Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ

แผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ

Published by jt2554, 2020-05-03 10:26:08

Description: การพัฒนาหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และทักษะเกี่ยวกับแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตามนโยบายรัฐบาล อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สนใจในช่วงที่เกิดภาวะวิกฤตจากการระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 และเพื่อส่งเสริมผู้สนใจให้มีความสามารถในการเลือกและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเท่านั้น
ขอขอบพระคุณท่านผู้เขียนตำราที่ใช้ในการสืบค้นเพื่อสังเคราะห์ทุกเล่ม ท่านผู้ทรงคุณวุฒิที่ช่วยชี้แนะ ปรับเน้นแนวทาง ประสิทธิ์ประสาทความรู้ที่ลึกซึ้งแม่นตรง และส่งเสริมกำลังใจให้คณะทำงานโดยตลอด ประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ นราพร จันทร์โอชา รองศาสตรจารย์ ดร.คุณหญิงอาราณ์ ฉนวนจิตร คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา และอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอยนาม รวมทั้งทีมผู้บริหารโรงเรียนทุกท่านที่มุ่งมั่นตั้งใจร่วมใจพลิกโฉมคุณภาพการศึกษาไทย คณะครูที่ทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจเพื่อช่วยการเปลี่ยนแปลงการศึกษาไทยให้มีคุณภาพเทียบเท่าอารยในสากลประเ

Keywords: แผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา”

Search

Read the Text Version

1 แผนหน้าเดยี วสู่อจั ฉริยะ ด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ครรชติ มนูญผล

2ก คานา การพัฒนาหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อจั ฉริยะด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ จัดทาขึน้ เพ่ือเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และทกั ษะเก่ียวกับแผนหน้า เดียวสอู่ จั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ตามนโยบาย รัฐบาล อย่บู ้าน หยดุ เชือ้ เพ่ือชาติ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ผ้สู นใจในชว่ งที่เกิดภาวะวกิ ฤตจากการระบาด ของไวรัสโคโรน่า 2019 และเพ่ือส่งเสริมผู้สนใจให้มีความสามารถในการเลือกและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเทา่ นนั้ ขอขอบพระคณุ ท่านผ้เู ขียนตาราท่ีใช้ในการสืบค้นเพ่ือสงั เคราะห์ทกุ เล่ม ท่านผ้ทู รงคณุ วฒุ ิที่ช่วย ชีแ้ นะ ปรับเน้นแนวทาง ประสิทธ์ิประสาทความรู้ที่ลึกซงึ ้ แม่นตรง และส่งเสริมกาลงั ใจให้คณะทางานโดย ตลอด ประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ นราพร จนั ทร์โอชา รองศาสตรจารย์ ดร.คณุ หญิงอาราณ์ ฉนวนจติ ร คณุ หญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา และอีกหลายทา่ นที่ไมไ่ ด้เอยนาม รวมทงั้ ทีมผ้บู ริหารโรงเรียนทกุ ทา่ นที่ มุ่งม่ันตัง้ ใจร่วมใจพลิกโฉมคุณภาพการศึกษาไทย คณะครูที่ทุ่มเททัง้ แรงกายแ รงใจเพ่ือช่วยการ เปล่ียนแปลงการศกึ ษาไทยให้มีคณุ ภาพเทียบเทา่ อารยในสากลประเทศ คุณค่าและประโยชน์ที่เกิดจากเอกสารเล่มนี ้ ขอมอบเป็นเคร่ืองบูชาพระคุณของพ่อ-แม่ ครู- อาจารย์ และผ้มู ีพระคณุ ทกุ ๆ ทา่ น ผ้เู ขียนขอกราบขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นเป็นอยา่ งสงู มา ณ โอกาสนี ้ ครรชติ มนญู ผล

3ข สารบญั เร่ือง หน้า คานา ก สารบญั ข การพฒั นาหลกั สตู รแผนหน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ 4 สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 9 แผนหน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 10 การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ องบคุ คล 16 5 จดุ เดน่ ของแผนการเรียนรู้หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะตามหลกั ศาสตร์พระราชา 26 ตวั อยา่ งผลงาน การพฒั นาหลกั สตู รแผนหน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะตามศาสตร์พระราชา 35 5 มาตรการ สง่ เสริมการเรียนรู้ สถานการณ์ Covid-19 37 ตวั อยา่ งผลงาน 5 มาตรการ สง่ เสริมการเรียนรู้ สถานการณ์ Covid-19 43 แบบทดสอบแผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะตามศาสตร์พระราชา ยคุ Covid-19 45 ตวั อยา่ งเกียรตบิ ตั ร 45 เฉลยแบบทดสอบ 46 บรรณานกุ รม

4 การพฒั นาหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อัจฉริยะ ด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ โดย ครรชติ มนูญผล คาชีแ้ จง การพฒั นาหลกั สตู รแผนหน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ จดั ทาขนึ ้ เพ่ือเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และทกั ษะเก่ียวกบั แผนหน้าเดียวสู่ อจั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ให้แกผ่ ้สู นใจในชว่ งที่เกิดภาวะวิกฤต จากการระบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 และเพ่ือสง่ เสริมผ้สู นใจให้มีความสามารถในการเลือกและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเทา่ นนั้ ครรชิต มนญู ผล ผ้จู ดั ทา แนวคดิ หลักการของการพฒั นาหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อัจฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 การพฒั นาหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงทมุ่ เทพระวรกายอยา่ ง หนกั ในการพฒั นาประเทศมามากกว่า 70 ปี ทรงตรากตราม่งุ มนั่ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในทกุ ๆ ด้านให้แก่พสกนิกรของพระองค์ไม่ว่าจะยากลาบากอย่แู ห่งหนตาบลใดหรืออย่ใู นพืน้ ท่ีทรุ กนั ดารห่างไกล ท่ียากต่อการเข้าถึง แต่พระองค์ก็มิได้ทรงย่อท้อเหน็ดเหนื่อย จะทรงเสด็จลงไปให้เห็นสภาพจริงด้วย พระองค์เองโดยใช้ “ความเข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” ใช้ความเข้าใจในสภาพบริบทจริง เข้าถึงสภาพพืน้ ทีและ ปัญหาจริงและคิดค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกบั สภาพพืน้ ท่ีหรือปัญหาเหล่านนั้ จนสามารถ แก้ไขและพฒั นาได้ผลเป็นท่ีประจกั ษ์ประชาราชมีความสขุ ถ้วนหน้า วิธีการทางานของพระองคน์ บั เป็นองค์

