ ผล เอกสารใหผ้ ปู้ กครอง คอยให้คำแนะนำ กำกบั 4) วิเคราะหผ์ ลการตรวจ จากครู ในขณะตรวจเย่ียม เพอ่ื ให้ คำปรกึ ษา และ ดแู ล และให้ความ เยีย่ มบ้าน เพ่ือนำมา บ้าน กระตนุ้ ผูป้ กครอง อย่าง ชว่ ยเหลือ อย่างใกล้ชดิ ทบทวนและจดั ทำ 5) ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ น้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ 4) รับ–ส่งแฟ้มงาน เอกสาร/สื่อ เพ่มิ เติมตาม ของครู ในการจัด 4) วเิ คราะห์ผลการตรวจ นกั เรยี น และสือ่ สารกับครู บรบิ ทของนักเรยี น ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เย่ียมบ้าน เพ่อื นำมา ตามการนัดหมาย รายบคุ คล ทบทวนและจัดทำเอกสาร 5) ให้ความร่วมมือกบั ครู 5) ออกแบบการ สอ่ื เพมิ่ เตมิ ตามบรบิ ท หาแนวทางแก้ไขปญั หา ประเมนิ ผลตามบริบท ของนักเรียนรายบุคคล การจัดประสบการณก์ าร ของนักเรยี นรายบคุ คล 5) ออกแบบการ เรยี นรสู้ ำหรบั นักเรียน 7) ออกแบบการประเมนิ ประเมนิ ผลตามบริบท พฒั นาการตามบรบิ ท และ ของนักเรยี นรายบคุ คล บนั ทึกผลการประเมิน 5) จดั ส่งเอกสารการจัด ประสบการณ์ การเรยี นรู้ สำหรับนกั เรียน ให้แก่ ผู้ปกครอง

38 กรณนี ักเรียนทส่ี ามารถเรยี นทบ่ี า้ นได้ (Learn from home) กรณีนักเรียนที่ไมส่ ามารถเรียนทบี่ า้ นได้ท้งั 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบัติ สำหรับครู สำหรับผปู้ กครอง สำหรบั ครู สำหรบั ผปู้ กครอง 6) วางแผนร่วมกบั ผปู้ กครองในการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ และติดตาม ผลการเรยี น เปน็ ระยะตามกำหนด 7) ออกแบบการประเมิน พัฒนาการ ของนกั เรยี น การจดั การเรียนการสอนทางไกล ระดับประถมศกึ ษา ทส่ี ่วนกลางจัดให้ 1. การจัดการเรียนการสอนทางไกล ใช้ส่อื วดี ทิ ัศนก์ ารเรยี นการสอนของมลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สำหรบั การรับชมต้องคำนึงถึง สขุ ภาวะของนักเรียน และให้ถือวา่ การจัดการ เรียนการสอนทางไกล เปน็ ชอ่ งทางสนบั สนุนเทา่ นนั้ ไมส่ ามารถใช้ทดแทนการเรยี นการสอนได้ทง้ั หมด ทั้งนี้ โรงเรยี นสามารถออกแบบการเรียนการสอนเองได้ตามความเหมาะสม 2. ช่องทางการเรยี นทีบ่ ้าน (Learn from home) เลอื กชมได้ 3 ช่องทาง ได้แก่ (1) Mobile Application : DLTV (2) Youtube : DLTV Channel (3) www.dltv.ac.th (DLTV 1 – 6) หมายเหตุ 1. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพอ่ื กำกับ ติดตาม และแกไ้ ขปัญหาร่วมกับโรงเรียน ชว่ ยเหลอื ครใู นการจัดการเรยี นรู้ 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายต่อต้านการทุจริต ทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์พิเศษ เช่น ลอกเลียนคำตอบ การรับจ้างทำการบ้านออนไลน์ เป็นต้น 3. รายการออกอากาศการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีนำมาออกอากาศ อ้างอิงตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551

