Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สู่โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว

รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สู่โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว

Published by jt2554, 2022-04-30 10:05:42

Description: รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สู่โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว Project Based Learning (PBL1+2) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นผลงานที่เกิดจากการจัดอบรมให้แก่คุณครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านการประชุมทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Google Meet ในวันที่ 17 สิงหาคม 2564 จำนวน 6 ชั่วโมง และปฏิบัติการจัดทำผลงาน ระหว่างวันที่ 17-28 สิงหาคม 2564 เนื้อหาการอบรมในครั้งนี้ ประกอบด้วย Step 1-10 การออกแบบการเรียนรู้ Active Learning ตามหลัก “ศาสตร์พระราชา” ธรรมชาติรายวิชา โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว ทักษะในศตวรรษ ที่ 21 Pattern Based Learning: PBL.1 และ Project-Based Learning: PBL.2 เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้น เพื่อสรุปและรายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อนำข้อมูลการดำเนินการ ปัญหาและข้อเสนอแนะ สู่การวิเคราะห์ผล เพื่อวางแผนการปรับปรุงพัฒนาการจัดอบรมในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณอาจารย์ครรชิต มนูญผล ท่านวิทยากร ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม ขอขอบพระคุณเจ้าของผลงานทุกท่านที่นำมาใช้ในการจัดทำรายงาน และขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ย

Keywords: รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สู่โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว

Search

Read the Text Version

1

รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สโู่ ครงงานอยา่ งง่ายหนา้ เดยี ว Project Based Learning (PBL1+2) ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้. นางสาวจริยา ทองหอม กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2

คานา รายงานการออกแบบการเรียนรู้ สู่โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว Project Based Learning (PBL1+2) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นผลงานท่ีเกิดจากการจัดอบรมให้แก่คุณครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผ่านการประชุมทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Google Meet ในวันที่ 17 สิงหาคม 2564 จานวน 6 ชั่วโมง และปฏิบัติการจัดทาผลงาน ระหว่างวันท่ี 17-28 สิงหาคม 2564 เนื้อหาการอบรมในคร้ังนี้ ประกอบด้วย Step 1-10 การออกแบบการเรียนรู้ Active Learning ตามหลัก “ศาสตร์พระราชา” ธรรมชาติรายวิชา โครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว ทักษะในศตวรรษ ท่ี 21 Pattern Based Learning: PBL.1 และ Project-Based Learning: PBL.2 เอกสารฉบับน้ีจัดทาขึ้น เพื่อสรุปและรายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือนาข้อมูลการดาเนินการ ปัญหาและข้อเสนอแนะ สู่ การวเิ คราะห์ผล เพอ่ื วางแผนการปรับปรงุ พัฒนาการจัดอบรมในครัง้ ต่อไปให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขน้ึ ขอขอบพระคุณอาจารย์ครรชิต มนูญผล ท่านวิทยากร ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม ขอขอบพระคุณเจ้าของผลงานทุกท่านท่ีนามาใช้ในการจัดทารายงาน และขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือจนสามารถจัดทารายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี และหากพบข้อบกพร่องประการใด โปรดแจง้ ผ้จู ดั ทาเพือ่ การปรับปรุงแก้ไขใหม้ ีความสมบรู ณย์ ง่ิ ข้ึน นางสาวจรยิ า ทองหอม กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 3

สารบญั เร่อื ง หน้า คานา 3 สารบัญ 4 การออกแบบการเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน 5 Step 1-10 ของ การออกแบบการเรยี นรู้สู่โครงงานอย่างง่ายหนา้ เดียว 6 โครงงานระยะท่ี 1 ฝกึ ตามแบบ Pattern-Based Learning : PBL1 23 โครงงานระยะท่ี 2 Project-Based Learning: PBL 2 48 ภาพประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติทางออนไลน์ 55 เร่อื ง การออกแบบการเรยี นรู้ Active Learning ตามหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” ส่โู ครงงานอย่างง่ายหน้าเดียว Project Based Learning. 57 เกียรติบตั รสาหรบั ผู้เขา้ ร่วมอบรม และวุฒบิ ตั รสาหรบั ผูส้ ร้างแผน PBL หนา้ เดยี ว 57 บรรณานุกรม 4

การออกแบบการเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การออกแบบการเรียนรู้ คือ การวางแผนอย่างแยบคาย ด้วยสติและปัญญาของผู้สอน บนรากฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยใคร่รู้มี Passion ท่ีจะประสบ ความสาเร็จในการ เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านช่องทางและวิธีการที่สอดคล้องกับธรรมชาติความถนัดของ ตนเอง จนเกดิ การเรียนรู้เชงิ ลกึ และเห็นคุณค่าแท้ของการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ เป็นทักษะสาคัญที่ ครูควรมี เป็นการแสดงถึงศักยภาพ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์การสอน และความตั้งใจ พยายามใน การปฏิบัติงานสอดให้ดีขึ้นของครู เป็นส่ิงที่พัฒนาได้ด้วยการศึกษาเรยี นรู้เพิ่มเติม ฝึกคิด นาาไปใช้ประเมินผล นามาปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง โดยต้อง คานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสิ่งสาคัญ ครูสามารถเลือกใช้ รูปแบบแนวคิดในการออกแบบท่ีมีอยู่ตามความสนใจ หรือครูอาจสร้างรูปแบบที่เป็นของตนเองได้ ผลการ ออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม สอดคล้องกบั ผู้เรียน สามารถชว่ ยใหก้ ารจัดการเรียนการสอนมีคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพมากขึน้ ช่วยให้ครปู ระสบความสาเรจ็ ในการเปน็ ครทู ่ีดี เป็นคนเกง่ มากขึน้ แนวคิดเก่ยี วกบั การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานทนี่ ักการศกึ ษาสว่ นใหญ่ใหค้ วามสนใจและเห็น ว่าสอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 มากที่สุด คือ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning Theory) ได้แก่ ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) และทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ช้ินงาน (Constructionism) ซึ่งมีความเช่ือว่าการเรียนรู้จะ เกิดขนึ้ เมอ่ื ผเู้ รยี นได้สร้างความรู้ท่ีเป็นของตนเอง สรา้ งความรู้ท่เี กดิ จากความเข้าใจของตนเอง และมีส่วนรว่ ม ในการเรียน (Active Learning) มากขึ้น รูปแบบจากการเรียนรู้ที่เกิดจากแนวคิดน้ีมีหลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรู้แบบช่วยเหลือกัน (Collaborative Learning) การเรียนรู้โดยการค้นคว้าอย่างอิสระ (Independent Investigation Method) รวมท้ัง การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem–Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PjBL) เป็นการส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ทฤษฎีการสร้างความรู้ ด้วยตนเองโดย การสร้างสรรค์ช้ินงาน และการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งมีขั้นตอนการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการแสวงหาความรู้ การใช้กระบวนคิด และทักษะในการแกป้ ัญหา ผู้เรียนจะเรียนรู้โดยสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยใช้โครงงาน เป็นฐาน ซึ่งการจัดการเรียนรู้ลักษณะน้ี ผู้เรียนต้องศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติและแก้ปัญหา เพื่อสร้าง ผลงานหรือชน้ิ งาน เปน็ การฝกึ ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรูจ้ ากการกระทา เพ่อื สร้างองค์ความรู้ทถี่ าวรด้วยตวั ผู้เรยี นเอง 5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

STEP 10 โครงงานอย่างงา่ ยหนา้ เดยี วคอื อะไร เปน็ การเรยี นร้ดู ว้ ยวิธีการโครงงาน เพื่อฝึกใหผ้ ้เู รียนสามารถคน้ พบหรือสร้างความรู้ใหม่ ความคดิ ใหม่ สร้างสรรค์ช้ินงานใหม่ วิธีการใหม่ๆ หรือได้นวัตกรรมใหม่ๆ ด้วยตนเอง เน้นการใช้รูปแบการคิดขั้นสูง แบบ Graphic Organizer มาประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถเห็นภาพข้ันตอน/รูปแบบวิธีการคิดที่ชัดเจนย่ิงข้ึน ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นให้นักเรียนพึ่งตนเองทุกข้ันตอนตั้งแต่ข้ันวางแผน ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล และปรับปรุงด้วยตนเอง ฝึกการทางานอย่างมีขั้นตอนท่ีเหมาะสมกับบริบท/ภูมิสังคมของตนเอง เน้นการมสี ว่ นรว่ มยอมรบั ฟงั ความคดิ ผอู้ ื่น เนน้ ผลประโยชนเ์ พื่อสว่ นรวมและไม่ตดิ ตารา 22