5 ความรู้ที่สาคญั ย่ิงเป็นสมบตั ิอนั ลา้ คา่ แก่ชนรุ่นหลงั ลกั ษณะการทรงงานของพระองค์ทรงเน้นการเรียนรู้เป็น กลมุ่ ทางานเป็นทีม ร่วมมือร่วมใจร่วมคดิ ร่วมรับผดิ ชอบตลอดเวลาแบบ Active Learning เปิดโอกาส ให้ทกุ คนทกุ ฝ่ายทกุ คณะที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมสะท้อนแสดงความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ตลอดเวลา มีการติดตามผลเฝ้าระวังเป็นระยะด้วยความวิริยะอุตสาหะยิ่งอย่างจริงจงั แบบ Professional Learning Community (PLC) จนกลายเป็นการพัฒนาที่คงทนและยงั่ ยืนของประเทศไทยในหลายด้าน โดยเฉพาะ การพฒั นาการศึกษา แนวทางการทางานของพระองค์ซึ่งได้พระราชทานผ่านการปฏิบตั ิจริงทุกขนั้ ตอน แสดงให้เห็นภาพพฒั นาการของงานที่เป็นรูปธรรมตลอดเวลาซึงเราเรียกว่า “ศาสตร์พระราชา” เป็นส่ิงที่ ควรยดึ เป็นแบบอยา่ งเข้าใจและจริงจงั ในการพฒั นาผ้เู รียนและการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพย่ิงๆขนึ ้ ตลอดไป “ศาสตร์พระราชา” ถือว่าเป็น “ตาราแหง่ ชีวิต” เพราะบนั ทึกจากประสบการณ์ จากการทรงงาน ท่ี ทาให้ประเทศไทยสามารถผ่านวิกฤตการณ์ต่าง ๆ มาได้ทุกมิติ ผมขอชื่นชนสื่อทกุ แขนง ท่ีได้นาเสนอใน รูปแบบตา่ ง ๆ ส่สู ายตาประชาชน และเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้รับรู้เข้าใจได้ลึกซึง้ และถ่องแท้มากยิ่งขนึ ้ เพ่ือ สามารถน้อมนาไปสกู่ ารปฏิบตั ไิ ด้ เป็นอยา่ งดี (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา. 23 ธนั วาคม 2559.) ปัจจบุ นั มีการนา“ศาสตร์พระราชา” ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในหลวง รัชกาลท่ี 9 สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด คณุ ภาพจริงในพืน้ ท่ีโรงเรียนหลายแห่งในประเทศไทยทงั้ ในพืน้ ที่ชนบทห่างไกลและพืน้ ท่ีในตวั เมือง เป็น การเรียนรู้แบบ Active Learning + Professional Learning Community : PLC อย่างแท้จริง สอดคล้อง กบั สถานการณ์ปัจจบุ นั โลกมีการเปล่ียนแปลงรวดเร็วและก้าวไกลมากมาย ไม่วา่ จะเป็นด้านความเจริญ ด้านเทคโนโลยี การสื่อสาร การคมนาคมขนส่งตา่ งๆ อนั เป็นปัจจยั ส่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของ มนษุ ย์โดยเฉพาะการศกึ ษาได้เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพ่ือให้ก้าวทนั สงั คมโลก รัฐบาลได้ประกาศ Thailand 4.0 เป็นวิสยั ทศั น์เชิงนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจที่ขบั เคล่ือนด้วยนวตั กรรม เปลี่ยนจาก การผลิตสินค้าแบบ “ทามากได้น้อย” ปรับเปลี่ยนเป็น “ทาน้อยได้มาก” เปลี่ยนจากสินค้าเชิง “โภคภณั ฑ์” ไปสสู่ นิ ค้าเชิง “นวตั กรรม”ซ่ึงต้องอาศยั ความเข้าใจ ความร่วมมือจากทกุ ฝ่ายที่เก่ียวข้องเพ่ือพฒั นาประเทศ ไปสเู่ ปา้ หมายได้ ส่ิงสาคญั ต้องเร่งสร้างคณุ ภาพของผ้เู รียนใหม่ให้เป็นบคุ คลที่“คนคิดเป็นคิดดี+ทาดีทาเป็น” โดย น้อมเกล้านา “ศาสตร์พระราชา” ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 เป็นหลกั คิด แล้วหลอมรวมกิจกรรมการพฒั นา ผ้เู รียนแบบ Active Learning การเรียนรู้เป็นทีม การทางานเป็นกล่มุ อยู่ร่วมได้ในหลายหลากวฒั นธรรม