39 3.2 กรณีจัดการเรียนการสอนทโ่ี รงเรยี นได้ กรณีท่ีไดร้ บั การอนุญาตจากศนู ย์บรหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) จังหวัด (ศบค.จังหวัด) ในการจัดการเรียนการสอนแบบปกติเรียนที่โรงเรียน โดยให้ปฏิบัติตาม มาตรการและแนวทางการดำเนนิ งานเพ่อื การเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ดงั น้ัน หาก มนี ักเรยี นจำนวนน้อยและมีพืน้ ทีเ่ พียงพอ ก็สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติได้ หากนกั เรียนจำนวนมาก หรือมีพื้นที่ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนตามมาตรการ การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) / ความปกติใหม่ (New Normal) ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่างการเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่าน DLTV (ON-AIR) การเรียนออนไลนผ์ ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ต (ONLINE) การเรียนผา่ น Application (ON - DEMAND) การเรียนทบ่ี ้านโดยหนงั สือเรียนแบบฝึกหดั (ON - HAND) ใหน้ ักเรียนสลับกัน มาเรียนและมาสอบที่โรงเรียนได้ โดยครูต้องคำนึงถึงการจัดทำข้อสอบคู่ขนาน (Parallel Examination) เพ่อื ความยตุ ิธรรมสำหรบั ผู้เขา้ สอบ กรณนี ักเรยี นทส่ี ามารถเรียนทบี่ า้ นได้ (Learn from home) กรณีนักเรียนท่ีไมส่ ามารถเรียนท่บี า้ นได้ทั้ง 3 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ตั ิ แนวทางปฏบิ ตั ิ แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏบิ ัติ สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง 1) ทบทวนข้อมลู จาก 1) รอรบั การตรวจเย่ียม 1) ทบทวนขอ้ มูลจาก 1) รอรับการตรวจเยยี่ ม ระบบดูแลชว่ ยเหลอื บา้ นจากครู ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ บ้านจากครู นกั เรียนและระบบจดั เกบ็ 2) สนบั สนนุ การจดั การ นักเรยี นและระบบจัดเก็บ 2) สนบั สนนุ การจดั การ ขอ้ มลู นกั เรียนรายบุคคล เรียนรู้ ท่ีบ้านตาม ขอ้ มูลนักเรยี นรายบุคคล เรียนรู้สำหรบั นักเรียน (Data Management ศกั ยภาพและบรบิ ทของ (Data Management ขณะอยู่ที่บ้าน ตาม Center) ครอบครัว Center) ศกั ยภาพและบรบิ ท ของ 2) ศึกษาแนวทางการ 3) เตรียมช่องทางในการ 2) ศกึ ษาแนวทางการ ครอบครัว จัดการเรียนการสอน เรยี นรู้ทบ่ี า้ น (Learn จัดการเรียนการสอน 3) เข้าร่วมชอ่ งทางการ ทางไกล from home) เอกสาร ทางไกล สื่อสาร กับครู ตามทไ่ี ด้นดั 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษา การเรียนรู้ ใบงานตา่ ง ๆ 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษา หมาย แผนการสอน เตรียม ทใี่ ช้ในการจดั การเรียนรู้ แผนการสอน เตรยี ม 4) รบั –ส่งแฟ้มงาน เอกสารการเรียนรู้ ใบงาน สำหรับนักเรยี น เอกสารการเรยี นรู้ ใบงาน นักเรยี น และสอ่ื สารกับครู ตา่ ง ๆ สำหรับนักเรยี น 4) เขา้ ร่วมช่องทางการ ต่าง ๆ สำหรับนกั เรยี น ตามการนัดหมาย และศกึ ษาการเรยี นการ สื่อสารกับครู เชน่ และศึกษาการเรยี นการ 5) ร่วมกบั ครูประเมนิ ผล สอน ล่วงหนา้ ในเวบ็ ไซต์ โทรศัพท์ ไลน์ (Line) สอน ล่วงหนา้ ในเว็บไซต์ การเรยี นรู้ของนักเรียน ของ DLTV เฟซบคุ๊ (Facebook) หรอื ของ DLTV 6) รว่ มมอื กับครูหาแนว (www.dltv.ac.th) ชอ่ งทางอื่น ๆ ตามการนัด (www.dltv.ac.th) เพอื่ ทางแก้ไขปญั หาการ 4) ศกึ ษาชอ่ งทางในการ หมาย วางแผน การเรียนรู้ ที่ จัดการเรยี นร้สู ำหรบั เรยี นร้ทู บ่ี า้ น (Learn นักเรียน

40 กรณีนกั เรยี นทสี่ ามารถเรียนท่บี า้ นได้ (Learn from home) กรณีนกั เรียนที่ไม่สามารถเรียนทบ่ี า้ นได้ทั้ง 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏบิ ตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง สำหรบั ครู สำหรบั ผปู้ กครอง from home) และ 5) แนะนำนักเรียน เหมาะสมสำหรับนักเรยี น วธิ กี ารใชง้ าน รายงานตวั กอ่ นเร่มิ ขณะเรียนรูอ้ ยู่ท่บี า้ น 5) สำรวจขอ้ มูลนกั เรียน จัดการเรียนร้กู บั ครู ผา่ น 4) จดั ให้นกั เรยี นมาเรียนท่ี เพอื่ เตรียมความพร้อม ชอ่ งทางการสอื่ สารตาม โรงเรียน โดยต้องปฏบิ ตั ิ วางแผนการจดั การเรยี น การนัดหมาย และดูแล ตามมาตรการ การเวน้ การสอนทางไกล ผา่ น นักเรยี นขณะจัดการ ระยะห่างทางสงั คม ช่องทางในการเรียนรู้ ท่ี เรียนรู้ (Social Distancing) บ้าน และแบง่ กลมุ่ สลับ 6) รับ–ส่งแฟ้มงาน กรณที ่นี ักเรียนสลบั กนั มา นกั เรียนมาเรียนท่โี รงเรยี น นกั เรียน และสื่อสารกบั ครู เรยี นท่ีโรงเรยี น ครตู อ้ ง 6) ตรวจเยยี่ มบา้ น ตามการนดั หมาย วางแผนการจัดการเรยี น นกั เรยี น เพ่อื พูดคยุ ให้ 7) รว่ มกับครูประเมนิ ผล การสอน ของนกั เรียนเปน็ คำปรกึ ษาแกผ่ ปู้ กครอง การเรยี นรขู้ องนกั เรียน รายบคุ คล และรบั -ส่งเอกสารการ 8) รว่ มมือกบั ครูหา 5) ตรวจเยย่ี มบา้ น จดั การเรียนรู้ ใบงาน แนวทาง แกไ้ ขปัญหาการ นกั เรียน สร้างความเขา้ ใจ อ่ืน ๆ อย่างนอ้ ยสปั ดาห์ จดั การเรียนร้สู ำหรบั และขอความร่วมมอื กับ ละ 1 ครง้ั นกั เรียน ผปู้ กครอง ในการจดั การ 7) วิเคราะห์ผลการจดั การ เรยี นรู้ และรบั -สง่ เอกสาร เรียนการสอนทางไกล การจดั การเรยี นรู้ ใบงาน การเยี่ยมบา้ นและปญั หา อนื่ ๆ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ ตา่ ง ๆ เพอ่ื นำมาทบทวน ละ 1 ครง้ั ปรบั ปรุงแก้ไขตามบริบท 6) วเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ ของนกั เรยี นรายบุคคล การเยยี่ มบา้ นและปญั หา 8) ออกแบบการวัดและ ตา่ ง ๆ เพ่ือนำมาทบทวน ประเมนิ ผลการเรยี นรูแ้ ละ ปรับปรุงแก้ไข ตามบริบท รว่ มกบั ผู้ปกครองในการ ของนกั เรยี นรายบุคคล ประเมินผล การเรยี นตาม 7) ออกแบบการวัดและ บรบิ ทนักเรยี นเปน็ ประเมินผลการเรียนร้แู ละ รายบคุ คล รว่ มกบั ผู้ปกครอง 9) รว่ มมอื กับผปู้ กครอง ประเมินผล การเรียนรู้ หาแนวทางแก้ไขปญั หา ของนกั เรียนตามบริบท การจัดการเรยี นรู้ของ นกั เรยี นรายบคุ คล นกั เรียน