โครงงานระยะท่ี 1 ฝึกตามแบบ Pattern-Based Learning : PBL1 ระยะท่ี 1 ฝกึ คดิ +พาทา ครูผู้สอนแจง้ จดุ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ภาระงานและชิ้นงานตา่ งๆ เพื่อเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นใหน้ กั เรยี นทุกคนขยบั การขยายสมอง เพ่ือกระตุ้นให้เกิดความตืน่ ตัว ร่วมมอื ในการทากจิ กรรม มีสมาธิแน่วแน่ท่หี น่งึ เดียวพรอ้ มกัน โดยเลือกกจิ กรรม เพลง ทีเ่ หมาะสมกบั ระดบั ของ ผเู้ รยี น โดยครูเป็นผู้นากิจกรรมด้วยตนเองหรือจะมอบภารกจิ นี้ใหผ้ ้นู านกั เรยี นมานากจิ กรรมก็ได้ 1.1 วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาการคดิ เบื้องตน้ เพ่ือสรา้ งความม่ันใจให้กล้าคดิ กล้าพดู ฝกึ พึ่งตนเอง วางแผน เป็นขนั้ ตอน ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอน ตามลกั ษณะภูมสิ ังคมของตนเอง 1.2 จุดเนน้ คือ สรา้ งเจตคติและแรงบันดาลใจในการเรยี นรู้ ระเบิดจากขา้ งใน สร้างความตระหนักรู้ เห็น คุณค่า ของงาน ม่งุ มนั่ ด้วยตนเอง ไม่ตอ้ งรอสงั่ การ 1.3 วิธกี าร คือ ครตู ัง้ คาถาม/ระบปุ ัญหา/ส่ิงที่อยากรู้ พร้อมยกตัวอย่าง หรือสื่อเพ่ือทาใหเ้ กิดข้อถกเถยี ง หรอื แสดงความคิดเหน็ หลากหลาย ทไี่ ม่มีคาตอบที่ตายตวั ไม่มีผิดไมม่ ีถูก นาเสนอตอ่ นักเรยี น โดยมีตัวอย่าง โครงงานอย่างง่ายหนา้ เดียวใหผ้ ูเ้ รยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกปฏบิ ัติตามข้นั ตอน ตามธรรมชาติรายวชิ า 1.4 กิจกรรมสาคัญ คอื ผเู้ รยี นร่วมกันระดมความคิด ระดมประสบการณ์ ระดมข้อมูล ฝกึ อา่ น ฟัง พูด เขยี น ฝกึ ทางานเปน็ กลมุ่ รว่ มกนั ปฏบิ ัตงิ านจนสาเรจ็ ฝกึ ทักษะการเป็นผู้นาผูต้ ามและการเปน็ สมาชกิ ทีด่ ี ฝกึ การเขียนแสดงความรู้สึก ฝกึ ทกั ษะการประเมนิ ตนเอง ฝึกทกั ษะการนาเสนอ การส่ือสารกบั ผ้อู ่นื 1.5 ผลทีเ่ กดิ ขึน้ กับผู้เรยี น คือ เกดิ ความม่ันใจมากข้นึ ในการคดิ กล้าคดิ กลา้ พดู กลา้ ทา เกดิ ความ ภาคภมู ใิ จในตนเอง เพราะผูเ้ รียนลงมือปฏบิ ตั ิจริงตามขั้นตอนอยา่ งเปน็ ระบบ 1.6 บทบาททส่ี าคัญของครู คือ เป็นผ้กู ระตุ้น นักสร้างแรงบันดาลท่ียิง่ ใหญ่ พาให้ผเู้ รียนคิด ฝึกคิด โดยมี ครทู าหนา้ ท่ีเปน็ โค้ช (Coach) เปน็ ผ้อู อกแบบการเรยี นรู้ ตั้งคาถามเพ่ือกระตุน้ การคดิ ของผู้เรยี น 1.7 ตัวอยา่ งทักษะการคิดทีเ่ กิดขึน้ คอื ทักษะการคิดข้ันสูงท่ีผู้เรียนได้รับการฝึกคดิ ตามข้ันตอนโดยใช้ Graphic Organizer ดงั น้ี 23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