6 และการสร้ างวัฒนธรรมใหม่ในการพฒั นาครูสู่อาชีพโดยใช้ Professional Learning Community (PLC) อนั จะเป็นการสร้างความมนั่ คงด้านคณุ ภาพการศกึ ษาไทยใน Thailand 4.0 อยา่ งแท้จริง การพัฒนาหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะด้วยหลัก “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ วิสัยทัศน์ การอบรมหลกั สตู รแผนหน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ มงุ่ สง่ เสริมผ้สู นใจให้เลือกใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเพ่ือพฒั นาความรู้ เจตคติ และ ทกั ษะของตนเอง เป็นผ้คู ดิ เป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น แทนคณุ ลกั ษณะของผ้บู ริโภคผา่ นระบบออนไลน์ ผา่ นเครือขา่ ย อินเทอร์เนตในชว่ งที่เกิดภาวะภาวะวกิ ฤตจากการระบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 หลักการของหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ 1. เป็นหลกั สตู รระยะสนั้ ผา่ นระบบออนไลน์มีจดุ หมายเพื่อเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และทกั ษะ เก่ียวกบั แผนหน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ให้แก่ผ้สู นใจในชว่ ง ท่ีเกิดภาวะภาวะวิกฤตจากการระบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 2. เป็นหลกั สตู รที่มีโครงสร้างยืดหยนุ่ ผ้สู นใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองทกุ ที่ ทกุ เวลา 3. เป็นการจดั การอบรมที่ยึดสภาพการณ์และปัญหาท่ีเกิดขนึ ้ ในชีวิตจริง 4. การวดั และประเมนิ ผลโดยใช้เกณฑ์การประเมิน 70 % ขนึ ้ ไป จุดหมายของหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ 1) เพ่ือสร้ างความตระหนักรู้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สูงขึน้ โดยน้อมเกล้าฯ นา “ศาสตร์ พระราชา” สกู่ ารปฏิบตั ดิ ้วยความ “เข้าใจ เข้าถึง และพฒั นา” อยา่ งเป็นรูปธรรม 2) เพ่ือออกแบบหน่วยการเรียนรู้ Active Learning สร้างผ้เู รียนให้เป็น “คนคิดดีคิดเป็น+ทาดีทา เป็น” มีจิตอาสาสอดคล้องกบั คณุ ภาพในศตวรรษท่ี 21 และ Thailand 4.0 3) เพ่ือสร้างรูปแบบการนิเทศตดิ ตามถึงห้องเรียนในทกุ มิตคิ ณุ ภาพที่ตรงประเดน็ ทนั ทว่ งทีทนั เวลา (Real time) อยา่ งตอ่ เนื่อง ระยะเวลาของหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อัจฉริยะ ด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ระยะเวลาดาเนินการ 4 พฤษภาคม 2563 – 30 มถิ นุ ายน 2563

7 เนือ้ หาสาระของหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ ด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1. ศาสตร์พระราชา (หลกั การขบั เคลื่อนสคู่ ณุ ภาพ) -เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา ระเบดิ จากข้างใน 2. Active Learning 3. Graphic Organizer + Bloom Taxonomy +มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั 4. การสร้างหน่วยการเรียนรู้เพื่อพฒั นาผ้เู รียน 5. การนเิ ทศติดตาม Real-time กิจกรรมการอบรมหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ ด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ คุณสมบัตผิ ู้เข้าร่วมกจิ กรรม 1. มีความผ้สู นใจในการพฒั นาตนเองด้วยระบบออนไลน์ ในช่วงที่เกิดภาวะวิกฤตจากการระบาด ของไวรัสโคโรนา่ 2019 2. มีความสนใจและสมคั รเข้าอบรมเก่ียวกบั การเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning) ผา่ นระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตามความสมคั รใจ 3. มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เชน่ คอมพวิ เตอร์ หรือโทรศพั ท์ 4. มีความรับผิดชอบและสง่ งานตามกาหนดเวลา ส่ือการเรียนรู้ของหลักสูตรแผนหน้าเดียวสู่อัจฉริยะ ด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ส่ือการเรียนรู้ การกาหนดสื่อและแหลง่ การเรียนรู้ ดงั นี ้ 1. เว็บเพจ 2. แบบทดสอบ 3. เอกสารประกอบการอบรมเกี่ยวกบั แผนหน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 4. เกียรติบตั ร

8 การวัดและประเมนิ ผลหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อัจฉริยะ ด้วยหลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ สถานการณ์ Covid-19 ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ วิธีการวัดและประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน 1. การประเมนิ หลกั สตู รแผน หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะด้วยหลกั 1. แบบทดสอบเก่ียวกบั 1. ผา่ นการอบรมเก่ียวกบั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ สถานการณ์ Covid-19 ด้วย แผนหน้าเดียวส่อู จั ฉริยะด้วย แผนหน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะด้วยหลกั ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หลกั “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ “ศาสตร์พระราชา” ภายใต้ สถานการณ์ Covid-19 จานวน สถานการณ์ Covid-19 20 ข้อ ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ 70 % ขนึ ้ ไป

9 แผนหน้าเดยี วสู่อัจฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ครรชติ มนญู ผล 20 สิงหาคม 2560

10 การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิตขิ องบุคคล (The development of \"king science\" in the dimension of the person.) Kanchit Manoonphol Jariya Tonghom [email protected] การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ องบุคคล การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ อง อาจารย์ครรชิต มนญู ผล ผ้เู ช่ียวชาญพเิ ศษ ด้าน Active Learning สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ประกอบด้วย แนวคดิ หลกั การของศาสตร์พระราชา องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา ขนั้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา การ วดั และประเมินผลศาสตร์พระราชา และบรรณานกุ รม The development of \"king science\" in the dimension of the person. The development of \"king science\" in the dimension of Kanchit Manoonphol. Active Learning Specialist, Office of the Basic Education Commission Ministry of Education The concept of the king science: Elements of the King Science, steps to King's Science, development measure and evaluate the king and bibliography.