41 กรณีนักเรยี นทส่ี ามารถเรียนทีบ่ า้ นได้ (Learn from home) กรณนี กั เรียนทไี่ มส่ ามารถเรียนทบ่ี ้านไดท้ ง้ั 3 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง 8) รว่ มมอื กบั ผ้ปู กครองหา แนวทางแกไ้ ขปญั หาการ จัดการเรยี นร้สู ำหรับ นักเรยี น การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ท่สี ว่ นกลางจัดให้ 1. การจัดการเรียนการสอนทางไกล ใชส้ ือ่ วดี ทิ ัศนก์ ารเรียนการสอนของมูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สำหรบั การรับชมตอ้ งคำนึงถงึ สขุ ภาวะของนักเรียน และให้ถือว่าการจัดการ เรยี นการสอนทางไกล เปน็ ชอ่ งทางสนับสนุนเทา่ นั้น ไมส่ ามารถใช้ทดแทนการเรยี นการสอนได้ท้งั หมด ทั้งนี้ โรงเรียนสามารถออกแบบการเรยี นการสอนเองได้ตามความเหมาะสม 2. ชอ่ งทางการเรียนทบ่ี า้ น (Learn from home) เลือกชมได้ 3 ช่องทาง ไดแ้ ก่ (1) www.dltv.ac.th (DLTV 7 – 9) (2) Mobile Application : DLTV (3) Youtube : DLTV Channel หมายเหตุ 1. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกำกบั ติดตาม และแกไ้ ขปัญหารว่ มกับโรงเรยี น ช่วยเหลือครใู นการจดั การเรยี นรู้ 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายต่อต้านการทุจริต ทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสถานการณ์พิเศษ เช่น ลอกเลียนคำตอบ/การรับจ้างทำการบ้านออนไลน์ เป็นตน้ 3. รายการออกอากาศการจดั การเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่นำมาออกอากาศ อ้างอิงตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กรณนี ักเรียนทส่ี ามารถเรียนท่ีบา้ นได้ (Learn from home) กรณนี ักเรียนที่ไม่สามารถเรียนทีบ่ ้านไดท้ ง้ั 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ตั ิ สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง สำหรบั ครู สำหรบั ผปู้ กครอง 1) ศึกษาแผนการสอน ใบ 1) สนับสนนุ นักเรียนใน 1) ศึกษาแผนการสอน 1) สนับสนนุ นกั เรยี นใน งาน และเตรียมเอกสาร การเรียน ผา่ นชอ่ ง ใบงาน และเตรียมเอกสาร การเรยี นขณะอยู่ท่บี ้าน สำหรับนกั เรียน และ ทางการเรียนทางไกล สำหรับนกั เรียน และ

42 กรณนี ักเรียนทส่ี ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) กรณีนกั เรยี นทไี่ มส่ ามารถเรียนทบ่ี า้ นได้ท้งั 3 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ตั ิ แนวทางปฏบิ ตั ิ สำหรบั ครู สำหรบั ผปู้ กครอง สำหรับครู สำหรับผปู้ กครอง ศึกษาการเรียนการสอน ต่าง ๆ ตามศักยภาพและ ศกึ ษา การเรยี นการสอน ตามศกั ยภาพและบริบท ลว่ งหน้าจากเว็บไซต์ของ บริบทของครอบครัว ล่วงจากเวบ็ ไซต์ ของ ของครอบครัว DLTV (www.dltv.ac.th) 2) กรณที ี่ผูป้ กครองมี DLTV (www.dltv.ac.th) 2) กรณที ี่ผูป้ กครองมี 2) จัดทำและจัดสง่ ศักยภาพสามารถช่วย เพ่อื วางแผนการจดั การ ศกั ยภาพสามารถช่วย เอกสารการจัดการเรยี นรู้ จัดการเรียนการสอน เรียนรู้สำหรบั นักเรียน จัดการเรยี น การสอนได้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทางไกลได้ ให้ผปู้ กครอง 2) จัดทำและสง่ เอกสาร ให้ผู้ปกครองวางแผน การ สำหรบั นกั เรยี นเปน็ วางแผน การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ สำหรับ เรยี นรรู้ ว่ มกบั ครู รายบุคคล ร่วมกบั ครู นักเรยี นเป็นรายบคุ คล 3) ตรวจสอบ ตดิ ตามการ 3) ตรวจเยยี่ มบ้าน 3) ตรวจสอบ ตดิ ตามการ 3) ตรวจเยีย่ มบา้ น เรยี นรขู้ องนักเรยี น และ นกั เรียน เพอื่ พูดคยุ ให้ เรยี นรู้ และรบั -สง่ แฟ้ม นักเรียน สร้างความเข้าใจ รบั -สง่ แฟ้มงาน นักเรยี น คำปรึกษาแก่ผปู้ กครอง งาน ของนักเรยี น ตามการ และขอความร่วมมอื กบั ตามการนดั หมาย และรับ-ส่งเอกสารการ นดั หมาย ผู้ปกครอง ในการจัดการ 4) ร่วมกบั ครปู ระเมินผล จดั การเรยี นรู้ ใบงาน 4) รว่ มกับครูประเมินผล เรยี นรู้ และรบั -สง่ เอกสาร การเรียนรูข้ องนักเรียน อน่ื ๆ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ การเรยี นรู้ของนกั เรยี น การจัดการเรียนรู้ ใบงาน 5) ร่วมมือกบั ครหู าแนว ละ 1 คร้ัง 5) ร่วมมือกบั ครหู าแนว อื่น ๆ อยา่ งน้อยสปั ดาห์ ทางแก้ไขการจดั การ 4) วิเคราะหผ์ ลการจดั การ ทางแก้ไขปัญหาการ ละ 1 ครงั้ เรยี นรสู้ ำหรบั นกั เรยี น เรยี นการสอนทางไกล จัดการเรียนรู้ สำหรบั 4) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การ การเยยี่ มบ้านและปญั หา นักเรยี น เรียนการสอนทางไกล ตา่ ง ๆ เพื่อนำมาทบทวน การเย่ยี มบา้ นและปญั หา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตามบริบท ตา่ ง ๆ เพือ่ นำมาทบทวน ของนกั เรียนรายบคุ คล ปรบั ปรุง แก้ไข ตามบริบท 5) ออกแบบการวัด และ ของนักเรยี นเป็น ประเมินผล การเรียนรู้ รายบคุ คล ร่วมกบั ผ้ปู กครอง 5) ออกแบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนร้ตู าม ประเมนิ ผล การเรยี นและ บรบิ ทของนกั เรียน เปน็ รว่ มกบั ผปู้ กครอง รายบคุ คล ประเมินผลการเรียนตาม 6) รว่ มมอื กับผูป้ กครอง บริบทนักเรยี นรายบุคคล หาแนวทางแกไ้ ขปญั หา 6) ร่วมมอื กับผปู้ กครอง การจดั การเรียนรูส้ ำหรับ หาแนวทางแก้ไขปญั หา นักเรยี น การจัดการเรียนร้สู ำหรบั นักเรยี น

43 3.2 กรณีจัดการเรียนการสอนทโ่ี รงเรียนได้ กรณีทไี่ ด้รบั การอนญุ าตจากศนู ย์บรหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID - 19) จังหวัด (ศบค. จงั หวัด) ในการจัดการเรียนการสอนแบบปกติเรยี นทโ่ี รงเรียน โดยให้ปฏิบัติตาม มาตรการและแนวทางการดำเนินงานเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดังนั้น หากมนี กั เรยี นจำนวนน้อยและมีพื้นที่เพียงพอ ก็สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติได้ หากนักเรียนจำนวน มาก หรอื มพี ้นื ที่ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนตามมาตรการ การเว้นระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) / ความปกติใหม่ (New Normal) ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่างการเรียนที่โรงเรียน (ON - SITE) การเรียนผ่าน DLTV (ON - AIR) การเรียนออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (ONLINE) การเรียน ผ่าน Application (ON - DEMAND) การเรียนที่บ้านโดยหนังสือเรียนแบบฝึกหัด (ON - HAND) ให้นักเรียน สลับกันมาเรียนและ มาสอบที่โรงเรียนได้ โดยครูต้องคำนึงถึงการจัดทำข้อสอบคู่ขนาน ( Parallel Examination) เพ่อื ความยตุ ิธรรมสำหรับผูเ้ ข้าสอบ กรณีนักเรียนทส่ี ามารถเรยี นทบี่ า้ นได้ (Learn from home) กรณนี กั เรยี นที่ไม่สามารถเรียนท่ีบา้ นได้ทั้ง 4 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏบิ ัติ สำหรบั ครู สำหรับผปู้ กครอง สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง 1) ทบทวนข้อมูลจาก 1) รอรับการตรวจเยี่ยม 1) ทบทวนข้อมลู จาก 1) รอรบั การตรวจเยยี่ ม ระบบดูแลช่วยเหลือ บา้ นจากครู ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื บา้ นจากครู นักเรยี นและระบบจัดเก็บ 2) สนับสนนุ การจัดการ นกั เรียน และระบบจดั เก็บ 2) สนับสนนุ การจัดการ ขอ้ มูลนกั เรียนรายบุคคล เรียนรู้ ของนักเรยี นขณะ ขอ้ มลู นกั เรยี นรายบุคคล เรยี นรสู้ ำหรับนกั เรยี น (Data Management อยูท่ ี่บ้าน ตามศักยภาพ (Data Management ขณะอยูท่ ีบ่ ้าน ตาม Center) และบรบิ ท ของครอบครวั Center) ศกั ยภาพและบรบิ ท ของ 2) ศึกษาแนวทางการ 3) กระตนุ้ นักเรยี นเตรยี ม 2) ศกึ ษาแนวทางการ ครอบครัว จัดการเรยี นการสอน ชอ่ งทางในการเรียนทบ่ี า้ น จัดการเรียนการสอน 3) เข้าร่วมชอ่ งทาง ทางไกล (Learn from home) ทางไกล การสอ่ื สาร กบั ครู ตามที่ 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษา เอกสารการเรียนรู้ ใบงาน 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษา นดั หมาย แผนการสอน เตรียม ตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการจัดการ แผนการสอน เตรยี ม 4) กระต้นุ นักเรียนในการ เอกสารการเรยี นรู้ ใบงาน เรียนรู้ สำหรบั นักเรยี น เอกสารการเรยี นรู้ ใบงาน เรยี น ทำการบา้ นหรอื ใบ สำหรับนักเรียน และ และรายงานตวั ก่อนเรียน สำหรบั นกั เรียน และ งาน ตามทค่ี รูกำหนด ศึกษาการเรยี น การสอน กับครู ผ่านช่องทาง การ ศกึ ษาการเรยี นการสอน 5) รบั –สง่ แฟ้มงาน ล่วงหนา้ จากเวบ็ ไซต์ของ สอ่ื สารตามนดั หมาย ล่วงหนา้ จากเว็บไซต์ของ นักเรยี น และสอื่ สารกบั ครู DLTV (www.dltv.ac.th) 4) เขา้ รว่ มช่องทางการ DLTV (www.dltv.ac.th) ตามการนัดหมาย 4) ศกึ ษาช่องทางในการ สือ่ สารกับครู เช่น เพื่อวางแผนการเรียนรู้ ที่ 6) ร่วมกับครปู ระเมนิ ผล เรยี นท่ีบ้าน โทรศัพท์ ไลน์ (Line) เหมาะสมสำหรบั นักเรียน การเรียนรขู้ องนักเรียน เฟซบ๊คุ (Facebook)หรอื ขณะเรียนรอู้ ยูท่ ีบ่ ้าน