โครงงานระยะท่ี 2 Project-Based Learning: PBL 2 ระยะท่ี 2 ฝกึ ทา+/ฝกึ แก้ปญั า/ฝึกหาคาตอบ ครผู ู้สอนแจง้ จดุ ประสงค์ในการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีต้องปฏิบัติ ภาระงานและชน้ิ งานตา่ งๆ เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในการเรียนใหน้ กั เรียนทุกคนขยับการขยายสมอง เพ่ือกระตนุ้ ให้เกิดความต่นื ตัว ร่วมมอื ในการทากิจกรรม มสี มาธิแน่วแนท่ ห่ี นงึ่ เดียวพร้อมกนั โดยเลือกกจิ กรรม เพลง ที่เหมาะสมกบั ระดับของ ผเู้ รยี น โดยครเู ปน็ ผู้นากจิ กรรมด้วยตนเองหรือจะมอบภารกิจน้ีให้ผนู้ านักเรียนมานากจิ กรรมก็ได้ 1.1 วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื พฒั นาการคิดเบื้องตน้ เพื่อสร้างความมน่ั ใจให้กล้าคดิ กล้าพดู ฝกึ พ่งึ ตนเอง วางแผนเปน็ ขน้ั ตอน ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอน ตามลักษณะภูมิสงั คมของตนเอง และพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการ ทางานจากการปฏบิ ตั ิจรงิ 1.2 จดุ เน้น คือ สร้างเจตคติและแรงบันดาลใจในการเรยี นรู้ ระเบิดจากข้างใน สร้างความตระหนกั รู้ เหน็ คุณค่าของงาน มงุ่ ม่นั ด้วยตนเอง ไม่ตอ้ งรอสัง่ การ เรียนร้จู ากการปฏบิ ตั ิจริง ไดล้ งมอื ทาจรงิ โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรียน ได้ “ฝึกคิดแก้ปัญหา” ทีค่ รูเป็นคนกาหนดหรือร่วมกนั กาหนดขนึ ้ มา ครจู ะเป็นผ้อู อกแบบโครงการ (Project) และ เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้มสี ่วนรว่ มในการออกแบบโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรยี น 1.3 วิธีการ คอื ครตู ้งั คาถาม/ระบุปญั หา/ส่ิงท่ีอยากรู้ พร้อมยกตัวอย่าง หรอื สอ่ื เพ่ือทาให้เกิดข้อถกเถียง หรือแสดงความคิดเห็น หลากหลาย ทีไ่ มม่ ีคาตอบท่ีตายตวั ไมม่ ผี ิดไม่มีถูก นาเสนอต่อนักเรยี น โดยมีตัวอย่าง โครงงานอยา่ งง่ายหน้าเดียวให้ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่มฝกึ ปฏิบัตติ ามข้นั ตอน ตามธรรมชาติรายวิชา 1.4 กิจกรรมสาคัญ คอื ผูเ้ รียนรว่ มกันระดมความคิด ระดมประสบการณ์ ระดมข้อมลู ฝึกอ่าน ฟงั พูด เขยี น ฝึกทางานเป็นกลมุ่ ร่วมกนั ปฏิบัตงิ านจนสาเร็จ ฝึกคิดแกป้ ัญหา ฝึกทักษะการเปน็ ผนู้ าผตู้ ามและการเปน็ สมาชกิ ทด่ี ี ฝึกการเขียนแสดงความรสู้ กึ ฝึกทักษะการประเมนิ ตนเอง ฝกึ ทกั ษะการนาเสนอ การส่ือสารกับ ผอู้ ื่น 1.5 ผลที่เกดิ ข้นึ กับผูเ้ รยี น คือ เกดิ ความม่นั ใจมากข้ึนในการคิด กล้าคดิ กลา้ พดู กล้าทา เกดิ ความ ภาคภูมิใจในตนเอง เพราะผเู้ รยี นลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ ตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบ รวมท้ังฝกึ ทา ฝกึ แก้ปัญหา เกิดทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ทักษะการแก้ปญั หา ทักษะชวี ิตเกยี่ วกับการทางานอย่างมรี ะบบ แบบแผน ทกั ษะความรว่ มมือ หรอื ทางานเปน็ ทีม ทักษะการส่ือสาร และไอซีที 1.6 บทบาททสี่ าคัญของครู คือ เปน็ ผกู้ ระต้นุ นักสร้างแรงบันดาลท่ยี ่งิ ใหญ่ พาใหผ้ ู้เรียนคิด ฝกึ คิด โดยมี ครูทาหน้าทีเ่ ป็นโคช้ (Coach) เป็นพเ่ี ลยี้ งคอยช่วยเหลอื ตลอดเวลา 1.7 ตัวอย่างทกั ษะการคิดทเี่ กิดขนึ้ คือ ทักษะการคิดขั้นสูงท่ีผู้เรยี นได้รบั การฝึกคดิ ตามขั้นตอนโดยใช้ Graphic Organizer ดังน้ี 48

49

50