11 การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมิตขิ องบุคคล โดย ครรชิต มนญู ผล และจริยา ทองหอม 07 เมษายน 2561 การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ อง อาจารย์ครรชิต มนญู ผล ผ้เู ช่ียวชาญพเิ ศษ ด้าน Active Learning สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ประกอบด้วย แนวคดิ หลกั การของศาสตร์พระราชา องคป์ ระกอบของศาสตร์พระราชา ขนั้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา การ วดั และประเมินผลศาสตร์พระราชา และบรรณานกุ รม ดงั นี ้

12 1. แนวคดิ หลักการของศาสตร์พระราชา อาจารย์ครรชิต มนญู ผล ผ้เู ชี่ยวชาญพเิ ศษ ด้าน Active Learning สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้น้อมนา “ศาสตร์พระราชา” มาใช้เป็นแนวทางในการทางาน ตามหลกั การทรงงานที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงทาเป็นตวั อยา่ งมาตลอดระยะเวลา 70 ปี ได้แก่ หลกั การระเบดิ จากข้างใน พง่ึ ตนเอง รักษาภมู สิ งั คม ประหยดั เรียบง่าย เป็นขนั้ ตอน เน้นประโยชน์คน สว่ นใหญ่ เน้นการมีส่วนร่วม ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ และไมต่ ดิ ตารา มาเป็นแนวทางในการจดั อบรม ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพ่ือค้นหาทีมงานครูผ้สู ร้างนวตั กรรม 2. องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา องคป์ ระกอบของศาสตร์พระราชาที่อาจารย์ครรชิต มนญู ผลใช้ในการจดั อบรม ได้แก่ การสร้าง ความตระหนกั รู้ในปัญหา สาเหตุ และหลกั การสาคญั ของ \"ศาสตร์พระราชา\" ในการยกระดบั คณุ ภาพ การศกึ ษาไทย ด้วยการ “พาคดิ พาทา ชวนออกแบบ ชวนนาเสนอ”

13 3. ขัน้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา กระบวนการสาคญั ในแตล่ ะขนั้ ตอนของการพฒั นาศาสตร์พระราชา ได้แก่ ขนั้ พาคดิ : ทฤษฎี ของบลมู ระดบั สมองของมนษุ ย์ที่ต้องการและอยรู่ อดในศตวรรษท่ี 21 ขนั้ พาทา : การวิเคราะห์เชิง เช่ือมโยง 3 มติ ิ ระหวา่ งทฤษฎีของ บลมู : ทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู Graphic Organizer : ศาสตร์พระราชา (Active Learning), ขนั้ ชวนออกแบบ : กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาตริ ายวิชา ขนั้ ชวนนาเสนอ : หนว่ ย การเรียนรู้ /นวตั กรรมเตมิ เต็ม คดั เลือก ผ้มู ีผลงานเข้าร่วมทีมครูผ้สู ร้างนวตั กรรมการเรียนรู้

14 4. การวัดและประเมินผลศาสตร์พระราชา การวดั และประเมินผลศาสตร์พระราชาดาเนินการโดยการนิเทศตดิ ตามผลการจดั อบรม แบง่ เป็น 3 ระยะ ได้แก่ ตลอดเวลาหลงั อบรม รายสปั ดาห์ รายเดือนหรือภาคเรียน เพ่ือประเมินผลความพงึ พอใจ ของผ้เู กี่ยวข้องท่ีมีตอ่ การจดั อบรมและกระบวนการพฒั นาหลกั สตู รโดยใช้แบบประเมินความพงึ พอใจ การ ประชมุ สะท้อนผลการดาเนินงาน และวเิ คราะห์ผลการนิเทศติดตามโดยใช้ชอ่ งทางตา่ งๆ เชน่ แอพฟิเคชน่ั ตดิ ตามการจดั การเรียนรู้ครูผ้สู อนรายบคุ คล จดั กลมุ่ ไลน์ จดั กลมุ่ Face Book จดั ทีมนเิ ทศจติ อาสา สงั เกต การสอนในชนั้ เรียน สะท้อนผลการจดั การเรียนรู้ ใช้ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ถ่ายทา VTR นาเสนอในรายการทีวีเพ่ือการศกึ ษา เปิดโอกาสให้ผ้เู ข้ารับการอบรมทกุ คนนาเสนอผลการพฒั นาผ้เู รียน เชน่ หนว่ ยการเรียนรู้ Active Learning ชดุ การเรียนรู้ My Course Design ในเวทีครูต้นแบบศาสตร์พระราชาในระดบั ประเทศ ทงั้ นีเ้พราะปัจจบุ นั เป็นยคุ ของการปฏิรูปการ เรียนการสอนให้สอดคล้องกบั นโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา ผ้เู รียนจะต้องมีการพฒั นาตนเองและมีการ เตรียมความพร้อมสาหรับการเรียนการสอนอยตู่ ลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในการเรียนการสอนในระดบั ขนั้ พืน้ ฐาน ซง่ึ ต้องปลกู ฝัง ความรับผิดชอบตอ่ การเรียนและการพฒั นาความรู้ของตนเองอยเู่ สมอ ในการ จดั อบรมแตล่ ะครัง้ จะเป็นการอบรมที่สนกุ เตม็ เป่ียมด้วยเทคนิค สาระท่ีตรงประเดน็ คณุ ครูมีความตงั้ ใจ กระตือรือร้น และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมตงั้ แตต่ ้นจนจบ สามารถนาไปใช้ได้จริงในห้องเรียนยคุ Thailand 4.0

15 5. บรรณานุกรม ครรชติ มนญู ผล. (2560). ศาสตร์พระราชา. Power Point. ครรชติ มนญู ผล. (2560). \"ศาสตร์พระราชา\" Active Learning สคู่ ณุ ภาพที่ยง่ั ยืน Thailand 4.0. จาก https://www.facebook.com/kanchit.manoonphol นนทกาล รูปเอ่ียม. (2560). ศาสตร์พระราชา (Active Learning) สคู่ ณุ ภาพการศกึ ษา Thailand 4.0 โรงเรียนอยธุ ยาวิทยาลยั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 3. จาก http://www.obec.go.th/news/81377 จฑุ าทพิ ย์ สกุ าญจนาเศรษฐ์. (2560). โครงการพฒั นาครูต้นแบบ “ศาสตร์พระราชา” ด้วย Active Learning + Professional Learning Community (PLC) สคู่ ณุ ภาพการศกึ ษาที่ยง่ั ยืน Thailand 4.0