44 กรณีนกั เรยี นทสี่ ามารถเรียนท่บี า้ นได้ (Learn from home) กรณนี ักเรยี นท่ไี มส่ ามารถเรียนท่ีบา้ นได้ทง้ั 4 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏบิ ัติ สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง (Learn from home) ชอ่ งทางอืน่ ๆ ตามนดั 4) จดั ให้นกั เรียนมาเรยี นท่ี 7) ร่วมมอื กับครหู าแนว และวิธกี ารใช้งาน หมาย โรงเรยี น โดยตอ้ งปฏบิ ัติ ทางแกไ้ ขปญั หาการ 5) สำรวจข้อมลู นักเรียน 5) ตรวจสอบ ติดตามการ ตามแนวทางการเว้น จัดการเรยี นรสู้ ำหรับ เพอ่ื เตรียมความพรอ้ ม เรยี นร้ขู องนกั เรยี น และ ระยะห่างทางสงั คม นักเรยี น วางแผนการจัดการเรียน รับ-สง่ แฟ้มงาน นกั เรียน (Social Distancing) การสอนทางไกล ผา่ น ตามการนัดหมาย กรณีท่ีนักเรียนสลบั กนั มา ช่องทางเรยี นท่บี า้ น และ 6) ร่วมกบั ครูประเมินผล เรียนท่โี รงเรียน ครตู อ้ ง แบง่ กลมุ่ นกั เรียนสลบั กัน การเรยี นรขู้ องนกั เรียน วางแผนการจดั การเรยี น มาเรียนที่โรงเรียน 7) รว่ มมือกบั ครหู าแนว การสอนของนักเรยี นเป็น 6) ตรวจเยี่ยมบ้าน ทางแก้ไขปัญหาการ รายบุคคล5) ตรวจเยี่ยม นกั เรยี น เพ่อื พดู คยุ ให้ จดั การเรยี นรู้ สำหรบั บ้านนกั เรียน เพ่ือพูดคยุ คำปรึกษาแกผ่ ปู้ กครอง นกั เรยี น ใหค้ ำปรึกษาแกผ่ ู้ปกครอง และรบั -สง่ เอกสาร และรับ-สง่ เอกสารการ การจัดการเรียนรู้ ใบงาน จดั การเรียนรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ อย่างน้อยสปั ดาห์ อนื่ ๆ อย่างนอ้ ยสปั ดาห์ ละ 1 ครัง้ ละ 1 ครั้ง 7) สำหรับผปู้ กครองทีม่ ี 6) สำหรับผปู้ กครองที่มี ศักยภาพสามารถ ชว่ ย ศักยภาพสามารถชว่ ย จัดการเรียนการสอนได้ จัดการเรียนการสอนได้ ให้ครวู างแผน ร่วมกับ ใหค้ รูวางแผนรว่ มกับ ผู้ปกครอง ในการจัดการ ผูป้ กครอง ในการจัดการ เรียนการสอน การส่งงาน เรียนการสอน การส่งงาน และการจดั ทำการบา้ น และการจดั ทำการบา้ น 8) วิเคราะหผ์ ลการจัดการ 7) วเิ คราะห์ผลการจดั การ เรียนการสอนทางไกล เรียนรู้ การเยย่ี มบา้ น และ การเย่ยี มบา้ น และปญั หา ปัญหาตา่ ง ๆ เพ่อื นำมา ต่าง ๆ เพอ่ื นำมาทบทวน ทบทวน ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตามบรบิ ท ตามบริบทของนักเรยี น ของนักเรียนเป็น เป็นรายบคุ คล รายบคุ คล 8) ออกแบบการวดั และ 9) ออกแบบการวดั และ ประเมินผลการเรยี นและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้และ ร่วมกบั ผู้ปกครอง

45 กรณีนกั เรยี นทส่ี ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) กรณนี กั เรียนทไ่ี มส่ ามารถเรียนที่บ้านได้ทั้ง 4 ช่องทาง แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏบิ ัติ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏบิ ัติ สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง สำหรับครู สำหรบั ผปู้ กครอง ร่วมกับผูป้ กครอง ประเมินผล การเรยี นรู้ ประเมินผล การเรยี นรู้ ตามบรบิ ทนักเรยี น ตามบรบิ ทนักเรียนเป็น รายบุคคล รายบุคคล 9) รว่ มมอื กบั ผู้ปกครอง 10) ร่วมมือกบั ผปู้ กครอง หาแนวทางแก้ไข ปญั หา หาแนวทางแก้ไขปัญหา การจัดการเรียนร้สู ำหรบั การจัดการเรียนรู้ของ นักเรียน นกั เรียน