16 5 จุดเด่นของแผนการเรียนรู้หน้าเดยี วสู่อัจฉริยะตามหลักศาสตร์พระราชา ครรชิต มนญู ผล 20 สิงหาคม 2560

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26 ตวั อย่างผลงาน การพฒั นาหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อจั ฉริยะ ตามศาสตร์ พระราชา

27

28 ตัวอย่างผลงาน การพฒั นาหลักสูตรแผนหน้าเดยี วสู่อจั ฉริยะ ตามศาสตร์ พระราชา การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ องบุคคล (The development of \"king science\" in the dimension of the person.) Jariya Tonghom [email protected] การพฒั นา “ศาสตร์พระราชา” ในมติ ขิ องบุคคล การพฒั นาศาสตร์พระราชาในมติ ขิ องอาจารย์จริยา ทองหอม คณุ ครูผ้สู อนกลมุ่ สาระการงาน อาชีพและเทคโนโลยีการศกึ ษา และทศั นศลิ ป์ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 - มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนวดั พระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช ดาเนินการพฒั นาศาสตร์พระราชาในลกั ษณะของการวิจยั และพฒั นา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจยั ตามจดุ มงุ่ หมายของการวจิ ยั ที่มงุ่ ตอบปัญหาท่ีเก่ียวข้องกบั การดาเนนิ งานอนั จะ ก่อให้เกิดการปรับปรุง พฒั นางานให้ดีขนึ ้ ซงึ่ ประกอบด้วยแนวคดิ หลกั การของศาสตร์พระราชา องคป์ ระกอบของศาสตร์พระราชา ขนั้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา การวดั และประเมินผลศาสตร์ พระราชา The development of \"king science\" in the dimension of the person. The development of \"king science\" in the dimension of Jariya Tonghom. The teacher who teach education and technology, and visual arts in Grade 6 -9 at Wat Phra Mahathat Nakhon Si Thammarat City. Develop the king science's research in the nature of research and development by using research methodologies for the purpose of research aimed at addressing problems related to operations that will lead to improvement. Improve the work of the king science: Elements of the King Science, Steps to King's Science, Development Measure and evaluate the king.

29 การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิตขิ องบุคคล โดย จริยา ทองหอม 07 เมษายน 2561 การพฒั นาศาสตร์พระราชาในมติ ขิ องอาจารย์จริยา ทองหอม คณุ ครูผ้สู อนกลมุ่ สาระการงาน อาชีพและเทคโนโลยีการศกึ ษา และทศั นศิลป์ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 - มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนวดั พระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช ดาเนินการพฒั นาศาสตร์พระราชาในลกั ษณะของการวจิ ยั และพฒั นา โดยใช้ระเบยี บวธิ ีวิจยั ตามจดุ มงุ่ หมายของการวิจยั ท่ีมงุ่ ตอบปัญหาที่เกี่ยวข้องกบั การดาเนนิ งานอนั จะ กอ่ ให้เกิดการปรับปรุงพฒั นางานให้ดขี นึ ้ ซง่ึ ประกอบด้วยแนวคิดหลกั การของศาสตร์พระราชา องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา ขนั้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา การวดั และประเมินผลศาสตร์ พระราชา ดงั นี ้

30 1. แนวคดิ หลักการของศาสตร์พระราชา ผ้วู ิจยั นาหลกั การของศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถงึ และพฒั นา” ที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงทมุ่ เทพระวรกายอย่างหนกั ในการพฒั นาประเทศเพื่อแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนในทกุ ๆด้านให้แกพ่ สกนิกรของพระองค์ ตลอดระยะเวลา 70 ปี ใช้ความเข้าใจในสภาพ บริบทจริง เข้าถงึ สภาพพืน้ ทีและปัญหาจริงแล้วคดิ ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกบั สภาพพืน้ ท่ี หรือปัญหาเหลา่ นนั้ จนสามารถแก้ไขและพฒั นาได้ผลเป็นที่ประจกั ษ์ประชาราชมีความสขุ ถ้วนหน้า มาสู่ การปฏิบตั จิ ริงอยา่ งเป็นรูปธรรมในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยดาเนนิ การวิจยั และพฒั นาการ จดั การเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนกั รู้ในการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนและศกึ ษาผลการสอนอยา่ งเป็นระบบ

31 2. องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา องคป์ ระกอบของศาสตร์พระราชาตามหลกั การทรงงานข้อท่ีวา่ การพฒั นาต้อง ‘ระเบดิ จากภายใน’ เป็นกระบวนการโดยคานงึ ถึงบริบททางภมู ิศาสตร์ เศรษฐกิจ และสงั คมของแตล่ ะพืน้ ที่ แก้ปัญหาแบบองค์ รวม ให้ความสาคญั กบั ความรู้สกึ เป็นเจ้าของโครงการของคนในพืน้ ท่ี ซง่ึ ผ้วู จิ ยั ได้ดาเนินการในลกั ษณะของ การวิจยั และพฒั นาเป็นแนวปฏิบตั ทิ ่ีมีเอกลกั ษณ์สามารถแบง่ เปา้ หมายเป็น ๓ ขนั้ ตอน ได้แก่ เพ่ืออยรู่ อด (Survival) พง่ึ ตนเอง (Self-reliance) และยง่ั ยืน (Sustainable) โดยผ้วู จิ ยั ปรับให้เข้ากบั กระบวนการ จดั การเรียนรู้ของครูไทยอนั ประกอบด้วยขนั้ ตอนการจดั การเรียนรู้ที่สาคญั 3 ขนั้ ตอน ได้แก่ ขนั้ นา ขนั้ สอน และขนั้ สรุป ซงึ่ มีท่ีมาจากการผสมผสานวิธีที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบตา่ ง ๆ เชน่ การเรียนรู้แบบ Active Learning การเรียนรู้สร้างสรรค์นวตั กรรม การเรียนรู้ออนไลน์ และการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพฒั นา ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ให้แกผ่ ้เู รียน 3. ขัน้ ตอนการพฒั นาศาสตร์พระราชา ผ้วู ิจยั ได้นาศาสตร์พระราชามาใช้ในการจดั การเรียนรู้ในภาพรวมสรุปได้ดงั นี ้ ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ นา กาหนดให้ผ้เู รียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั สืบค้นข้อมลู เกี่ยวกบั ศาสตร์พระราชาในมิติ ท่ีเก่ียวข้องกบั การแรเงาศาสตร์พระราชาเพื่อการพฒั นาที่ยงั่ ยืน จากนนั้ ให้ผ้เู รียนฝึกออกแบบภาพผลงาน จากประสบการณ์ทาให้ผ้เู รียนสามารถออกแบบผลงานที่สอดคล้องกบั โจทย์ปัญหา ขนั้ ที่ 2 ขนั้ สอน เป็นขนั้ ตอนของการสร้ างสรรค์ผลงานการแรเงาศาสตร์พระราชาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนตามหัวข้อที่กาหนดซ่ึงเป็นขัน้ ของการพัฒนาทักษะสร้ างสรรค์นวัตกรรมตามแนวคิด หลักการออกแบบที่สอดคล้องกบั ลักษณะพฒั นาการ วิธีการเรียนรู้ และวัยของผู้เรียน ถูกต้องตามหลัก วชิ าการได้มีการปรับปรุงแก้ไขที่สอดคล้องกบั ผลการทดสอบ

32 ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ สรุป เป็นขนั้ ตอนของการตรวจผลงานโดยกาหนดให้ผ้เู รียนแลกเปล่ียนเรียนรู้ ใน ประเด็นความเหมาะสมของเนือ้ หาสาระที่นาเสนอ เน้นรูปแบบการจัดวางภาพประกอบ ความคิด สร้ างสรรค์ ละเอียด ประณีต สวยงาม และเสร็จสมบูรณ์ ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสในการพัฒนาทักษะการ นาเสนอ การปรับปรุงแก้ไขผลงาน และการประเมินผลอยา่ งเป็นระบบชดั เจน

33 4. การวัดและประเมนิ ผลศาสตร์พระราชา ผ้วู ิจยั ทาการวดั และประเมนิ ผลศาสตร์พระราชาโดยทาการวเิ คราะห์ข้อมลู ทงั้ เชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน การสงั เกตพฤตกิ รรม และแบบบนั ทึกผลการตรวจชิน้ งาน ทาการวเิ คราะห์ข้อมลู ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลงั เรียนเพ่ือทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนก่อน และหลงั การใช้หลกั สตู รเพื่อหาประสิทธิผลของหลกั สตู รโดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์คา่ สถิตพิ ืน้ ฐานจาก เครื่องมือวจิ ยั ทาการวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพจากการสงั เกตพฤติกรรมของผ้เู รียน การตรวจผลงาน นกั เรียน การบนั ทกึ ผลในขณะทาการสอน แล้วนาเสนอในรูปความเรียงประกอบการอธิบายเสริมข้อมลู เชงิ ปริมาณตงั้ แตก่ ่อนการใช้ ระหวา่ งการใช้ และหลงั การใช้ กาหนดเกณฑ์ประสทิ ธิผลของหลกั สตู ร ซง่ึ ผลจาก การทดลองใช้หลกั สตู รการแรเงา: ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพฒั นาท่ียงั่ ยืน มีประสทิ ธิผลตามสมมตุ ฐิ าน อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.05

34 5. บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2554 มถิ นุ ายน 15). พระราชดาริด้านการศกึ ษาของรัชกาลท่ี 9. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2559. จาก http://www.moe.go.th/5DEC/index.php ครรชิต มนญู ผล. (2560 ตลุ าคม 11-24). จดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ฉบบั ท่ี 115-1166. จาก https://www.facebook.com/kanchit.manoonphol จริยา ทองหอม, มารุต พฒั ผล และวชิ ยั วงษ์ใหญ่. (2560). การวจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู รการแรเงา: ศาสตร์พระราชาเพื่อการพฒั นาที่ยงั่ ยืน. โรงเรียนวดั พระมหาธาต.ุ เมืองนครศรีธรรมราช จริยา ทองหอม. (2559 ธนั วาคม 08). ปรัชญาการศกึ ษาเพ่ือการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช. จาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100001093292112 ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา. (มิถนุ ายน 9, 2560). “ศาสตร์พระราชา สกู่ ารพฒั นาอย่างยงั่ ยืน” สถานีโทรทศั น์รวมการเฉพาะกิจแหง่ ประเทศไทย วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารุต พฒั ผล. (2556 มถิ นุ ายน 17). ปรบั พืน้ ฐานกระบวนทศั น์ การพฒั นา หลกั สูตรและการเรียนรู้. (Powerpoint) ปริญญาเอกสาขาการวิจยั และพฒั นาหลกั สตู ร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. (2554). พระมหากษัตริย์นกั พฒั นาเพื่อประโยชน์ สขุ สปู่ วงประชา.

35 5 มาตรการ ส่งเสริมการเรียนรู้ สถานการณ์ Covid-19

36

37 ตวั อย่างผลงาน 5 มาตรการ ส่งเสริมการเรียนรู้ สถานการณ์ Covid-19

38

39

40

41

42

43 แบบทดสอบแผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียวสู่อจั ฉริยะ ตามศาสตร์พระราชา ยุค Covid-19 คาชีแ้ จง เลือกคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว 1. แผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะยึดอะไรในการ 5. ตวั ชีว้ ดั ท่ีต้องรู้คอื ข้อใด ออกแบบการเรียนรู้ ก. ภมู ลิ กั ษณ์ท่ีสาคญั ในภมู ภิ าค ก. พระราชดารัสในหลวง ข. ความสมั พนั ธ์ของลกั ษณะทางกายภาพ ข. สร้างความคงทนในการเรียนรู้ ค. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ค. ธรรมชาตริ ายวชิ า ง. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ง. ถกู ทกุ ข้อ 6. ข้อใดไมใ่ ช่ 3 ค ท่ีนามาใช้ในการเขียนสาระสาคญั ของ 2. ข้อใดไมใ่ ชศ่ าสตร์พระราชาท่ีนามาใช้ในการออกแบบ แผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะ แผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียว ก. คณุ ลกั ษณะ ก. เป็นคนดีคดิ เป็นทาเป็น/แก้ปัญหาเรียนหน้าลืมหลงั ข. คอื /เป็น ข. การพง่ึ ตนเอง/ปฏิบตั งิ านกบั ผ้อู ่ืนได้ทกุ ขนั้ ตอน ค. คณุ คา่ ค. ขาดความรับผิดชอบ/เหน็ แกต่ วั ง. ควร ง. คดิ สร้างสรรคส์ ่ิงใหม/่ ประยกุ ต์ใช้ตลอดเวลา 7. ข้อใดคือการวเิ คราะห์เนือ้ หาท่ีต้องรู้/จาเป็นของแผนการ 3. แผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดยี วส่อู จั ฉริยะมีจดุ เดน่ อยา่ งไร จดั การเรียนรู้หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะ ก. ลด Passive Learning เพม่ิ Active Learning ก. ระบลุ กั ษณะภมู ลิ กั ษณ์ที่สาคญั ในภมู ภิ าค ข. ใช้ Graphic Organizer เพิม่ ความคงทนในการเรียนรู้ ข. ภมู ิลกั ษณ์ที่สาคญั ในภมู ิภาค ค. พฒั นาศกั ยภาพสมอง การคดิ ขนั้ สงู และพหปุ ัญญา ค. อธิบายความสมั พนั ธ์ของลกั ษณะทางกายภาพ ง. ถกู ทกุ ข้อ ง. วเิ คราะห์สภาพแวดทางกายภาพ 4. ข้อใดไมใ่ ชอ่ งคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้หน้า 8. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารวิเคราะห์เนือ้ หาจาเป็นของแผนการจดั การ เดียวสอู่ จั ฉริยะ เรียนรู้หน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะ ก. มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั /สาระสาคญั / ก. เนือ้ หาเสริม/ไมร่ ู้ก็ได้ ข. สว่ นหวั ของแผน/ตวั แผน/สว่ นท้ายของแผน ข. ต้องรู้/มีความจาเป็น ค. ชิน้ งาน/ภาระงาน/Content Analysis ค. สาคญั ตอ่ การดารงชีวิต ง. Literacy Thinking Skills /กิจกรรมการเรียนรู้/การวดั ง. ใช้ในศตวรรษที่ 21 ประเมนิ ผล ตอ่

44 9. ข้อใดคือการวิเคราะห์สมรรถนะการคดิ ของแผนการจดั การ 15. ศาสตร์พระราชาได้รับการยกยอ่ งในเวทีระดบั โลกและ เรียนรู้หน้าเดยี วสอู่ จั ฉริยะ สอดคล้องกบั วาระของโลก เร่ืองใด ก. อา่ น/รวบรวมเชงิ วิเคราะห์ ก. การพฒั นาท่ียง่ั ยืนขององค์การสหประชาชาติ ข. เขียนเชิงวเิ คราะห์ ข. การพฒั นาที่ยง่ั ยืนของอาเซียน ค. นาเสนอเชิงวเิ คราะห์ ค. การพฒั นาที่ยง่ั ยืนของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ง. ถกู ทกุ ข้อ ง. การพฒั นาที่ยง่ั ยืนขององค์การค้าโลก 10. แผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียวสอู่ จั ฉริยะมีการออกแบบ 16. ข้อใดคอื หวั ใจของศาสตร์พระราชา กิจกรรมการเรียนรู้อยา่ งไร ก. ศาสตร์แหง่ การพฒั นา ก. ขนั้ รับรู้/เช่ือมโยง/ประยกุ ต์ใช้ ข. ศาสตร์แหง่ ความประพฤติ การครองตน ข. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์/พจิ ารณาพืน้ ฐาน/จดั กิจกรรม/ ค. ศาสตร์แหง่ การอยรู่ ่วมกนั ประเมินผล ง. ถกู ทกุ ข้อ ค. กาหนดเปา้ หมาย/หลกั ฐาน/ออกแบบกิจกรรม 17.โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ มีทงั้ หมดก่ีโครงการ ง. กาหนดจดุ มงุ่ หมาย/จดั กิจกรรม/ประเมนิ ผล ก. 2,685 โครงการ ข. 3,685 โครงการ 11. คาวา่ “ศาสตร์พระราชา” หมายถึง ข้อใด ค. 4,685 โครงการ ง. 5,685 โครงการ ก. ระบบวชิ าความรู้ 18. “คนดี” ตามองค์ความรู้ของในหลวง รัชกาลท่ี 9 มี ข. ความรู้และภมู ิปัญญาของในหลวง รัชกาลที่ 9 ลกั ษณะอยา่ งไร ค. องคร์ วมของความรู้ ก. มีปัญญา มีความรับผิดชอบ ข. มีความวิริยะ อตุ สาหะ ง. บรู ณาการองค์ความรู้ ค. เป็นผ้ปู ฏิบตั ิ ง. ถกู ทกุ ข้อ 12. การพฒั นาประเทศจะบรรลผุ ลตามเปา้ หมายได้มากน้อย 19. โรงเรียนควรสง่ เสริมการเรียนรู้อยา่ งไรในสถานการณ์ เพียงใดนนั้ ยอ่ มขนึ ้ อยกู่ บั ปัจจยั อะไรบ้าง Covid-19 ก. คนดี ข. วทิ ยาการท่ีดี ก. ตามบริบทและสภาพความพร้อมของนกั เรียน ค. การวางแผนท่ีดี ง. ถกู ทกุ ข้อ ข. เน้นเนือ้ หาเกี่ยวกบั ครอบครัว การดแู ลตนเองท่ีบ้าน 13. ข้อใด ไมใ่ ช่ หวั ใจการศกึ ษาของศาสตร์พระราชา ค. เน้นความมีวนิ ยั /ความปลอดภยั ในสถานการณ์ตา่ งๆ ก. ให้เดก็ รักครูและครูรักเดก็ ให้เดก็ มีนา้ ใจตอ่ เพื่อน ง. ถกู ทกุ ข้อ ข. ให้เดก็ แขง่ ขนั กนั เพื่อเป็นคนเก่งท่ีสดุ 20. ภาระงานหรือชิน้ งานท่ีให้เดก็ ทาในสถานการณ์ Covid- ค. ให้เดก็ เรียนเกง่ ชว่ ยสอนเพ่ือนท่ีเรียนออ่ น 19 ควรเป็นอยา่ งไร ง. ให้เดก็ ทางานร่วมกนั เพื่อให้เหน็ คณุ คา่ ของความสามคั คี ก. เน้นความเป็นเลศิ ทกุ ๆด้าน 14. ปัจจยั ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ข. เน้นความประหยดั ทรงให้ความสาคญั ในการพฒั นามากท่ีสดุ คือข้อใด ค. สง่ั งานทกุ รายวขิ า ก. คน ข. ดนิ และนา้ ง. สง่ั งานอยา่ งเดียวไมค่ านงึ ถึงผ้เู รียน ค. วสั ดแุ ละเทคโนโลยี ง. เศรษฐกิจและสงั คม

45 ตัวอย่างเกียรตบิ ัตร เฉลยแบบทดสอบแผนการจัดการเรียนรู้หน้าเดียวสู่อัจฉริยะตามศาสตร์พระราชา ยุค Covid-19 1. ง 2. ค 3. ง 4. ข 5. ค 6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ก 11. ข 12. ง 13. ข 14. ก 15. ก 16. ง 17. ค 18. ง 19. ง 20. ข

46 บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2554 มิถนุ ายน 15). พระราชดาริดา้ นการศึกษาของรัชกาลที่ 9. สืบค้นเม่ือ 27 พฤศจิกายน 2559. จาก http://www.moe.go.th/5DEC/index.php ครรชิต มนญู ผล. (2559). การออกแบบหลกั สูตรเพือ่ พฒั นาการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. นนทบรุ ี: อมั รินทร์ บ๊คุ เซน็ เตอร์. ครรชิต มนญู ผล. (2560 ตลุ าคม 11-24). จดหมายถึงนายกรฐั มนตรี ฉบบั ที่ 115-166. จาก https://www.facebook.com/kanchit.manoonphol ครรชิต มนญู ผล. (2560). ศาสตร์พระราชา. Power Point. ครรชิต มนญู ผล. (2560). \"ศาสตร์พระราชา\" Active Learning ส่คู ณุ ภาพทีย่ ง่ั ยืน Thailand 4.0. จาก https://www.facebook.com/kanchit.manoonphol จริยา ทองหอม, มารุต พฒั ผล และวิชยั วงษ์ใหญ่. (2560). การวิจยั และพฒั นาหลกั สูตรการแรเงา: ศาสตร์พระราชาเพือ่ การพฒั นาทีย่ งั่ ยืน. โรงเรียนวดั พระมหาธาต.ุ เมืองนครศรีธรรมราช จริยา ทองหอม. (2559 ธนั วาคม 08). ปรัชญาการศึกษาเพือ่ การพฒั นาอย่างยงั่ ยืน ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช. จาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100001093292112 จฑุ าทพิ ย์ สกุ าญจนาเศรษฐ์. (2560). โครงการพฒั นาครูตน้ แบบ “ศาสตร์พระราชา” ดว้ ย Active Learning + Professional Learning Community (PLC) ส่คู ณุ ภาพการศึกษาทีย่ งั่ ยืน Thailand 4.0 นนทกาล รูปเอ่ียม. (2560). ศาสตร์พระราชา (Active Learning) สู่คณุ ภาพการศึกษา Thailand 4.0 โรงเรียนอยธุ ยาวิทยาลยั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 3. จาก http://www.obec.go.th/news/81377 ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา. (มถิ นุ ายน 9, 2560). “ศาสตร์พระราชา สู่การพฒั นาอย่างยงั่ ยืน” สถานีโทรทศั น์รวมการเฉพาะกิจแหง่ ประเทศไทย วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารุต พฒั ผล. (2556 มิถนุ ายน 17). ปรบั พืน้ ฐานกระบวนทศั น์ การพฒั นา หลกั สูตรและการเรียนรู้. (Powerpoint) ปริญญาเอกสาขาการวิจยั และพฒั นาหลกั สตู ร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. (2554). พระมหากษัตริย์นกั พฒั นาเพือ่ ประโยชน์ สขุ ส่ปู วงประชา.

47

48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook