Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินการ (ว.PA) ตำแหน่งครู

แนวทางการดำเนินการ (ว.PA) ตำแหน่งครู

Published by jt2554, 2022-08-04 12:39:00

Description: แนวทางการดำเนินการ (ว.PA) ตำแหน่งครู
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตำแหน่งครู
(ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564)

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำแนวทางการดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตำแหน่งครู เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจน และครอบคลุมเกี่ยวกับการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ รวมทั้งใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติหรือปรับประยุกต์การจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) โดยเชื่อมโยงบูรณาการกับการขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเลื่อนเงินเดือน และการประเมินเพื่อคงวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด และสอดคล้องกับบริบทในการปฏิบัติหน้าที่

Keywords: แนวทางการดำเนินการ (ว.PA) ตำแหน่งครู

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินการ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการประเมินตาแหนง่ และวิทยฐานะ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตาแหน่งคร ู (ตามหนงั สือสานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๓/ว ๙ ลงวนั ท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔) กลม่ ุ สง่ เสรมิ ประสานการบรหิ ารงานบคุ คล สานกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

คำนำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของหลักเกณฑ์ และวิธีกำรประเมินตำแหน่งและวิทยฐำนะข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำแหน่งครู ตำมหนังสือ สำนักงำน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันท่ี 20 พฤษภำคม 2564 ตำแหน่งผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตำมหนังสือสำนักงำน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันท่ี 20 พฤษภำคม 2564 ตำแหน่งศึกษำนิเทศก์ ตำมหนังสือสำนักงำน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 11 ลงวันท่ี 20 พฤษภำคม 2564 และตำแหน่งผู้บริหำร กำรศกึ ษำ ตำมหนังสือสำนักงำน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.4/ว 12 ลงวันที่ 20 พฤษภำคม 2564 ซึ่งหลักเกณฑ์ และวิธีกำรดังกล่ำวกำหนดให้ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทุกคนจัดทำข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน (Performance Agreement : PA) ทุกปีงบประมำณ เพ่ือให้ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ มีศกั ยภำพและสมรรถนะในกำรปฏบิ ัติงำนให้สงู ขนึ้ ตำมตำแหน่งและวทิ ยฐำนะท่คี ำดหวัง สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน จึงได้จัดทำแนวทำงกำรดำเนินกำร ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรประเมินตำแหน่งและวิทยฐำนะข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ตำแหน่งครู เพื่อให้ครูมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจที่ชัดเจน และครอบคลุมเกี่ยวกบั กำรประเมินตำแหนง่ และวิทยฐำนะ รวมทั้งใช้เป็นแนวทำงกำรปฏิบัติหรือปรับประยุกต์ กำรจัดทำข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน (PA) โดยเช่อื มโยงบูรณำกำรกับกำรขอมีหรือเล่ือนวิทยฐำนะ กำรประเมิน ประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรเลื่อนเงินเดือน และกำรประเมินเพื่อคงวิทยฐำนะ ตำมหลักเกณฑ์ และวธิ ีกำรท่ี ก.ค.ศ. กำหนด และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในกำรปฏบิ ัติหน้ำท่ี สำนกั พฒั นำระบบบรหิ ำรงำนบุคคลและนติ ิกำร สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร มกรำคม 25๖5

สารบัญ หน้ำ คำนำ 1 สำรบญั 5 สว่ นที่ ๑ บทนำ 6 ควำมสำคญั และควำมเปน็ มำ 7 นยิ ำมศัพท์ สำหรับตำแหนง่ ครู 8 สว่ นท่ี 2 แนวทำงกำรจัดทำข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน 8 องคป์ ระกอบขอ้ ตกลงในกำรพัฒนำงำน กำรจดั ทำข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน 9 กำรนำผลกำรประเมินกำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลงไปใชใ้ นกำรบรหิ ำรงำนบคุ คล 10 ขอ้ เสนอแนะแนวทำงกำรดำเนนิ กำรจัดทำข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน สว่ นที่ 3 แนวทำงกำรเขียนขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน 16 ภำระงำนของขำ้ รำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ตำแหนง่ ครู 17 กำรเขียนข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) 18 ส่วนท่ี 4 แนวทำงกำรประเมินกำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลง 18 องค์ประกอบกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน 19 คำชแี้ จงกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน 19 เกณฑ์กำรให้คะแนนข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน คณะกรรมกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน 20 วธิ ีกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน 21 เกณฑ์กำรตัดสินข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน 21 สว่ นที่ 5 กำรขอมีวทิ ยฐำนะหรอื เล่ือนวิทยฐำนะ 23 คุณสมบัติผู้ขอรบั กำรประเมนิ เพอ่ื ขอมหี รือเลื่อนวทิ ยฐำนะ 24 กำรประเมนิ เพ่ือขอมีหรอื เล่อื นวทิ ยฐำนะ 24 วธิ กี ำรเพ่ือขอมีหรือเลอื่ นวทิ ยฐำนะ 27 รปู แบบกำรจัดทำไฟลว์ ีดิทศั น์เพ่อื ขอมีหรอื เล่ือนวทิ ยฐำนะ 28 คำช้ีแจงกำรประเมนิ เพ่อื ขอมีวิทยฐำนะหรือเล่ือนวทิ ยฐำนะ 32 ด้ำนท่ี 1 และด้ำนท่ี 2 ดำ้ นที่ 3 แนวปฏบิ ัตกิ ำรดำเนนิ กำรในชว่ งระยะเวลำเปลี่ยนผำ่ น กำรดำรงไว้ซ่ึงควำมร้คู วำมสำมำรถ ควำมชำนำญ หรือควำมเชย่ี วชำญ ในตำแหน่งและวทิ ยฐำนะท่ไี ด้รบั กำรบรรจุและแตง่ ต้ัง บรรณำนกุ รม คณะผู้จดั ทำ

สว่ นที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญและควำมเป็นมำ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ และหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ มาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา (๓) บญั ญตั ิไว้ว่า “ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบ วิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบ คุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู” ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ที่กาหนดให้ปฏิรูปประเทศไว้ ๖ ด้าน หรือ ๖ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศ ตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี กระบวนการปฏิรูปการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ถือว่าสาคัญต่อการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการบรรลุตามยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีกาหนดไว้ในด้านตา่ ง ๆ เนอ่ื งด้วยการศึกษาเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญของการพัฒนาประเทศ อีกทั้งแผนการปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ได้กาหนดกิจกรรมและยุทธศาสตร์ยกระดับ คุณภาพของการจัดการศึกษา (Enhance Quality of Education) ครอบคลุมผลลัพธ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ท้ังด้านความรู้ ทักษะเจตคติท่ีถูกต้องและรู้จักดูแลสุขภาพ เพ่ือการจัดการในเรื่อง การดารงชีวิตของตนเองและการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ รวมท้ังครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่ต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ครูมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เรื่องและประเด็นปฏิรูป ได้กาหนดแผนงานเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ๗ เรื่องเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ของ การปฏิรูปการศึกษาข้างต้น ในเรื่องที่ ๔ การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบ วิชาชีพครู และอาจารย์ ประกอบด้วยประเด็นปฏิรูป ๕ ประเด็น ได้แก่ (๑) การผลิตครูและการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูท่ีมีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของประเทศ และมีจิตวิญญาณของความเป็นครู (๒) การพัฒนา วิชาชีพครู (๓) เส้นทางวิชาชีพครู เพ่ือให้ครูมีความก้าวหน้า ได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการท่ีเหมาะสม (๔) การพัฒนาผบู้ ริหารสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา (๕) องค์กรวิชาชีพครู และการปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ในส่วนแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยพัฒนาระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะสาหรับ ตาแหน่งท่ีมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเป็นระยะ ๆ เพ่ือดารงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเช่ียวชาญในตาแหน่งและวิทยฐานะท่ีได้รับการบรรจุและการแต่งต้ัง และกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการปรับหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะใหม่ต้องส่งผลไปถึงผู้เรียน มุ่งเน้นการพัฒนาวิชาชีพ มากกว่าการจัดทาผลงานวิชาการ มีการบูรณาการการทางานที่เชื่อมโยงกัน โดยมีการประเมินท่ีไม่ยุ่งยาก ไมซ่ ับซ้อนและเปน็ ธรรม จากงานวจิ ยั ในโครงการการสงั เคราะหร์ ะบบและแนวทางการปฏิบตั กิ ารพฒั นาวชิ าชพี ครู

2 จากแนวคิดการเรียนรู้เชิงวิชาชีพสู่การปฏิบัติ โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ ซึ่งได้ศึกษา แนวคิดและรายงานการศึกษาวิจัยของนักวิชาการ และหน่วยงานต่าง ๆ พบว่า จากรายงานของ OECD/UNESCO เมื่อปี ๒๐๑๖ และจากผลการศึกษาของ Schleicher เม่ือปี ๒๐๑๒ พบว่าระบบการ สนบั สนุนการพัฒนาความก้าวหนา้ ในวชิ าชีพน้ัน มีปัจจยั หลายอย่างทเ่ี ป็นอุปสรรค เชน่ การพัฒนาวิทยฐานะไม่ ยึดโยงกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนไม่มีโครงสร้างเวลาพอท่ีครูจะมีโอกาสแลกเปลี่ยนการสอนใน รปู แบบชมุ ชนวิชาชีพและผู้บริหารโรงเรียนยังขาดศักยภาพในการเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาครู รูปแบบชุมชนวิชาชีพ และปจั จัยสาคญั ท่ีสุดท่สี ง่ ผลต่อการเรียนร้ขู องนักเรยี นและการพฒั นาวิชาชพี ครู คือ ภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียน ซึ่งต้องมีบทบาทในการบริหารหลักสูตร การกากับและประเมินการสอนของครู การเสริมสร้างความเข้มแข็ง และพัฒนาครู และสนับสนุนวัฒนธรรมการทางานในโรงเรยี นแบบรว่ มมอื กัน ตามลาดับ ดังนั้น เพื่อความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายการศึกษา ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนปฏิรูปการศึกษา และแนวนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน ก.ค.ศ. จึงได้ใช้การวิจัยเป็นฐาน ดาเนินการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาในการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด ตลอดจนสังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และผลการศึกษาวิจัยของประเทศต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มากาหนดเป็นกรอบแนวคิดสาคัญ ในการดาเนินการปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินวิทยฐานะ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือเป็นหัวใจสาคัญที่จะยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ประสบ ความสาเร็จ จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาขึ้นใหม่ ให้สอดคล้องกบั เร่ืองสาคญั ที่ต้องดาเนนิ การใหต้ อบสนองตอ่ นโยบาย รวมถึงหลักการและแนวคิดในเชิงวิชาการ เช่น Back to school Focus on classroom Teacher Performance Powerful Pedagogies Students Outcomes Teacher as a Key of Success Execute and Learn Apply and Adapt Solve the Problem) รับรู้ปัญหาและสามารถแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน และส่งเสริมให้ผู้เรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ริเริ่ม พัฒนา (Originate and Improve) คิดค้น ปรับเปล่ียน (Invent and Transform) สร้างการเปลี่ยนแปลง (Create an Impact) สามารถสร้างผลกระทบให้เกิดขึ้น นอกเหนือจากห้องเรียน สามารถสอนให้ผู้เรียนเกดิ แรงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้ (School as an Organization) การจัดระบบการบริหาร การจัดการในสถานศึกษาต้องมุ่งเน้นงานหลักของครูและผู้อานวยการสถานศึกษา ลดความซ้าซ้อน การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนเงินเดือนกับการให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะ (มาตรา ๕๔) และการคง วิทยฐานะ (มาตรา ๕๕) เป็นเรื่องเดียวกัน (ใช้ตัวชี้วัดเดียวกัน) School Professional Community การจัดทา PLC เป็นหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษาที่จะต้องทาให้เกิดข้ึนในโรงเรียน ควรกาหนดเป็นตัวชี้วัด ของผ้อู านวยการสถานศกึ ษาดว้ ย Support System ควรเปน็ ระบบ Online System เช่ือมโยงกบั แพลตฟอร์ม การพัฒนาตา่ ง ๆ ครตู ้องได้รบั การพัฒนาตรงตามความต้องการจาเปน็ อย่างตอ่ เน่ืองและเป็นระบบ ในส่วนของครู สานักงาน ก.ค.ศ. พิจารณาแล้วเห็นว่า ครูที่มีศักยภาพนอกจากจะต้องมีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นตามระดับวิทยฐานะที่คาดหวังแล้ว ยังต้องสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะเต็มตาม ศักยภาพ จึงได้นาความคิดเห็นของนักวิชาการและผลการวิจัยดังกล่าวมาปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู โดยครูต้องมีการพัฒนา สมรรถนะในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นตามระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวัง ตามตาแหน่งและวิทยฐานะ และต้องสามารถ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะเต็มตามศักยภาพ เพ่ือร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยได้กาหนด ระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังตามตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู ตามภาพประกอบที่ ๑ ดงั น้ี

3 ระดับการปฏิบตั ิท่ีคาดหวังตามตาแหน่งและวิทยฐานะ วิทยฐานะเชีย่ วชาญพิเศษ - (สCรre้าaงtกeาaรnเปImลยี่pนacแtป) ลง วทิ ยฐานะเชีย่ วชาญ - (คInดิ vคeน้ntแaลnะdปTรับraเnปsลfoยี่ rmน ) วิทยฐานะชานาญการพิเศษ - (รOเิ รri่ิมgiพnaัฒteนaาnd Improve) วทิ ยฐานะชานาญการ - (แSกoป้lvญัe tหhาe problem) ตาแหน่งท่ีไมม่ วี ิทยฐานะ - (ปAรpับpปlyรaะnยdุกตAd์ apt) ภำพประกอบท่ี ๑ ระดับการปฏิบตั ิท่คี าดหวังตามตาแหน่งและวทิ ยฐานะข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู ก.ค.ศ. ได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู ตามหนังสือสานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.๓/ว ๙ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 คาดหวังจะเปน็ ประโยชน์กบั ผู้เรยี น สถานศึกษา และผ้ทู ี่เก่ยี วขอ้ ง ดังน้ี 1. เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับวิชาชีพครู เพื่อให้ครูได้พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงขึ้น ตามระดับวิทยฐานะ และทาให้กระบวนการพัฒนาเกดิ ข้ึนจากกระบวนการจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจาวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สาคัญ ตามหลกั สตู ร 2. ครูและผู้บริหารเข้าถึงห้องเรียนมากขึ้น ทาให้ได้รับทราบสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละห้องเรียน สามารถนามากาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา เพอื่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและยงั่ ยืน 3. การประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในแต่ละปีงบประมาณ ทาให้ข้าราชการครูได้ทราบถึง จุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา ซึ่งจะทาให้มีแนวทางในการพัฒนาตนเองที่ชัดเจน และสามารถนาผลการพัฒนา มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์กบั การจดั การเรยี นรูแ้ ละการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น 4. การนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เป็นการลดภาระการจัดทาเอกสาร ประหยัดงบประมาณ ในการประเมนิ และทาใหร้ ะบบการประเมินโดยรวมมีความโปร่งใส มีประสทิ ธภิ าพและคล่องตวั ย่ิงขึ้น ๕. เกิดการเชื่อมโยงบูรณาการ (Alignment and Coherence) ในระบบการประเมินวิทยฐานะ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านเพื่อการเล่ือนเงินเดือน และการประเมินเพ่ือคงวิทยฐานะ โดยใช้ตัวช้ีวัดเดียวกัน ลดความซ้าซอ้ นและงบประมาณในการประเมิน ๖. ทาให้มี Big data ในการบริหารงานบุคคลในหลายมิติ และสามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลสาคัญ ในการวางแผนอัตรากาลงั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4 ท้ังน้ี ก.ค.ศ. ได้กาหนดระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่ง และวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีความเช่ือมโยงบูรณาการกับระบบ การประเมินเพื่อเลื่อนเงินเดือนและการประเมินเพ่ือคงวิทยฐานะ ตามมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 โดยมีความเชื่อมโยงของระบบการประเมิน ตามภาพประกอบที่ 2 ดงั นี้ กำรประเมินตำแหน่งและวิทยฐำนะ ม.54 เล่อื นวทิ ยฐำนะสูงขนึ้ ตำแหน่งครู ประเมินเพอ่ื ให้มหี รือเล่อื นวทิ ยฐำนะ ม.55 คงวิทยฐำนะ คณุ สมบัตขิ องผู้ขอรบั กำรประเมนิ กำรประเมนิ ดำรงวิทยฐำนะ 1. มีระยะเวลาการดารงตาแหน่งตามมาตรฐานวทิ ยฐานะทข่ี อรบั รอบปที ี่ 1 รอบปีที่ 2 รอบปที ี่ 3 การประเมนิ 2. มีผลการประเมนิ PA ยอ้ นหลงั ครบระยะเวลาทก่ี าหนด Performance Appraisal: PA โดยมผี ลการประเมินในแตล่ ะรอบผา่ นเกณฑ์ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน สว่ นท่ี 2 ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน 3. มวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ที่เสนอเป็นประเด็นทำ้ ทำยในกำรพัฒนำ ผลลัพธ์กำรเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น กำรประเมนิ และผลงำนท่ีเสนอ 1. การปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตาแหน่ง ครแู ละมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด ด้ำนที่ 1 ทกั ษะกำรจดั กำรเรียนรแู้ ละกำรจัดกำรชนั้ เรียน 2. ผลการปฏิบตั ิงาน ดา้ นการจดั การ - แผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ ดา้ นการสง่ เสริมและสนับสนุนการ - ไฟลว์ ีดิทศั น์ จัดการเรยี นรู้ และดา้ นการพัฒนาตนเอง และวิชาชพี ด้ำนท่ี 2 ผลลพั ธก์ ำรเรียนร้ขู องผู้เรยี น - ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รียนจากการจัดการเรียนรู้ ด้ำนที่ 3 ผลงำนทำงวชิ ำกำร (ชช/ชชพ) - ผลงานวจิ ยั การเรียนรหู้ รอื นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ (ชช) - ผลงานวจิ ยั การจดั การเรียนรแู้ ละนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ (ชชพ) (ตพี ิมพเ์ ผแพร่บทความวจิ ยั ในวารสารวชิ าการ (TCI) ชชพ) ภำพประกอบที่ 2 ความเชื่อมโยงของระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครู

5 นยิ ำมศัพท์ สำหรับตำแหน่งครู ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีประเมนิ ตาแหนง่ และวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู (หนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0209.3/ว 9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564) “ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ” ให้หมายความรวมถึง ผู้อานวยการสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ด้วย “ผู้เรียน” หมายความวา่ นกั เรยี น นกั ศึกษา หรอื ผ้รู ับบรกิ าร “รอบกำรประเมิน” หมายความว่า ช่วงระยะเวลาในการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ซึ่งกาหนดให้มกี ารประเมินปีงบประมาณละ ๑ ครั้ง เมือ่ สนิ้ ปงี บประมาณ “ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ของผู้เรียน” หมายความว่า ความรู้ ทักษะ เจตคติ ความคิด พฤติกรรม หรือคุณลักษณะตามจุดประสงค์ของหลักสูตร ที่เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีหรือมีพัฒนาการมากขึ้น เม่ือผู้เรียนได้รับ ประสบการณก์ ารเรียนรู้จากการลงมอื ปฏิบัติตามกระบวนการหรือกิจกรรมที่ครูผู้สอนออกแบบและดาเนินการ ซ่งึ สามารถพิจารณาได้จาก “ผลงาน” (Product) หรือ “ผลการปฏิบัติ” (Performance) ของผู้เรียนท่ีปรากฏ ภายหลังการเรียนรู้ “ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน ” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลงท่ขี า้ ราชการครู ไดเ้ สนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายในรอบการประเมินจะ พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจาวิชา คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และสมรรถนะท่ีสาคัญตามหลักสูตรให้สูงข้ึน โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของ ตาแหน่ง และวิทยฐานะที่ดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของ ส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนา งาน “ระบบกำรประเมินวิทยฐำนะดิจิทัล (Digital Performance Appraisal) เรียกโดยย่อว่า ระบบ DPA หมายความวา่ ระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา แบบออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ในการสง่ ผา่ น จดั การและประมวลผลขอ้ มูล การประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน รวมท้ังหลักฐานประกอบการพิจารณาเพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะ และเลอื่ นวทิ ยฐานะ

6 ส่วนที่ 2 แนวทำงกำรจัดทำข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน (Performance Agreement : PA) ตามที่ ก.ค.ศ. ได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 เพื่อให้มีแนวทางในการประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงไดจ้ ัดทาแนวทางการจัดทาข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่ และวทิ ยฐานะ ดงั นี้ องค์ประกอบของข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ประกอบดว้ ย ๒ สว่ น ดงั ต่อไปน้ี ส่วนท่ี ๑ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง ประกอบดว้ ย ๑. การปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานตาแหน่งครู และมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด ๒. ผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การเรยี นรูแ้ ละดา้ นการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ส่วนท่ี ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผูเ้ รียน โดยครตู อ้ งแสดงให้เหน็ ถงึ การปรับประยกุ ต์ แกไ้ ขปญั หา ริเรม่ิ พัฒนา คิดค้น ปรับเปล่ียนหรือสร้าง การเปลี่ยนแปลง ท้ังน้ี ข้อตกลงในการพัฒนางานต้องมีความสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศกึ ษาธิการ องค์ประกอบของข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน PA สว่ นที่ 1 สว่ นท่ี 2 การปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู ขอ้ ตกลงประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาผลลพั ธ์ และภาระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด การเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นที่ไดแ้ สดงให้เห็นถงึ ผลกำรปฏบิ ัติงำน  ด้านการจดั การเรียนรู้ ครู (ไม่มวี ิทยฐานะ)  ปรบั ประยกุ ต์  ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนับสนุน ครชู านาญการ  แก้ไขปัญหา การจัดการเรยี นรู้  ดา้ นการพัฒนาตนเองและวิชาชพี ครูชานาญการพิเศษ  ริเรม่ิ พัฒนา ครเู ช่ียวชาญ  คิดคน้ ปรบั เปลย่ี น ครูเชยี่ วชาญพเิ ศษ  สรา้ งการเปลีย่ นแปลง ภำพประกอบที่ 3 องคป์ ระกอบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

7 กำรจัดทำขอ้ ตกลงในกำรพัฒนำงำน ให้ข้าราชการครูจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ตามวิทยฐานะ ของตนเองทุกปีงบประมาณ เมื่อครบคุณสมบัติและถึงเวลาเลื่อนวิทยฐานะให้เลือกประเด็นท้าทายเพ่ิมอีก ๑ ระดับ ตามระดับความคาดหวังของวิทยฐานะ ตามแบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน PA 1/ส ในระดับวิทยฐานะ ท่ดี ารงอยู่ เสนอต่อผูอ้ านวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ ตามภาพประกอบที่ 5 ตำมแบบ PA 1/ส ของครูชำนำญกำร ภำพประกอบที่ 4 การเขยี นประเดน็ ท้าทายเม่ือใกลค้ รบคุณสมบัติ  กรณีท่ีข้าราชการครูย้ายระหว่างปีงบประมาณ ให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน กบั ผ้อู านวยการสถานศกึ ษาคนใหม่  กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งต้ังให้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ให้จัดทา ข้อตกลงในการพฒั นางานในตาแหนง่ ครูกับผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา  กรณีท่ีข้าราชการครูได้รับมอบหมายให้ทาการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีทาข้อตกลงไว้เดิม ให้ขา้ ราชการครจู ัดทารายละเอยี ดข้อตกลงในการพัฒนางานในวชิ า/กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ามที่ได้รบั มอบหมายใหม่ ครู เสนอ เพอื่ แสดง จะพัฒนำผลลพั ธ์ เงนิ เดือน เจตจำนงวำ่ กำรเรียนรู้ของ วิทยฐำนะ ผอ.สถำนศกึ ษำ ภำยผใ้เู นรยี รนอบปี ควำมรู้ กำรประเมิน คง วฐ. ขอ้ ตกลง ให้ผู้เรียนมี ทักษะ ประจำวชิ ำ ในกำรพัฒนำงำน สะทอ้ นให้ คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กำรพฒั นำ เห็นถึง ผลลัพธ์ สมรรถนะทสี่ ำคญั กำรเรยี นร้ขู อง ตำมหลกั สตู ร ผูเ้ รียนให้สงู ขนึ้ ตำแหนง่ และวิทยฐำนะที่ดำรงอยู่ สอดคล้องกับ เปำ้ หมำยและบริบท นโยบำยส่วนรำชกำร สถำนศึกษำ และกระทรวงศึกษำธกิ ำร ภำพประกอบท่ี 5 แนวทางการจัดทาข้อตกลงในการพฒั นางาน

8 กำรนำผลกำรประเมินกำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลงไปใชใ้ นกำรบริหำรงำนบุคคล 1. ใชเ้ ป็นคุณสมบัติในการขอรับการประเมินเพ่ือให้มีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะของข้าราชการครู ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดไว้ในหมวด ๓ หมวด ๔ และแนวปฏิบัติการดาเนินการขอมีวิทยฐานะ และเลื่อนวทิ ยฐานะในช่วงระยะเวลาเปลยี่ นผ่าน ทกี่ าหนดไวใ้ นหมวด ๕ แลว้ แตก่ รณี 2. ใช้เป็นผลการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครู เพ่ือดารงไว้ซ่ึงความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเชี่ยวชาญในตาแหน่งและวิทยฐานะที่ได้รับการบรรจุและแต่งต้ัง ตามนัยมาตรา ๕๕ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทกี่ าหนดไวใ้ นหมวด ๖ 3.ใช้เป็นองค์ประกอบในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานในการพิจารณา เลื่อนเงินเดอื น ขอ้ เสนอแนะแนวทำงกำรดำเนินกำรจดั ทำขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน 1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA ๑/ส ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการ จัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อานวยการสถานศึกษาและข้าราชการครู ผ้จู ดั ทาข้อตกลง ๒. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผลโดยตรงตอ่ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของผู้เรยี นและให้นาเสนอรายวิชาหลักที่ทาการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ทาการสอนทุกระดับช้ัน ในกรณีที่สอนหลายรายวิชาสามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมนิ ได้ตามแบบการประเมนิ PA ๒/ส ๓. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA ๑/ส ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผล การพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดาเนินการประเมิน ตามแบบ PA ๒/ส จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนา งานตามข้อตกลงเป็นสาคัญโดยไมเ่ นน้ การประเมินจากเอกสาร แบบข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน PA 1/ส

9 สว่ นที่ 3 แนวทำงกำรเขยี นขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีดารงตาแหน่งครูทุกคน ต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง และข้อตกลงในการพัฒนางานท่เี สนอเปน็ ประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผูเ้ รยี น ภำระงำนของข้ำรำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ตำแหนง่ ครู ก.ค.ศ. มีมติกาหนดภาระงานของข้าราชการครูและบุคล ากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี ภาระงาน หมายถึง จานวนชั่วโมงสอนตามตารางสอน งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ การมสี ่วนรว่ มในชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี งานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และงานตอบสนอง นโยบายและจุดเนน้ (ตามหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๓/ว ๒๑ ลงวันท่ี ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๔) ดังน้ี 1. ช่ัวโมงสอนตามตารางสอน หมายถึง จานวนช่ัวโมงสอนในรายวิชา/วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทีก่ าหนดไวต้ ามหลกั สูตร การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กจิ กรรมฟ้นื ฟูสมรรถภาพผู้เรียน 2. งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อ การส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา เช่น การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัด ประสบการณ์ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล (IP) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการเด็ก การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เป็นต้นและการมสี ่วนรว่ มในชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ ๓. งานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา หมายถึง งานส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เช่น ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้าสายชั้น การประกันคุณภาพการศึกษาช่วยปฏิบัติงาน การบรหิ ารและจดั การศกึ ษา ไดแ้ ก่ งานวชิ าการ งานบุคคล งานงบประมาณ และงานบรหิ ารท่วั ไป เปน็ ตน้ ๔. งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น หมายถึง การปฏิบัติงานที่ตอบสนองนโยบายและจุดเน้น ของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และส่วนราชการตน้ สังกัด จำนวนชวั่ โมงภำระงำนขัน้ ต่ำ ระดบั กำรศกึ ษำ/ประเภท จำนวนชัว่ โมงสอน จำนวนช่วั โมงภำระงำนขัน้ ต่ำ ตำมตำรำงสอน (ข้อ 2.1) (ตำมขอ้ 2.1 และข้ออ่ืนๆ) 1. ปฐมวัย ไมต่ า่ กว่า 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ไม่ต่ากว่า 14 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 2. ประถมศึกษา 3. มัธยมศึกษา ไม่ต่ากวา่ 12 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ไม่ต่ากวา่ 20 ชั่วโมง/สปั ดาห์ (รวมโรงเรียนวัตถปุ ระสงค์พเิ ศษ ไม่ตา่ กวา่ 6 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ไม่ต่ากวา่ 14 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ หรอื โรงเรยี นจดั การเรยี นรวม) ไม่ต่ากว่า 12 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ไมต่ ่ากว่า 20 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 4. การศึกษาพเิ ศษ 4.1 เฉพาะความพิการ และศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ 4.2 ศกึ ษาสงเคราะห์ และราชประชานเุ คราะห์

10 กำรเขียนข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) การเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานของครูสามารถเลือกเขียนได้ตามแนวทาง ๓ รูปแบบ คือ การเขียนตามแบบครูนิด แบบครูหน่อย และแบบครนู า้ ดงั นี้ 1. แนวทำงกำรเขยี นข้อตกลงแบบครูนดิ ๑.๑ ศกึ ษาตวั ชีว้ ดั ทงั้ 3 ดา้ น 15 ตัวชวี้ ดั จากคูม่ ือการดาเนินการ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู สานกั งาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 72 – 101 (ตามระดบั วทิ ยฐานะ) ๑.๒ ตั้งคาถามกบั ตวั เองวา่ “ต้องทางานใด เพอื่ ตอบแตล่ ะตวั ช้วี ัด?” ๑.๓ เริม่ เขียน PA จากส่วนที่ 1 ๑.๔ ในส่วนท่ี ๒ ทเ่ี ป็นประเดน็ ทา้ ทายครูสามารถเลือกจากการเขียน สว่ นที่ ๑ หรอื เลือกจากปัญหาท่ีมาจากห้องเรยี นหรือวง PLC 2. แนวทำงกำรเขียนขอ้ ตกลงแบบครหู นอ่ ย ๒.๑ คดิ ประเดน็ ท้าทาย โดยหาปญั หาที่แทจ้ รงิ อาจเป็นปัญหา จากบทเรียน ชัน้ เรียน หรือนักเรียนรายบคุ คล ๒.๒ เรม่ิ เขยี น PA ส่วนท่ี ๒ โดยใชก้ ระบวนการตามท่ีครูถนดั เชน่ วจิ ยั กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ ฯลฯ ๒.๓ เริ่มเขยี น PA ในส่วนที่ ๑ โดยตง้ั คาถามกบั ตวั เองวา่ “ประเด็นท้าทายของเรา สามารถตอบตวั ชีว้ ดั ไหนได้บา้ ง?” แล้วเขยี นสว่ นท่ี ๑ บางสว่ น ๒.๔ เขยี น PA ในสว่ นที่ ๑ ให้ครบ โดยต้ังคาถามว่า “ตอ้ งทางานใด เพ่ือตอบแต่ละตวั ชวี้ ดั ท่ีเหลอื ?” 3. แนวทำงกำรเขยี นขอ้ ตกลงแบบครนู ำ้ ๓.๑ คดิ ประเดน็ ท้าทาย โดยหาปญั หาท่แี ท้จรงิ อาจเป็นปัญหา จากบทเรยี น ชน้ั เรยี น หรือนักเรยี นรายบคุ คล ๓.๒ ตง้ั คาถามกับตัวเองว่า “ประเดน็ ท้าทายน้ี สามารถอธิบายอย่างไร ได้บา้ ง เพ่อื ตอบทุกตวั ช้วี ัดในส่วนที่ ๑?” ๓.๓ เริม่ เขยี น PA ในส่วนที่ ๑ - ๒

11 โดยครผู สู้ อนสามารถดาเนนิ การไดต้ ามแนวทาง ดังน้ี 1. การวิเคราะห์ปัญหา โดยการศึกษาสภาพปัญหาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศึกษาในรอบปีหรอื ในภาคเรียนผา่ นมา 2. เลือกปัญหาและคุณภาพท่ีส่งผลต่อผลลัพธ์ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ท่ีเป็นปัญหาที่สาคัญ แล้วนามากาหนดเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานให้สอดคล้องกับระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของมาตรฐาน ตาแหน่งและวิทยฐานะหรือสูงกว่าของผู้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน พร้อมท้ังระบุเรื่องของ ประเด็นท้ำทำย ตามขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน 3. ระบปุ ระเภทของหอ้ งเรียนทผ่ี ้จู ัดทาข้อตกลงปฏบิ ัติจริง 4. ระบแุ ละเขยี นสว่ นท่ี ๑ ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่ ไดแ้ ก่ 1) ภาระงานตามที่ ก.ค.ศ.กาหนด 2) งานทจี่ ะปฏิบัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งครู 2.1) เขียนระบุรายละเอียดของงาน (Tasks) ท่ีจะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดาเนินการอย่างไร โดยอาจระบุการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง ท่ีสอดคล้องกับประเด็นท้ำทำยใน ๑ รอบปีการประเมิน ให้ครอบคลมุ ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งของครู ทัง้ ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๒.๑.๑ ด้านการจดั การเรียนรู้ ๒.๑.๒ ด้านการส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ ๒.๑.๓ ดา้ นการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ ๒.๒) เขียนระบุผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดข้ึนจากรายละเอียดของงาน (Tasks) ตามข้อตกลง ทคี่ าดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ กับผู้เรยี นจากประเด็นท้าทาย ๒.๓) เขียนระบุตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลง ไปในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น โดยจะต้องระบุปริมาณและหรือคุณภาพ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏิบัติงานทค่ี าดหวังตามตาแหน่งและวิทยฐานะหรือสูงกวา่ ได้ 5. ระบุและเขียนส่วนท่ี ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน โดยการเขียนระบุเรื่องของประเด็นท้าทายที่สะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติงานที่คาดหวั ง ตามตาแหนง่ และวิทยฐานะหรอื สงู กวา่ แลว้ เขยี นบรรยายรายละเอียดของประเด็นท้าทา้ ยตามหัวข้อต่อไปนี้ 1) สภาพปัญหาการจัดการเรียนรใู้ นระดับช้นั ทสี่ อน เขียนบรรยายถึงสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งผลต่อผลลัพธ์ ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีผู้จัดทาข้อตกลงเลือกมาเป็นประเด็นท้าทาย อาจระบุถึงผลการวิเคราะห์ และแหล่งทมี่ าของข้อมูลที่เชอื่ ถือได้ ตามบรบิ ทของสถานศึกษา

12 2) วิธกี ารดาเนนิ การให้บรรลุผล เขียนบรรยายและระบุถึงวิธีการ หรือสื่อ หรือนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีท่ีนามาใช้ ในการแก้ไข ปัญหาผลลัพธ์ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามบริบทของสถานศึกษาอาจระบุถึงเครื่องมือกระบวนการ หรอื ข้ันตอนในการดาเนินการให้บรรลผุ ลตามเปา้ หมายของประเดน็ ท้าทาย 3) ผลลัพธก์ ารพัฒนาที่คาดหวงั ๓.๑) เชงิ ปริมาณ เขียนระบุถึงจานวนหรือปริมาณหรือร้อยละของผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นของผู้เรียน สะท้อนให้เห็นถึง ระดบั การปฏิบัติงานทค่ี าดหวังตามตาแหนง่ และวทิ ยฐานะหรอื สงู กว่าได้ ทัง้ นี้ อาจระบเุ ป็นข้อ ๆ ภำพประกอบท่ี 6 สรุปแนวทางการเขยี นข้อตกลงในการพฒั นางาน ๓.๒) เชิงคณุ ภาพ เขียนระบุถึงคุณภาพของผู้เรียนท่ีแสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนหรือ มีการพัฒนามากข้ึน หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ท่ีสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติงานที่คาดหวังตามตาแหน่ง และวทิ ยฐานะหรอื สูงกว่าได้ ทง้ั น้ี อาจระบเุ ปน็ ข้อ ๆ

13 แนวทำงในกำรเขียนขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA) สว่ นที่ 1 ขอ้ ตกลงในกำรพัฒนำงำนตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ขอ้ ตกลงในกำรพัฒนำงำน (PA) ครจู ดั ทำ PA (PA 1/ส) เสนอ ผอ.สถำนศกึ ษำ ทกุ ปีงบประมำณ (1 ต.ค. – 30 ก.ย. ปีถัดไป) กรอกข้อมลู ส่วนตวั เลือกสภาพห้องเรยี น ประถมฯ/มัธยม ห้องเรียนวชิ าสามญั หรือวชิ าพน้ื ฐาน (ครบถ้วน/ถูกต้อง) ตามสภาพ ปฐมวัย หอ้ งเรียนปฐมวยั การศกึ ษาพิเศษ ห้องเรยี นการศึกษาพเิ ศษ การจัดการเรยี นรู้จริง 1 ภำระงำนตำมที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ตำมหนังสือสำนกั งำน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 ลงวนั ท่ี 30 สิงหำคม 2564) 1. ช่ัวโมงสอนตำมตำรำงสอน 1. ชว่ั โมงตามตารางสอน รวมจานวน.........ช่วั โมง/สปั ดาห์ ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ รายวชิ า..............................................ชั่วโมง/สัปดาห์ 2. งำนส่งเสรมิ และสนบั สนุน กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า..............................................ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กำรจัดกำรเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า..............................................ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 3. งำนพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ 1. การพัฒนาหลกั สตู รและการฝึกอบรม..................................ชั่วโมง/สัปดาห์ ของสถำนศกึ ษำ 2. การเตรยี มการออกแบบแผนการจัดการเรยี นร.ู้ ...................ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. การวัดและประเมินผล.........................................................ชั่วโมง/สัปดาห์ 4. งำนตอบสนองนโยบำย 4. .............................................................................................ชั่วโมง/สัปดาห์ และจดุ เนน้ 5. .............................................................................................ชั่วโมง/สัปดาห์ 6. การมสี ว่ นร่วมในชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC)...........ชั่วโมง/สัปดาห์ 1. งานบรหิ ารงานวิชาการ......................................................ชั่วโมง/สัปดาห์ 2. งานบริหารงานงบประมาณ................................................ช่วั โมง/สปั ดาห์ 3. งานบริหารงานบคุ ..............................................................ชวั่ โมง/สัปดาห์ 4. งานบริหารงานทว่ั ไป..........................................................ชัว่ โมง/สปั ดาห์ หมายถึง งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ ของรฐั บาล กระทรวงศกึ ษาธิการ และสว่ นราชการต้นสังกัด (สพฐ.) - การแก้ไขปัญหาการอา่ น การเขียน.........................................ช่วั โมง/สปั ดาห์ - ................................................................................................ชั่วโมง/สัปดาห์

14 2. งำนทป่ี ฏิบตั ิตำมมำตรฐำนตำแหนง่ ครู (ให้ระบุรำยละเอยี ดของงำนทจี่ ะปฏิบตั ิในแตล่ ะดำ้ นว่ำจะดำเนินกำรอยำ่ งไร โดยอำจระบุระยะเวลำที่ใชใ้ นกำรดำเนินกำรดว้ ยก็ได)้ ลักษณะงำนทปี่ ฏบิ ตั ิ งำน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ชีว้ ดั (Indicators) ตำมมำตรฐำนตำแหนง่ ทจ่ี ะดาเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ที่จะเกิดข้นึ กับผู้เรยี น ตามขอ้ ตกลง ของงานตามข้อตกลง ทแี่ สดงให้เห็นถึง ใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ใหเ้ กิดข้ึน การเปลี่ยนแปลง การประเมิน กบั ผเู้ รียน ไปในทางทดี่ ขี ึน้ หรือมี การพฒั นามากขึน้ หรอื ผลสมั ฤทธส์ิ ูงขึน้ ดำ้ นที่ ๑ ด้ำนกำรจัดกำรเรยี นรู้ เขียนงานครอบคลุม เมอื่ ทาตามงาน ดูจากอะไรวา่ ผเู้ รียน ลักษณะงานทน่ี าเสนอใหค้ รอบคลุมถงึ มาตรฐานตาแหนง่ ทเ่ี ขียนในช่องแรกแล้ว เปล่ยี นแปลงแลว้ การสร้างและหรอื พัฒนาหลกั สตู ร ตามประเดน็ ท้าทาย เกิดอะไรข้ึน และสามารถวดั ได้ การออกแบบการจดั การเรียนรู้ กบั ผู้เรยี น อย่างเป็นรปู ธรรม การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การสรา้ ง (การเปลีย่ นแปลง และหรือพฒั นาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี ท่ีเกดิ ขึ้นกับผูเ้ รียน) และแหล่งเรียนรู้ การวัด และประเมนิ ผล การจัดการเรียนรู้ การศกึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือแกป้ ัญหาหรอื พัฒนา การเรยี นรู้ การจดั บรรยากาศ ทส่ี ่งเสริม และพัฒนาผเู้ รยี น และการอบรมและพฒั นา คณุ ลักษณะที่ดีของผูเ้ รียน ด้ำนที่ 2 กำรส่งเสรมิ และสนับสนุน เขยี นงานทสี่ นบั สนุน เมอื่ ทาตามงาน ดจู ากอะไรวา่ ผู้เรยี น กำรจดั กำรเรยี นรู้ ด้านท่ี 1 ทเ่ี ขยี นในช่องแรกแล้ว เปล่ียนแปลงแลว้ ลกั ษณะงานทเ่ี สนอให้ครอบคลมุ ถงึ เกดิ อะไรข้ึน และสามารถวดั ได้ การจดั ทาข้อมูลสารสนเทศของผูเ้ รียน กับผเู้ รยี น หรอื อยา่ งเปน็ รูปธรรม และรายวชิ าการดาเนนิ การตามระบบดูแล หนว่ ยงานภายนอก ช่วยเหลอื ผู้เรยี น การปฏิบตั งิ านวิชาการ (การเปลีย่ นแปลง และงานอืน่ ๆ ของสถานศกึ ษา และ การประสานความรว่ มมือกบั ผปู้ กครองภาคี ทเ่ี กดิ ข้นึ กับผ้เู รยี น เครือข่าย และหรอื สถานประกอบการ สถานศึกษา หรือ หน่วยงานภายนอก) ด้ำนท่ี 3 ดำ้ นกำรพัฒนำตนเองและวิชำชพี เขยี นการพัฒนา เมือ่ ทาตามงาน ดูจากอะไรวา่ ผู้เรยี น ลักษณะงานทเ่ี สนอใหค้ รอบคลมุ ถึง ตนเองและวิชาชพี ที่เขยี นในชอ่ งแรกแลว้ เปล่ียนแปลง เกดิ อะไรขน้ึ แลว้ และสามารถวัดได้ การพฒั นาตนเองอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง ท่ีสอดคล้อง กับผเู้ รียน ตนเองและ อยา่ งเป็นรูปธรรม กับด้านที่ 1 หรอื ด้าน วชิ าชีพ การมสี ่วนรว่ มในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (การเปลย่ี นแปลง ทางวชิ าชีพ เพือ่ พฒั นาการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 ที่เกิดข้นึ กบั ผู้เรียน และการนาความรูค้ วามสามารถ ทักษะท่ไี ด้ ตนเองและวิชาชพี ) จากการพฒั นาตนเองและวิชาชพี มาใช้ใน การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ การพัฒนา คุณภาพผูเ้ รยี น และการพฒั นานวัตกรรม การจดั การเรยี นรู้

15 ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในกำรพฒั นำงำนทีเ่ สนอเปน็ ประเด็นทำ้ ทำยในกำรพฒั นำผลลพั ธก์ ำรเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ควำมสอดคล้อง สภำพปญั หำ สำระหลักที่เลอื ก ข้อสงั เกต ควำมคำดหวังตำมวิทยฐำนะ มำตรฐำน ตวั ชีว้ ดั ของสภำพปัญหำ - ประเด็นท้าทายที่เลือกต้องสามารถ นโยบำย บริบทของโรงเรียน ออกแบบแผนการจดั การเรียนรไู้ ด้ แรงจงู ใจ ควำมถนัดของตนเอง - ประเด็นท่ี 2 ประเด็นท้าทายควรเริม่ จาก ครเู ปน็ ผู้กาหนด จากนนั้ ฝ่ายบรหิ ารรวบรวม ประเดน็ ทา้ ทายของคณะครูทั้งหมด และสร้างเปน็ ประเดน็ ท้าทาย ของฝา่ ยบรหิ าร องค์ประกอบของกำรเขยี นข้อตกลงในกำรพัฒนำงำนทเี่ ป็นประเดน็ ท้ำทำย 1 สภำพปญั หำกำรจดั กำรเรยี นรู้ และคณุ ภำพกำรเรียนรขู้ องผู้เรยี น  แบบแสดงผลการประเมนิ ตัวชว้ี ดั รายปีของนักเรียน ตำมควำม  แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผเู้ รียน (ปพ.5) คำดหวัง  ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ ของวทิ ยฐำนะ  อืน่ ๆ 2 วิธกี ำรดำเนินกำรให้บรรลุผล  กาหนดเครอื่ งมอื ทีจ่ ะใชใ้ นการพัฒนาประเดน็ ปญั หา  วิธกี ารสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือ  ขน้ั ตอนการพัฒนา  อ่นื ๆ 3 ผลลัพธก์ ำรพัฒนำท่คี ำดหวัง ผลลพั ธ์เชิงปริมำณ ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภำพ ตัวอย่ำง กำรเขียนข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน

16 สว่ นที่ 4 แนวทำงกำรประเมนิ ผลกำรพฒั นำงำนตำมขอ้ ตกลง คณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงของข้าราชการครู ตามระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ของตาแหน่งและวทิ ยฐานะท่ี ก.ค.ศ. กาหนดในแบบประเมินน้ี โดยการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้ดาเนินการประเมนิ ตามองคป์ ระกอบทก่ี าหนด องค์ประกอบกำรประเมินข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) ประกอบด้วย 1) การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู และมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด 2) ผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตาแหน่งครู เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหน้าท่ี และความรับผิดชอบของตาแหน่งครู ตามทก่ี าหนดไว้ในมาตรฐานตาแหน่ง ท้งั 3 ด้าน จานวน 15 ตวั ชีว้ ัด ดงั นี้ ด้านที่ 1 ด้านการจดั การเรียนรู้ จานวน 8 ตัวช้ีวัด ได้แก่ 1.1 การสร้างและหรอื พฒั นาหลักสูตร 1.2 ออกแบบการจดั การเรียนรู้ 1.3 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.4 การสรา้ งและการพัฒนาสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหลง่ เรยี นรู้ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแกป้ ญั หาหรือพัฒนาการเรียนรู้ 1.7 จัดบรรยากาศที่สง่ เสรมิ และพฒั นาผ้เู รยี น 1.8 อบรมและพัฒนาคณุ ลักษณะท่ีดขี องผเู้ รยี น ดา้ นที่ 2 ดา้ นการสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ จานวน 4 ตวั ชว้ี ดั ได้แก่ 2.1 จัดทาขอ้ มลู สารสนเทศของผเู้ รยี นและรายวิชา 2.2 ดาเนนิ การตามระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น 2.3 ปฏบิ ัติงานวชิ าการ และงานอ่ืน ๆ ของสถานศึกษา 2.4 ประสานการร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคเี ครอื ข่าย และหรอื สถานประกอบการ ดา้ นท่ี 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ จานวน 3 ตวั ช้วี ัด ได้แก่ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพ่ือให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาสมรรถนะวชิ าชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวธิ ีการสอน 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ 3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ไี ด้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาใช้ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และการพฒั นานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (คะแนนเต็ม 40 คะแนน)

17 คำช้แี จงกำรประเมินข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน โดยมีระดบั การปฏิบตั ิที่คาดหวัง ระดับคะแนนและคณุ ภาพการประเมนิ ดังน้ี 1) ระดับการปฏบิ ัติทค่ี าดหวังในตาแหนง่ และวิทยฐานะ ก. กรณีท่ยี ังไม่มวี ทิ ยฐานะ ตำแหนง่ ระดับกำรปฏบิ ัติ รำยละเอียด ทค่ี ำดหวงั ครผู ้ชู ว่ ย ปฏบิ ตั แิ ละเรียนรู้ สามารถปฏิบตั งิ านและเรียนรู้จากการปฏิบัติได้ (Execute & Learn) ตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู ปรับประยกุ ต์ สามารถปรับประยุกต์การจดั การเรยี นรู้และปฏิบตั งิ าน (Apply & Adapt) จนปรากฏผลลพั ธก์ ับผเู้ รยี นได้ตามมาตรฐานตาแหน่ง ข. กรณีทม่ี วี ทิ ยฐานะ วิทยฐำนะ ระดับกำรปฏบิ ตั ิ รำยละเอียด ที่คำดหวัง สามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ครูชานาญการ แก้ไขปญั หา สามารถริเรม่ิ พัฒนาคุณภาพการเรยี นรขู้ องผู้เรียน (Solve the Problem) สามารถคดิ ค้น พัฒนานวัตกรรมและปรับเปลีย่ นให้คณุ ภาพ ครชู านาญการพิเศษ ริเร่มิ พัฒนา การเรยี นรู้สงู ขึ้น เปน็ แบบอย่างท่ีดีและให้คาปรึกษาผู้อ่ืน สามารถคิดค้น พฒั นา นวตั กรรม เผยแพร่และขยายผล (Originate & Improve) จนนาไปสู่การเปล่ียนแปลงในวงวิชาชีพ เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ใหค้ าปรกึ ษาผู้อน่ื และเปน็ ผู้นา ครเู ช่ยี วชาญ คิดคน้ ปรับเปล่ยี น (Invent & Transform) ครเู ชี่ยวชาญพเิ ศษ สร้างการเปลย่ี นแปลง (Create an Impact) สาหรับผู้ดารงตาแหน่งครูผู้ช่วยให้ดาเนินการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด เมื่อผ่านการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มแล้ว และได้รับการแต่งตั้ง ใหด้ ารงตาแหนง่ ครู ให้จัดทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กาหนดกับผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 2) ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมนิ ในแต่ละวทิ ยฐานะ ให้ผู้ประเมินพิจารณาผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครู จากการปฏิบัติงานจริง ท่ีได้ปฏิบัติงาน ตามลักษณะงานท่ีปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่ง โดยคานึงถึงสภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบท ของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสาคัญ ไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร โดยให้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลและหรือหน่วยงาน และหลักฐานที่แสดงว่า ผู้ขอรับการประเมินได้ดาเนินการตามตัวชี้วัด เช่น แผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกตการสอน ผลงาน/ช้ินงาน ของผู้เรยี นทเี่ กิดขึ้นจากการเรยี นรู้ กอ่ นตัดสินใจใหค้ ะแนนตามระดับคุณภาพในแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และไม่ควรบังคับให้ครูทุกคนประเมินในรปู แบบเดียวกัน ดังนี้

18 คะแนน ระดบั คุณภำพ รำยละเอียด 1 ปฏิบัตไิ ด้ 2 ไม่ปรากฏผลการปฏบิ ตั งิ านได้ตามมาตรฐานตาแหน่ง/ ต่ากว่าระดับท่ีคาดหวังมาก มาตรฐานวิทยฐานะทีด่ ารงอยู่ 3 ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 มกี ารปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหน่งในตวั ชีว้ ดั นน้ั ตา่ กวา่ ระดบั ทคี่ าดหวงั อยูบ่ า้ ง แต่ไม่ครบถ้วนและไม่มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน ตาแหน่ง/มาตรฐานวิทยฐานะทีด่ ารงอยู่ ปฏิบัติได้ ตามระดับทค่ี าดหวงั มกี ารปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งและมคี ุณภาพ ตามมาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวทิ ยฐานะท่ีดารงอยู่ ปฏิบัติได้ สงู กวา่ ระดับที่คาดหวงั มกี ารปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ และมคี ุณภาพสงู กว่ามาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวทิ ยฐานะที่ดารงอยู่ เกณฑก์ ำรให้คะแนนข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน การประเมินส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์ การเรียนรู้ของผู้เรียน กาหนดให้มีเกณฑ์การให้คะแนนตามระดับคุณภาพ 4 ระดับ คือ ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 และระดบั 1 ในแตล่ ะระดบั คณุ ภาพกาหนดคา่ คะแนน ไว้ดังนี้ ระดบั คุณภำพ ค่ำคะแนนทีไ่ ด้ คะแนนเต็ม 10 คะแนนเต็ม 20 4 10.00 20.00 3 7.50 15.00 2 5.00 10.00 1 2.50 5.00 คณะกรรมกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง จานวน ๓ คน ประกอบด้วย 1. ผูอ้ ำนวยกำรสถำนศึกษำนั้น เปน็ ประธำนกรรมกำร ๒. ผู้ที่ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งศึกษำนิเทศก์ ท่ีมีวิทยฐานะไม่ต่ากว่าศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ หรือผู้สอนในสถำบันอุดมศึกษำที่มีตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือครูผู้สอน จำกสถำนศึกษำอื่นท่ีมีวิทยฐานะไม่ต่ากว่าครูชานาญการพิเศษ หรือผู้ทรงคุณวุฒินอกสถำนศึกษำนั้น ท่มี ีความรู้ ความสามารถเหมาะสม จำนวน ๒ คน เป็นกรรมการประเมนิ ท้งั นี้ การแตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงดังกล่าว อาจพิจารณาแต่งตั้ง ได้มากกว่า ๑ คณะ ตามความเหมาะสม โดยคานึงถึงวิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนข้าราชการครู และบรบิ ทของสถานศกึ ษา กรณีท่ีผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำน้ันไม่อำจประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงของข้าราชการครู ด้วยเหตุใด ๆ ให้ผู้บังคับบัญชำเหนือข้ึนไปหน่ึงระดับแต่งตั้งผู้อานวยการสถานศึกษาใกล้เคียงที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม เป็นประธานกรรมการประเมนิ แทน

19 กรอบเวลำกำรประเมินแบบบนั ทกึ ข้อตกลงพัฒนำงำน ( PA ) 2 1 ภำพประกอบท่ี 7 การตง้ั เปา้ หมายการพฒั นางานตามข้อตกลง วิธีกำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพฒั นำงำน ให้คณะกรรมการประเมิน ประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงของข้าราชการครูในแต่ละรอบการประเมิน โดยพิจารณาประเมนิ ตามระดับการปฏบิ ตั ทิ ่ีคาดหวังของตาแหนง่ และวิทยฐานะ ตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ท้ังนี้ การประเมินอาจพิจารณาจากการปฏิบัติการสอนจริงจากห้องเรียน การสังเกตการสอนทักษะ การจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน การใช้ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้บรรยากาศช้ันเรียน พฤติกรรมผู้เรียน และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ผลงานหรือช้ินงานของผู้เรียนท่ีเกิดข้ึนจากการเรียนรู้ โดยข้าราชการครูไม่จาเป็นตอ้ งจดั ทาแฟ้มเอกสารขนึ้ ใหม่เพ่ือใช้ในการประเมิน เกณฑก์ ำรตัดสนิ กำรประเมนิ ข้อตกลงในกำรพัฒนำงำน ข้าราชการครูต้องมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด และมีผลการประเมินการพัฒนางาน ตามข้อตกลงผ่านเกณฑ์ โดยต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคน ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 แบบประเมนิ ผล แบบสรปุ ผลกำรประเมิน กำรพฒั นำงำนตำมขอ้ ตกลง กำรพฒั นำงำนตำมขอ้ ตกลง PA 2/ส PA 3/ส

20 ส่วนท่ี 5 กำรขอมีวิทยฐำนะหรอื เลอ่ื นวิทยฐำนะ การขอมีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะ สานักงาน ก.ค.ศ. ได้กาหนดแบบเสนอขอรับการประเมิน ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ที่จะขอรับการประเมินต้องยึดรูปแบบตามที่สานักงาน ก.ค.ศ. กาหนดเท่านั้น จึงจะได้รับการประเมิน โดยมีหลักเกณฑ์การขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ดังต่อไปน้ี คณุ สมบตั ผิ ขู้ อรับกำรประเมินเพ่ือขอมหี รือเล่ือนวิทยฐำนะ ๑. การขอมีวิทยฐานะครูชานาญการ ต้องมีระยะเวลาการดารงตาแหน่งครูมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี ตดิ ตอ่ กนั หรอื ดารงตาแหนง่ อนื่ ที่ ก.ค.ศ. เทียบเท่า สาหรับการขอเลื่อนเป็นวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ต้องมีระยะเวลาการดารงตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ มาแล้วไมน่ ้อยกว่า 4 ปตี ดิ ต่อกนั หรือดารงตาแหนง่ อน่ื ท่ี ก.ค.ศ. เทียบเท่า วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ต้องมีระยะเวลาการดารงตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ติดต่อกัน หรือดารงตาแหน่งอื่นท่ี ก.ค.ศ. เทียบเท่า และวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องมีระยะเวลาการดารง ตาแหน่งครู วิทยฐานะครเู ชย่ี วชาญ มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 4 ปตี ิดต่อกัน หรอื ดารงตาแหน่งอ่นื ท่ี ก.ค.ศ. เทยี บเท่า ๒. มีการพัฒนางานตามข้อตกลงในตาแหน่งครู หรือในวิทยฐานะครูชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชยี่ วชาญพเิ ศษ แล้วแต่กรณี ในชว่ งระยะเวลาย้อนหลัง ๓ รอบการประเมิน โดยในแต่ละรอบการประเมิน ตอ้ งมีภาระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนดและมผี ลการประเมินไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ๓. มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยในช่วงระยะเวลาย้อนหลัง ๔ ปี ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยที่หนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ หรือไม่เคยถูกวินิจฉัยชี้ขาดทางจรรยาบรรณวิชาชีพ ท่ีหนักกว่าภาคทัณฑ์ หากปีใดข้าราชการครูถูกลงโทษทางวินัยหนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ หรือถูกวินิจฉัยช้ีขาด ทางจรรยาบรรณวชิ าชพี ทห่ี นักกว่าภาคทัณฑ์ ไม่ใหน้ าระยะเวลาในปนี ้นั มาใชเ้ ปน็ คณุ สมบตั ติ ามขอ้ น้ี กรณีผู้ ขอมี คุณส มบัติเป็น ไป ตามเงื่อน ไขการล ดระยะเวลาในการดารงตาแหน่งหรือการ ดา ร ง วิทยฐานะของผู้ขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด (ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.4/ว 4 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564) ให้ลดระยะเวลาตามหลักเกณฑ์ ข้อ ๑.๑ เหลือ ๓ ปี ติดต่อกัน มีการพัฒนางานตามข้อตกลง ตามหลักเกณฑ์ ข้อ ๑.๒ จานวน ๒ รอบการประเมิน และลดช่วง ระยะเวลาตามหลักเกณฑ์ ขอ้ ๑.๓ เหลือ ๓ ปี สาหรับข้าราชการครูท่ีปฏิบัติงานในพื้นท่ีพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และสงขลา (เฉพาะพื้นท่ีอาเภอเทพา สะบ้าย้อย นาทวี และจะนะ) หากประสงค์จะขอมี วิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยใช้สิทธินับระยะเวลาทวีคูณ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย บาเหน็จความชอบ สาหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ใช้สิทธิ นับระยะเวลาทวีคูณได้ในคุณสมบัติ ข้อ ๑.๑ โดยต้องมีการพัฒนางานตามข้อตกลง ตามข้อ ๑.๒ ในช่วงระยะเวลา ยอ้ นหลงั จานวน ๑ รอบการประเมิน มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามข้อ ๑.๓ ในช่วง ระยะเวลาย้อนหลัง ๒ ปี และเป็นข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานในพื้นที่มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปีติดต่อกัน นบั ถงึ วนั ทีย่ น่ื คาขอ ทั้งนี้ ให้ผู้ขอและผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้รับรองข้อมูลหลักฐาน และคุณสมบัติของผู้ขอ หากภายหลงั ตรวจสอบแลว้ พบว่ามีคุณสมบตั ไิ ม่เปน็ ไปตามหลักเกณฑน์ ี้ ใหถ้ ือว่าเป็นผูข้ าดคุณสมบัติ

21 กำรประเมนิ เพอื่ ขอมีวิทยฐำนะหรือเลอื่ นวทิ ยฐำนะ ผู้ขอตอ้ งผา่ นการประเมนิ ดงั น้ี ด้ำนท่ี 1 ดา้ นทักษะการจดั การเรยี นรู้และการจดั การชั้นเรียน ด้ำนที่ 2 ด้านผลลพั ธ์การเรียนร้ขู องผเู้ รียน ดำ้ นที่ 3 ดา้ นผลงานทางวิชาการ (เฉพาะวิทยฐานะเชี่ยวชาญและวิทยฐานะเช่ียวชาญพเิ ศษ) การประเมินด้านที่ 1 ด้านที่ 2 และด้านท่ี 3 ให้มีกรรมการประเมิน จานวน 3 คน โดยประเมิน ผ่านระบบ DPA ตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กาหนด วิธกี ำรเพ่ือขอมวี ทิ ยฐำนะหรอื เล่ือนวทิ ยฐำนะ 1. ขำ้ รำชกำรครู ผู้ทม่ี คี ณุ สมบตั คิ รบถว้ นให้ยนื่ คาขอตอ่ สถานศึกษาได้ตลอดปี ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง พร้อมหลักฐาน ดงั ต่อไปนี้ 1) ผลการพฒั นางานตามขอ้ ตกลงในชว่ งระยะเวลาย้อนหลัง ๓ รอบการประเมิน หรือ ๒ รอบการประเมิน แลว้ แตก่ รณี ในรูปแบบไฟล์ PDF 2) แผนการจดั การเรียนร้ตู ามทปี่ รากฏในไฟลว์ ีดทิ ศั น์บนั ทึกการสอน ในรปู แบบไฟล์ PDF จานวน ๑ ไฟล์ 3) ไฟล์วดี ิทศั น์ จานวน ๒ ไฟล์ ประกอบด้วย 3.1 ไฟลว์ ีดิทัศนบ์ นั ทกึ การสอน จานวน ๑ ไฟล์ 3.2 ไฟล์วีดิทัศน์ที่แสดงให้เห็นถึงสภาพปัญหา ที่มา หรือแรงบันดาลใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน ๑ ไฟล์ 4) ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องผ้เู รยี น จานวนไม่เกิน ๓ ไฟล์ 5) ผลงานทางวิชาการ (สาหรับวทิ ยฐานะครูเช่ยี วชาญและวทิ ยฐานะครเู ชยี่ วชาญพเิ ศษ) กรณีผู้ทจี่ ะเกษยี ณอำยุรำชกำร 1) สาหรับวิทยฐานะครูชานาญการและวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ให้ยื่นคาขอพร้อม หลักฐาน ให้สถานศกึ ษานาข้อมูลดงั กลา่ วเข้าสูร่ ะบบ DPA ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน 2) สาหรับวิทยฐานะครูเช่ียวชาญและวิทยฐานะครูเช่ียวชาญพิเศษ ให้ยื่นคาขอพร้อมหลักฐาน สง่ ผา่ นขอ้ มูลในระบบ DPA ถึงสานักงาน ก.ค.ศ. ภายในวันท่ี ๓๐ กันยายน 2 ผ้อู ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ ตรวจสอบและรบั รองคุณสมบตั ิรวมท้ังหลกั ฐาน และนาขอ้ มูลเข้าสรู่ ะบบ DPA สาหรบั สถานศกึ ษาทีไ่ ม่มปี ัจจัยพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือมีเหตุผลความจาเป็นอ่ืนใดเป็นพิเศษ ให้ผู้อานวยการสถานศึกษามีหนังสือส่งคาขอและหลักฐานต่าง ๆ ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล ให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตรวจสอบและรับรองคุณสมบตั ิ กอ่ นนาขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบ DPA แทนสถานศึกษา 3. สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศกึ ษำ ส่งผ่านข้อมลู ผ่านระบบ DPA ไปยังสานักงานศึกษาธิการจงั หวัด 4. สำนกั งำนศึกษำธิกำรจังหวัด 1) ตรวจสอบและรบั รองคณุ สมบัติรวมท้ังหลกั ฐานของผู้ขอจากระบบ DPA 1.1 กรณีไม่มีคุณสมบัติ หรือ ข้อมูลคำขอและหลักฐำนไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน ให้ส่งเร่ืองคืน พร้อมเหตุผลผ่านระบบ DPA ไปยงั สถานศกึ ษาโดยเร็ว เพือ่ แจง้ ใหผ้ ูข้ อทราบ

22 1.2 กรณีมีคุณสมบตั แิ ละสง่ หลกั ฐานครบถว้ น 1.2.1 ขอมวี ทิ ยฐานะครชู านาญการและเล่อื นเป็นวทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษ ให้สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เสนอให้ กศจ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตั้ง แล้วแต่กรณี เห็นชอบให้ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน จานวน ๓ คน ต่อผู้ขอ ๑ ราย จากบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.ค.ศ. กาหนด แลว้ สง่ ผ่านข้อมลู ของผูข้ อผ่านระบบ DPA เพอื่ ให้กรรมการประเมนิ ดา้ นที่ ๑ และดา้ นที่ ๒ เม่ือได้รับผลการประเมินจากกรรมการท้ัง ๓ คนแล้ว ให้นาผลการประเมินเสนอ กศจ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ต้ัง แล้วแต่กรณี พิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติ แล้วแจ้งมติเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ DPA ใหส้ านักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา เพื่อแจง้ ใหผ้ ขู้ อทราบ กรณีที่ กศจ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตั้ง แล้วแต่กรณี มีมติอนุมัติ ให้ผู้มีอานาจ ตามมาตรา ๕๓ สัง่ แตง่ ตง้ั ให้มวี ิทยฐานะครชู านาญการ หรอื ใหเ้ ลอื่ นเปน็ วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ ทั้งน้ี เม่ือออกคาสั่งบรรจุและแต่งต้ังในแต่ละวิทยฐานะแล้ว ให้ส่งสาเนาคาส่ังผ่านระบบ DPA ไปยงั สานกั งาน ก.ค.ศ. หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง และสถานศึกษา หำกผู้ขอประสงคจ์ ะย่ืนคำขอคร้งั ใหม่ในวิทยฐำนะเดิม จะตอ้ งได้รบั หนังสือแจง้ มติไมอ่ นมุ ัติผลกำรประเมินคำขอที่ยื่นไวเ้ ดมิ ก่อน 1.2.2 ขอเลอื่ นเปน็ วทิ ยฐานะครเู ชยี่ วชาญและวทิ ยฐานะครเู ชีย่ วชาญพิเศษ - ให้สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เสนอ กศจ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง แล้วแต่กรณี พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบคณุ สมบัติ กอ่ นส่งผ่านขอ้ มูลคาขอพรอ้ มทงั้ หลักฐานในระบบ DPA ไปยงั สานักงาน ก.ค.ศ. - สานักงาน ก.ค.ศ. ตรวจสอบคุณสมบัติรวมท้ังหลักฐานของผู้ขอ หากปรากฏว่า ผู้ขอไม่มีคุณสมบัติหรือข้อมูลคาขอและหลักฐานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้ส่งเรื่องคืนพร้อม เหตุผล ผา่ นระบบ DPA ไปยงั หนว่ ยงานหรือส่วนราชการ เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษาแจ้งผ้ขู อทราบ - กรณีมีคุณสมบัติ ให้สานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ ก.ค.ศ. เห็นชอบให้แต่งต้ัง คณะกรรมการประเมินด้านท่ี ๑ ด้านท่ี ๒ และด้านที่ ๓ จานวน ๓ คน ต่อผู้ขอ ๑ ราย จากบัญชีรายชื่อ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ทิ ี่ ก.ค.ศ. กาหนด และส่งคาขอและหลกั ฐานของผู้ขอผา่ นระบบ DPA ให้คณะกรรมการประเมิน กรณปี รบั ปรงุ ผลงำนทำงวชิ ำกำร ให้ปรบั ปรงุ ตามข้อสังเกตของกรรมการภายใน 6 เดือน นับแต่วันท่ีสานักงาน ก.ค.ศ. แจ้งมติเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านระบบ DPA ให้สานักงานศึกษาธิการ จังหวัด ทราบ เม่ือผู้ขอปรับปรุงผลงานทางวิชาการครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ให้ส่งผลงานทางวิชาการในรูปแบบ ไฟล์ PDF ผ่านระบบ DPA ไปยงั สานกั งาน ก.ค.ศ. เพอ่ื ให้คณะกรรมการชุดเดิมตรวจและประเมินตอ่ ไป กรณีที่กรรมการประเมินคนเดิมไม่สามารถประเมินได้ ให้สานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ ก.ค.ศ. เหน็ ชอบให้สานกั งาน ก.ค.ศ. แตง่ ตัง้ กรรมการคนอน่ื แทนได้ โดยใหด้ าเนนิ การผา่ นระบบ DPA ตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด กรณีผู้ขอเลื่อนวิทยฐานะไม่ส่งผลงานทางวิชาการที่ปรับปรุงตามข้อสังเกต ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด หรอื สง่ พ้นระยะเวลาที่กาหนด ใหถ้ ือวา่ สละสิทธิ์ เม่ือได้ผลการประเมินจากกรรมการทั้ง ๓ คนแล้ว ให้สานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณามีมติอนุมัติหรือไม่อนุมัติ แล้วแจ้งมติเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านระบบ DPA ไปยังหน่วยงาน หน่วยงาน การศึกษา หรอื สว่ นราชการตน้ สังกดั เพอื่ แจ้งผขู้ อทราบ วิทยฐำนะครูเชี่ยวชำญ กรณีท่ี ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติ ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา ๕๓ สงั่ แต่งต้งั ให้เลอ่ื นเป็นวทิ ยฐานะครเู ชย่ี วชาญ

23 วิทยฐำนะครูเชี่ยวชำญพิเศษ กรณีที่ ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติและผ่านการพัฒนา ก่อนแต่งตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่ี ก.ค.ศ. กาหนดแล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของส่วนราชการ ที่ผู้นั้นสังกัดอยู่เป็นผู้ส่ังบรรจุ และให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดนาเสนอนายกรัฐมนตรี เพ่ือนาความกราบบังคมทูล เพอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งตง้ั ให้เลอ่ื นเป็นวิทยฐานะครเู ช่ยี วชาญพเิ ศษ ทั้งน้ี เมื่อออกคาสั่งบรรจุและแต่งตั้งในแต่ละวิทยฐานะแล้ว ให้ส่งสาเนาคาสั่ง ผา่ นระบบ DPA ไปยังสานกั งาน ก.ค.ศ. หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง และสถานศึกษา หมายเหตุ กรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการหรือมีปัญหาในทางปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ของกรมกาหนดในหมวด ๓ ใหเ้ สนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณาหรือวินจิ ฉยั รปู แบบกำรจดั ทำไฟลว์ ีดิทศั น์เพือ่ ขอมีวทิ ยฐำนะหรือเลอื่ นวิทยฐำนะ ดำ้ นท่ี 1 ด้านทักษะการจดั การเรียนรู้และการจัดการชั้นเรยี น ประกอบด้วย 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ (ไฟล์ PDF) 2. ไฟล์วดี ิทศั น์ จานวน 2 ไฟล์ ได้แก่ 2.1 ไฟล์วีดิทัศน์บันทึการสอน สามารถเลือกได้ว่าจะเอาคาบสอนใดมานาเสนอ โดยต้องบันทึกระหว่างการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง และใช้กล้องถ่ายทาแบบตัวเดียว ไม่ต้องมีส่วนนา ไม่มีดนตรีประกอบ ไม่มีการหยุดการถ่ายทา ไม่มีการตัดต่อ ไม่มีการเคลื่อนย้ายกล้อง ไม่แต่งเติมภาพด้วยเทคนิคใด ๆ ซึ่งต้องถ่ายจากมุมซ้ายหรือขวาหน้าห้องเรียน สาดมุมกล้องไปด้านหลัง บันทึกภาพและเสียงให้ชัดเจน ครูอาจใช้ไมโครโฟนระหว่างการบันทึกภาพได้ ให้เน้นภาพองค์รวมของผู้เรียนครบทุกคน บรรยากาศในการจัดการเรียนรู้และกจิ กรรมตงั้ แต่เริ่มจนจบ โดยบันทึกเปน็ ไฟล์ mp4 ความยาวไม่เกิน 60 นาที 2.2 ไฟล์วีดิทัศน์ที่แสดงให้เห็นถึงสภาพปัญหา ที่มา หรือแรงบันดาลใจในการจัดการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เสนอและสอดคล้องกับไฟล์วีดิทัศน์บันทึกการสอน โดยครูนาเสนอจริง แบบปรากฏตัวและบรรยายด้วยตนเอง สามารถแทรกภาพน่ิงหรือภาพเคลื่อนไหวได้ ไม่มีการตัดต่อภาพและเสียง แตส่ ามารถใชโ้ ปรแกรมนาเสนอตา่ ง ๆ ได้ โดยบันทึกเป็นไฟล์ mp4 ความยาวไมเ่ กิน 10 นาที ดำ้ นที่ 2 ดา้ นผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน นาเสนอผลงานหรือผลการปฏิบัติหลังจากการจัดการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงสอดคล้องกับประเด็นที่ท้าทายที่ได้ทาข้อตกลงไว้กับผู้อานวยการสถานศึกษา โดยเสนอผลงาน ร่องรอย และชิ้นงาน ของผ้เู รยี น อย่างนอ้ ยร้อยละ 75 ของกลุ่มเปา้ หมาย โดยจดั ทาเปน็ 1. ไฟลว์ ีดทิ ัศน์ บนั ทึกเป็นไฟล์ mp4 ความยาวไม่เกนิ 10 นาที (1 ไฟล)์ 2. ไฟลภ์ าพใหม้ ีคาอธิบายใตร้ ูปภาพ และไมเ่ กิน 10 รูป . 3. ไฟล์ PDF ตอ้ งมจี านวนไมเ่ กนิ 10 หน้า ทง้ั น้ี รวมแล้วไมเ่ กนิ 3 ไฟล์ ดำ้ นที่ 3 ด้านผลงานทางวชิ าการ (เฉพาะวทิ ยฐานะเช่ยี วชาญและวิทยฐานะเช่ียวชาญพิเศษ) - วิทยฐานะเชี่ยวชาญ เสนอผลงานวิจัยหรือนวัตกรรม ในรูปแบบไฟล์ PDF - วิทยฐานะเชย่ี วชาญพเิ ศษ เสนอผลงานวจิ ัยและนวตั กรรม ในรูปแบบไฟล์ PDF ในส่วนของงานวิจัยต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐานข้อมูล ของศูนยด์ ชั นีการอ้างองิ วารสารไทย หรอื That - Journal Citation Index Centre (TCI) กล่มุ 1 หรือกลุ่ม 2 และผลงานทางวิชาการท่ีผู้ขอเสนอ ต้องเป็นผลงานในช่วงท่ีดารงตาแหน่งและวิทยฐานะที่ดารงอยู่ในช่วง ระยะเวลาย้อนหลงั 4 ปี หรือ 3 ปี แลว้ แต่กรณีนับถึงวนั ทย่ี ่ืนคาขอ และต้องไม่เปน็ ผลงานทางวิชาการที่ใช้เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใด ๆ หรือเป็นผลงานทางวิชาการที่เคยใช้ เพ่อื เลื่อนตาแหนง่ หรือเล่อื นวิทยฐานะมาแลว้

24 คำชแี้ จงกำรประเมินเพ่อื ขอมวี ิทยฐำนะหรอื เลื่อนวิทยฐำนะ ด้ำนที่ 1 และดำ้ นท่ี 2 การประเมินเพ่ือขอมวี ทิ ยฐานะหรอื เลื่อนวทิ ยฐานะ ตามหลักเกณฑ์กาหนดให้มีการประเมนิ 2 ดา้ น ด้ำนที่ 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจัดการชนั้ เรียน ดำ้ นท่ี 2 ด้านผลลัพธก์ ารเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น โดยจาแนกออกเป็น 5 ห้องเรียน มอี งค์ประกอบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน วิธกี ารประเมิน และเกณฑ์การตัดสิน ดังนี้ 1. หอ้ งเรยี นของผ้ขู อรับกำรประเมิน แบง่ เปน็ 5 หอ้ งเรยี น ดังน้ี 1.1 หอ้ งเรยี นวชิ าสามญั หรือวชิ าพ้ืนฐาน 1.2 หอ้ งเรยี นปฐมวยั 1.3 ห้องเรยี นการศึกษาพิเศษ 1.4 หอ้ งเรยี นสายวชิ าชพี 1.5 ห้องเรยี นการศึกษานอกระบบ/ตามอธั ยาศยั ซ่งึ ห้องเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มี 3 ประเภท คือ ข้อ 1.1 – 1.3 2. องคป์ ระกอบกำรประเมิน กำรประเมินด้ำนท่ี 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และการจดั การช้นั เรียน คะแนนเตม็ 40 คะแนน แบ่งเป็น 8 ตัวบ่งชี้ ดงั นี้ (1) ผู้เรียนสามารถเขา้ ถึงส่ิงทเ่ี รยี นและเข้าใจบทเรยี น (2) ผู้เรยี นสามารถเชือ่ มโยงความรู้หรอื ประสบการณเ์ ดมิ กบั การเรียนรู้ใหม่ (3) ผ้เู รียนได้สร้างความรู้เองหรอื ไดส้ รา้ งประสบการณ์ใหม่จากการเรยี นรู้ (4) ผ้เู รียนไดร้ บั การกระตุ้นและเกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู้ (5) ผเู้ รยี นได้รบั การพัฒนาทกั ษะความเชีย่ วชาญจากการเรียนรู้ (6) ผ้เู รยี นได้รบั ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อปรับปรุงการเรยี นรู้ (7) ผเู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาการเรยี นร้ใู นบรรยากาศชนั้ เรียนที่เหมาะสม (8) ผเู้ รียนสามารถกากับการเรยี นรู้และมีการเรยี นร้แู บบนาตนเอง กำรประเมินด้ำนที่ 2 ด้านผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผเู้ รยี น คะแนนเต็ม 20 คะแนน แบ่งเปน็ 4 ตัวบ่งช้ี ดังน้ี (1) ผลงานหรือผลการปฏิบัตเิ ป็นผลลพั ธท์ ่ีเกิดขน้ึ จากการจัดการเรียนร้ขู องครู (2) ผลงานหรือผลการปฏบิ ตั ิสะท้อนถงึ การได้รับการพัฒนาทักษะพื้นฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลกั ษณะของผเู้ รียน (3) ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั สิ ะท้อนถงึ ความสามารถในการเรยี นรู้ (Cognitive Abilities) ตามวยั และลักษณะของผเู้ รยี น (4) ผลงานหรือผลการปฏบิ ตั ิสะท้อนถงึ การบรู ณาการทกั ษะในการทางาน (Cross – functional Skills) ตามวัยและลักษณะของผู้เรยี น

25 3. เกณฑ์กำรให้คะแนน (Scoring Rubric) ดำ้ นที่ 1 ดา้ นทักษะการจดั การเรยี นรแู้ ละการจัดการชั้นเรยี น 1 คะแนน เมอ่ื ปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏบิ ัตติ ามข้อ 1 ถึง ขอ้ 3 ได้ 1 ขอ้ 2 คะแนน เมื่อปรากฏชดั เจนว่าสามารถปฏิบัตติ ามข้อ 1 ถึง ขอ้ 3 ได้ 2 ขอ้ 3 คะแนน เมอ่ื ปรากฏชัดเจนวา่ สามารถปฏบิ ัตติ ามข้อ 1 ถงึ ข้อ 3 ได้ทงั้ 3 ข้อ 4 คะแนน เมือ่ ปรากฏชดั เจนว่าสามารถปฏบิ ตั ิตามข้อ 1 ถงึ ข้อ 3 ได้ทัง้ 3 ขอ้ 5 คะแนน และปรากฏชดั เจนว่าสามารถปฏบิ ตั ติ ามข้อ 4 หรือ ข้อ 5 ได้ 1 ขอ้ เมื่อปรากฏชัดเจนวา่ สามารถปฏิบัตติ ามข้อ 1 ถึง ข้อ 3 ได้ทั้ง 3 ขอ้ และปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏบิ ัติตามข้อ 4 หรอื ขอ้ 5 ได้ท้ัง 2 ข้อ ดำ้ นท่ี 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรียนรูข้ องผเู้ รยี น 1 คะแนน เมอ่ื ปฏบิ ัตไิ ดห้ รอื ปรากฏผลชัดเจน 1 ข้อ จาก 5 ขอ้ 2 คะแนน เมือ่ ปฏิบัตไิ ด้หรือปรากฏผลชัดเจน 2 ข้อ จาก 5 ขอ้ 3 คะแนน เมอ่ื ปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 3 ขอ้ จาก 5 ขอ้ 4 คะแนน เมื่อปฏบิ ตั ิไดห้ รือปรากฏผลชัดเจน 4 ข้อ จาก 5 ขอ้ 5 คะแนน เมอ่ื ปฏบิ ัตไิ ดห้ รอื ปรากฏผลชัดเจนทั้ง 5 ขอ้ 4. วิธกี ำรประเมนิ เพอื่ ขอมวี ิทยฐำนะหรือเลื่อนวิทยฐำนะ ดำ้ นที่ 1 ดา้ นทกั ษะการจดั การเรียนรู้และการจดั การชัน้ เรยี น ใหค้ ณะกรรมการประเมินดาเนินการประเมินด้านท่ี 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการ ชนั้ เรียน โดยพจิ ารณาจาก 1) แผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีใช้จัดการเรียนรู้ ตามท่ีปรากฏในไฟล์วีดิทัศน์บันทึกการสอนในวิชา/ สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งผู้ขอได้จัดทาข้ึนและนาไปใช้สอนจริงในช่วงท่ีดารงตาแหน่งครูหรือดารง วทิ ยฐานะ แลว้ แต่กรณี 2) ไฟลว์ ีดิทัศน์จานวน 2 ไฟล์ ประกอบดว้ ย (1) ไฟล์วีดิทัศน์บันทึกการสอนที่แสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังตามมาตรฐาน วิทยฐานะที่ขอรับการประเมิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่เสนอตามข้อ 1) โดยมีรูปแบบ ตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด (2) ไฟลว์ ีดทิ ัศนท์ ี่แสดงใหเ้ ห็นถึงสภาพปัญหา ทีม่ า หรือแรงบันดาลใจในการจัดการเรยี นรู้ ตามขอ้ 1) ด้ำนที่ 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผเู้ รียน ให้คณะกรรมการประเมินดาเนินการประเมินด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากผลงานหรือผลการปฏิบัติของผู้เรียน ท่ีปรากฏภายหลังจากการจัดการเรียนรู้และการจัดการ ช้ันเรียน ตามไฟล์วีดิทัศน์บันทึกการสอน ท่ีเสนอไว้ในด้านที่ 1 โดยให้นาเสนอในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล เช่น ไฟลว์ ดี ิทัศน์ ไฟลภ์ าพ หรือไฟล์ PDF

26 ภำพประกอบท่ี 8 หลักฐานประกอบการขอมแี ละเล่ือนวทิ ยฐานะ ตาแหน่งครู 5. เกณฑก์ ำรตัดสิน ผผู้ ่านการประเมินด้านท่ี 1 ด้านทกั ษะการจัดการเรียนร้แู ละการจัดการชน้ั เรยี น และด้านท่ี 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรียนร้ขู องผเู้ รยี น จะต้องไดค้ ะแนน ดังนี้ วทิ ยฐานะครูชานาญการ จะต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 65 วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ จะต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 70 วทิ ยฐานะครเู ช่ยี วชาญ จะตอ้ งได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไมต่ า่ กว่า รอ้ ยละ 75 วทิ ยฐานะครูเชีย่ วชาญพิเศษ จะต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไมต่ า่ กว่า ร้อยละ 80

27 คำชแี้ จงกำรประเมนิ ดำ้ นท่ี 3 ด้ำนผลงำนทำงวิชำกำร 1. องคป์ ระกอบกำรประเมนิ และเกณฑก์ ำรให้คะแนน การประเมนิ และการใหค้ ะแนน จาแนกออกเปน็ 2 สว่ น จานวน 6 ตวั ชีว้ ัด สว่ นท่ี 1 คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (คะแนนเตม็ 50 คะแนน) 1.1 ความถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ (20 คะแนน) 1.2 ความคาดหวงั ในระดับการปฏบิ ัติตามมาตรฐานวทิ ยฐานะ (15 คะแนน) 1) วิทยฐานะเช่ียวชาญ ความคาดหวังในระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะ ตอ้ งแสดงใหเ้ ห็นถงึ การคดิ คน้ ปรับเปลี่ยนนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู้ และเป็นแบบอยา่ งท่ีดี 2) วิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ความคาดหวังในระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะ ต้องแสดงใหเ้ ห็นถงึ การสร้างการเปลย่ี นแปลง เผยแพร่และขยายผลในวงวชิ าชพี และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี 1.3 ความสมบูรณข์ องเน้อื หาสาระ (10 คะแนน) 1.4 การจัดทา การพมิ พ์ รปู เลม่ และการเผยแพร่ (5 คะแนน) ส่วนท่ี 2 ประโยชนข์ องผลงานทางวชิ าการ (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) 2.1 ประโยชน์ต่อผ้เู รยี น ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษา ชมุ ชน 2.2 ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าในวงวิชาชีพ ต้องสามารถปรับเปลี่ยนและสร้าง การเปลย่ี นแปลงในวงวชิ าการและวงวชิ าชีพ ตามมาตรฐานวทิ ยฐานะทขี่ อรับการประเมิน 2. วิธกี ำรประเมนิ ผลงำนทำงวชิ ำกำร 2.1 วิทยฐานะเชี่ยวชาญ ต้องมีผลงานทาววิชาการซ่ึงเป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ หรือนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ท่ีแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังตามมาตรฐานวิทยฐานะท่ีขอรับ การประเมนิ จานวน 1 รายการ ในรูปแบบ PDF 2.2 วิทยฐานะเชีย่ วชาญพเิ ศษ ต้องมีผลงานทางวชิ าการ ซ่ึงเป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ และนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ท่ีแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังตามมาตรฐานวิทยฐานะ ที่ขอรบั การประเมิน จานวนอยา่ งละ 1 รายการ ในรูปแบบไฟล์ PDF โดยงานวิจัยต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ บทความวิจัยในวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หรือ Thai - Journal Citation Index Center (TCI) กลมุ่ 1 หรอื กล่มุ 2 โดยให้ส่งบทความวจิ ยั ที่ตพี มิ พ์เผยแพร่ในรูปแบบไฟล์ PDF ดว้ ย 3. เกณฑ์กำรตัดสิน - วิทยฐานะเช่ยี วชาญ ตอ้ งได้คะแนนจากกรรมการแตล่ ะคน ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 75 - วทิ ยฐานะเชยี่ วชาญพเิ ศษ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแตล่ ะคน ไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ 80 แบบฟอร์ม กำรประเมนิ เพอ่ื ขอมวี ทิ ยฐำนะหรอื เล่ือนวิทยฐำนะ

28 แนวปฏิบตั ิกำรดำเนนิ กำรในช่วงระยะเวลำเปล่ียนผำ่ น 1. กรณีย่ืนคาขอตามหลกั เกณฑ์และวิธีการฯ เดมิ ไวก้ ่อนวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564 แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ใหด้ าเนนิ การไปจนกว่าจะแล้วเสรจ็ 2. กรณีย่นื คาขอตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552 ในช่วงระยะเวลาเปล่ียนผ่านไปแล้ว หรือ มิไดใ้ ช้สิทธ์ิในชว่ งเปล่ยี นผ่านตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารฯ ว 21/2560 ไม่สามารถยนื่ คาขอตามหลักเกณฑ์ และวธิ ีการฯ ว 17/2552 ได้อีก 3. หากประสงค์จะยน่ื คาขอตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552, ว 10/2554, ว 21/2560 สามารถยน่ื คาขอได้ 1 คร้งั เพยี งหลกั เกณฑ์เดยี ว โดยต้องมคี ณุ สมบตั แิ ละยน่ื ภายในวันท่ี 30 กันยายน 2565 หากพ้นกาหนดระยะเวลาใหด้ าเนินการตาม ข้อ 5.2 4. กรณอี ยรู่ ะหว่างทบทวนมติ ก.ค.ศ. ตามหลักเกณฑ์ฯ ว 13/2556 หากจะยืน่ คาขอตามหลักเกณฑ์ ว 17/2552, ว 10/2554, ว 21/2560 ใหด้ าเนินการตาม ข้อ 3 5. กรณปี ระสงค์จะยืน่ คาขอตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการฯ ว 9/2564 5.1 บรรจุและแต่งต้ัง ต้ังแตว่ นั ที่ 1 ต.ค. 2564 เปน็ ต้นไปใหด้ าเนนิ การตามหลกั เกณฑน์ ้ี 5.2 บรรจุและแต่งต้ัง ก่อนวันท่ี 1 ต.ค. 2564 หากมีคุณสมบัติระยะเวลาการดารงตาแหน่ง และมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม แต่มีการพัฒนางานตามข้อตกลงไม่ครบ 3 รอบการประเมิน ให้ดาเนินการ โดยสามารถนาผลงานตามหลกั เกณฑ์ ว 17/2552 หรือ ว 21/2560 มารวมได้ 1) การยนื่ คาขอในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2565 - วันท่ี 30 กันยายน 2566) (๑.๑) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ด้านท่ี 3 หรือด้านท่ี 3 ส่วนท่ี 1 แล้วแต่กรณี) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552 ในปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านเกณฑ์ หรือรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ตาแหน่งครู รายปีการศึกษา (วฐ. ๒) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว ๒๑/๒๕๖๐ ทีผ่ า่ นเกณฑ์ จานวน 2 ปีการศึกษาโดยใหร้ ายงานในรูปแบบไฟล์ PDF (๑.๒) ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ในรอบการประเมินของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ (วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564 - วันที่ 30 กันยายน 2565 ) จานวน 1 รอบการประเมนิ ที่ผ่านเกณฑใ์ นรูปแบบไฟล์ PDF (๑.๓) แผนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบไฟล์ PDF ที่ใช้จัดการเรียนรู้ตามท่ีปรากฏในไฟล์ วีดิทัศน์บนั ทึกการสอน ในวิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน 1 ไฟล์ (1.4) ไฟล์วดี ิทศั น์ จานวน 2 ไฟล์ ประกอบด้วย (1.4.1) ไฟลว์ ีดิทัศน์บันทึกการสอน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเสนอ ในข้อ (1.3) จานวน 1 ไฟล์ (1.4.2) ไฟล์วีดิทัศน์ที่แสดงให้เห็นถึงสภาพปัญหา ท่ีมา หรือแรงบันดาลใจ ในการจดั การเรยี นรู้ท่เี สนอในข้อ (1.3) จานวน 1 ไฟล์ (1.5) ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นผลงานหรือผลการปฏิบัติของผู้เรียนที่ปรากฏ ภายหลังจากการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตามไฟล์วีดิทัศน์บันทึกการสอนท่ีเสนอในข้อ (1.4.1) จานวนไมเ่ กนิ 3 ไฟล์ (1.6) ผลงานทางวิชาการในรูปแบบไฟล์ PDF เฉพาะการขอเลื่อนเป็นวิทยฐานะครู เชย่ี วชาญและครูเชย่ี วชาญพิเศษ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทีก่ าหนดไว้ในหมวด 4

29 2) การยื่นคาขอในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (วันที่ 1 ตุลาคม 2566 - วันท่ี 30 กันยายน 2567) ให้เสนอหลกั ฐานเพื่อประกอบการพจิ ารณา ดงั นี้ (2.1) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ด้านที่ 3 หรือด้านที่ 3 ส่วนที่ 1 แล้วแต่กรณี) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552 ในปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านเกณฑ์ หรอื รายงานผลงานทเ่ี กดิ จากการปฏิบตั ิหนา้ ทีต่ าแหน่งครู รายปีการศึกษา (วฐ. ๒) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 21/2560 ทผ่ี ่านเกณฑจ์ านวน 1 ปีการศกึ ษา โดยให้รายงานในรปู แบบไฟล์ PDF (2.2) ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ในรอบการประเมินของปีงบประมาณพ.ศ. 2565 (วันท่ี 1 ตุลาคม 2564 - วันท่ี 30 กันยายน 2565) และรอบการประเมินของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (วันที่ 1 ตลุ าคม 2565 - วันท่ี 30 กนั ยายน 2566) ท่ผี ่านเกณฑ์ทั้ง 2 รอบการประเมิน ในรูปแบบไฟล์ PDF (2.3) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้จัดการเรียนรู้ตามข้อ (1.3 ) ในรูปแบบไฟล์ PDF จานวน 1 ไฟล์ ไฟล์วีดิทัศน์ ตามข้อ (1.4) จานวน 2 ไฟล์ และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนตามข้อ (1.5) จานวนไม่เกิน 3 ไฟล์ สาหรับการขอเลื่อนเป็นวิทยฐานะครูเช่ียวชาญและครูเช่ียวชาญพิเศษ ต้องมีผลงานทางวิชาการตามข้อ (1.6) ในรปู แบบไฟล์ PDF มาประกอบการพจิ ารณาดว้ ย 3) การยื่นคาขอในปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เป็นต้นไป ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารทก่ี าหนดไวใ้ นหมวด 3 หรอื หมวด 4 แล้วแต่กรณี ท้ังนี้ ให้สถานศึกษาตรวจสอบและรับรองคุณสมบัติ รวมท้ังหลักฐานของผู้ขอตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด และตามแนวปฏิบัติฯ ข้อ 5.2 ก่อนนาข้อมูลคาขอพร้อมทั้งหลักฐานดังกล่าว เข้าสู่ระบบ DPA เพ่ือส่งผ่านไปยังหน่วยงาน หน่วยงานการศึกษาหรือส่วนราชการที่เก่ียวข้องเพื่อดาเนินการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ีกาหนดไว้ในหมวด 3 หรอื หมวด 4 แล้วแต่กรณี

30 กรณตี ัวอยำ่ ง 1. เปน็ ครูผชู้ ่วยกอ่ นวันที่ 5 กรกฎำคม 2560 และได้รบั กำรแตง่ ตั้งให้ดำรงตำแหน่งครูต้ังแต่วันท่ี 5 กรกฎำคม 2560 เป็นต้นไป เมือ่ มคี ุณสมบตั คิ รบตาม ว 17/2552 ภายในวันท่ี 30 กนั ยายน 2565 ขอมีหรอื เลอ่ื นวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552 ได้ภายใน 1 ปี นับแต่วันท่ีมีคุณสมบัติครบ โดยขอได้ภายในวันท่ี 30 กันยายน 2565 (ยกเว้นผู้ที่ได้ใช้สิทธิตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 17/2552 ช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารฯ ว 21/2560 ไปแลว้ 2. บรรจุและแตง่ ตงั้ ให้ดำรงตำแหน่งครกู อ่ นวันที่ 1 ตุลำคม 2564 ๑. เม่ือมีคุณสมบัติครบตาม ว 21/2560 ภายในวันที่ 30 กันยายน 2565 ขอมีหรือเลื่อน วิทยฐานะ ตาม ว 21/2560 ไดภ้ ายในวนั ท่ี 30 กันยายน 2565 ๒. คณุ สมบตั คิ รบตาม ว 10/2554 ภายในวันที่ 30 กนั ยายน 2565 ขอมีหรือเล่ือนวทิ ยฐานะ 3 กำรขอมีหรือเลื่อนวิทยฐำนะตำมหลักเกณฑ์เดิมในช่วงระยะเวลำเปล่ียนผ่ำนตำมหลักเกณฑ์ และวธิ ีกำรฯ ว 17/2552 นาย ก ดารงตาแหน่งครู เม่ือวันที่ 1 ตุลาคม 2560 มีวุฒิปริญญาโทและมีคุณสมบัติครบตาม ว 17/2552 สามารถยน่ื คาขอมวี ิทยฐานะครชู านาญการ ตาม ว 17/2552 ไดภ้ ายในวนั ท่ี 30 กันยายน 2565 ตำแหนงครผู ชู้ ่วย ตำแหน่งครู 30 ก.ย. 2565 1 ต.ค. 2558 1 ต.ค. 2560 30 ก.ย. 256๔ ๑ ต.ค. 256๔ ครบ 4 ปี ครูทุกคนตอ้ งทำ PA รอบที่ 1 มีวฒุ ิ ป.โท โดยเง่อื นไข สำมำรถย่นื คำขอมีวทิ ยฐำนะครชู ำนำญกำร เป็นไปตำม ว 26/2559 ตำมว 17/2552 ไดต้ ้ังแต่วนั ที่ 1 ต.ค. 2564 - 30 ก.ย. 2565 ไม่เสียสทิ ธิ์

31 ตำมหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ำรฯ ว 21/2560 นาย ค ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเป็นครูผู้ช่วยเมื่อวันท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ดารงตาแหน่งครู เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ คุณสมบัติครบ ๙ พฤษภาคม 2565 ย่ืนคาขอครูชานาญการ ถึงสานักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัด/สว่ นราชการได้ต้งั แต่วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม 2565 - 30 กนั ยายน 2565 ๑๐ พ.ค. 2558 ๑๐ พ.ค. 2560 ๑ ต.ค. 256๔ ๑๐ พ.ค. 256๕ 30 ก.ย. 2565 ครูผชู้ ่วย ครู ว 9/2564 มีผลบงั คับใช้ คณุ สมบตั คิ รบ ๙ พ.ค. 2565 ย่ืนคาขอ ครูทุกคนเร่มิ ทา PA ครูชานาญการ ถงึ สนง.ศธจ./ส่วนราชการ ไดต้ ง้ั แตว่ ันที่ ๑๐ พ.ค. 2565 - 30 ก.ย. 2565 นางสาว เอ ดารงตาแหนง่ ครู เมื่อวนั ที่ 1๖ พฤศจิกายน 2561 สามารถยืน่ คาขอมีวิทยฐานะครู ชานาญการ ตาม ว 9/2564 ไดต้ งั้ แตว่ ันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 1๖ พ.ย. 2561 1 ต.ค. 2564 30 ก.ย. 2565 1๖ พ.ย. 2565 1๖ พ.ย. 2566 ตำแหนงครู PA รอบที่ 1 ระยะเวลำ 5 ปี ตำม ว 21/2560 ระยะเวลำ 4 ปี ตำม ว 9/2564 ได้สิทธิเร็วกว่ำเดมิ ได้สทิ ธย์ิ ่ืนกอ่ น ว 21/2560 (1 ปี) เพรำะเปน็ ไปตำมเง่ือนไขช่วงเปลีย่ นผ่ำน ตำม ว 9/2564 ดงั นี้ คุณสมบตั ิ ขอ้ 1.1 ดำรงตำแหน่งครู ไม่น้อยกว่ำ 4 ปตี ิดตอ่ กนั ข้อ 1.2 มี PA = 1 รอบกำรประเมนิ รวมกับรำยงำนผลกำรพฒั นำคุณภำพผเู้ รยี น ด้ำนท่ี 3 ตำม ว 17/2552 เปรียบเทยี บปกี ำรศึกษำ 2562 กับปกี ำรศกึ ษำ 2563 ท่ผี ำ่ นเกณฑ์ หรือ รำยงำนผลงำน ทเ่ี กดิ จำกกำรปฏิบัติหน้ำท่ี (3 ด้ำน 13 ตัวชว้ี ดั ) ตำม ว 21/2560 จำนวน 2 ปีกำรศึกษำท่ีผำ่ นเกณฑ์ ขอ้ 1.3 ไมเ่ คยถกู ลงโทษทำงวินยั ฯ ท่ีหนกั กวำ่ ภำคทัณฑใ์ นชว่ งระยะเวลำยอ้ นหลงั ไมน่ ้อยกว่ำ 4 ปี

32 กรณกี ำรนำผลงำนตำมหลกั เกณฑ์เดมิ มำยืน่ คำขอตำมหลักเกณฑใ์ หม่ (ตำแหน่งคร)ู ผดู้ ารงตาแหน่งครูทม่ี ีคณุ สมบตั ติ าม ว 9/2564 (ขอ้ 1 ระยะเวลาดารงตาแหนง่ /วิทยฐานะและข้อ 3 วินัย คุณธรรมฯ ) แต่มีผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (ตามข้อ 2) ไม่ครบตามจานวนรอบการประเมิน ที่กาหนดไว้ ประสงคจ์ ะย่ืนคาขอตาม ว 9/2564 ใหด้ าเนินการ ดงั น้ี ผลงำนตำมเกณฑเ์ ดิมท่ีนำเสนอ (หลกั เกณฑใ์ ดหลกั เกณฑห์ นึ่ง) ผลกำรพัฒนำงำน ตำมขอ้ ตกลง PA ย่นื คำขอปีงบประมำณ ผลงำนที่เกิดจำก ตำมหลักเกณฑ์ 2566 ดำ้ นที่ 3 หรือ ด้ำนท่ี 3 สว่ นท่ี 1 กำรปฏิบัติหนำ้ ท่ี ว 9/2564 (1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66) ว 17/2552 แล้วแต่กรณี ตำม ว 21/2560 รอบแรก 2567 (1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65) (1 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67) (3 ด้ำน 13 ตวั ช้วี ดั ) 2 รอบ 2568 เป็นต้นไป เปรยี บเทียบ 2 ปกี ารศกึ ษา ปีงบประมาณ 65 + 66 (1 ต.ค. 67 เปน็ ต้นไป) 2 ปีการศกึ ษาทผ่ี า่ นเกณฑ์ ทีผ่ า่ นเกณฑ์ ครบ 3 รอบการประเมิน เปรียบเทียบ 1 ปีการศกึ ษา 2 ปีการศึกษาท่ีผ่านเกณฑ์ ทผ่ี ่านเกณฑ์ -- กำรดำรงไวซ้ ึ่งควำมรู้ ควำมสำมำรถ ควำมชำนำญกำร หรือควำมเชยี่ วชำญในตำแหน่งและวิทยฐำนะ ที่ได้รบั กำรบรรจุและแต่งต้ัง 1. เม่ือข้าราชการครูไดร้ บั การแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงวิทยฐานะใดแล้ว จะต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ทกุ ปีงบประมาณ เสนอต่อผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา เพอ่ื พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ 2. ให้ข้าราชการครูที่มีวิทยฐานะ ทุกวิทยฐานะ ได้รับการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง จากคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนาตามข้อตกลงเป็นประจาทุกรอบการประเมิน โดยให้ถือว่าคณะกรรมการ ดังกล่าว เป็นคณะกรรมการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะเพ่ือดารงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรอื ความเช่ียวชาญในตาแหนง่ และวทิ ยฐานะที่ได้รบั การบรรจุและแต่งตัง้ ด้วย 3. ข้าราชการครูท่ีมีผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง ผ่านเกณฑ์ ต้องได้คะแนนจากกรรมการ แต่ละคนไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ผู้ที่ผ่านการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลงในรอบการประเมินใด ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาแจ้งให้ข้าราชการครูผู้นั้นทราบ และให้ถือว่าเป็นผู้ผ่านการประเมินตาแหน่ง และวิทยฐานะเพ่ือดารงไว้ซ่ึงความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเช่ียวชาญในตาแหน่งและวิทยฐานะ ทไี่ ด้รับการบรรจุและแต่งตง้ั ในรอบการประเมินนนั้ 4. ข้าราชการครูที่มีผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง ไม่ผ่านเกณฑ์ในรอบการประเมินใด ให้ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาแจง้ ใหข้ า้ ราชการครูผู้น้ันทราบ และให้ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินตาแหน่ง และวิทยฐานะเพ่ือดารงไว้ซ่ึงความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเช่ียวชาญในตาแหน่งและวิทยฐานะ ทไี่ ดร้ ับการบรรจุและแต่งตั้งตามนัยมาตรา 55 วรรคสองต่อไปในรอบการประเมินนั้น โดยให้มีการดาเนินการ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กาหนด

33 หลกั เกณฑ์และวธิ กี ำรประเมินตำแหน่งและวทิ ยฐำนะข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ตำแหนง่ ครู (หนงั สือสำนักงำน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันท่ี 20 พฤษภำคม 2564) คูม่ อื กำรดำเนนิ กำรตำมหลักเกณฑ์และวิธกี ำรประเมนิ ตำแหน่ง และวทิ ยฐำนะขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำแหน่งครู ภำระงำนของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำฯ (หนงั สือสำนกั งำน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ0206.3/ว 21 ลงวันที่ 30 สิงหำคม 2564) มำตรฐำนตำแหนง่ และมำตรฐำนวิทยฐำนะของขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ (สำนักงำน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ0206.3/ว 3 ลงวนั ท่ี 26 มกรำคม 2564)

คณะผูจ้ ัดทำ คณะทปี่ รึกษำ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน 1. นายอมั พร พนิ ะสา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2. นายเทอดชาติ ชยั พงษ์ ผ้ชู ่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 3. นายชูชาติ ทรัพยม์ าก สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 4. นางสวุ ารี เคยี งประพันธ์ ทป่ี รึกษาพิเศษ ดา้ นบริหารทรพั ยากรบุคคล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน คณะทำงำน ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นการบริหารทรัพยากรบุคคล 1. นายอนนั ต์ พันนกึ ปฏิบตั หิ น้าทร่ี องผู้อานวยการสานักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิติการ 2. นายพเิ ชฐร์ วนั ทอง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 3. นายเอกวัฒน์ ล้อสนุ ิรันดร์ 4. นายพศิ ุทธิ์ กิตศิ รีวรพนั ธ์ุ ผู้อานวยการสานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร 5. นายชูชาติ แก้วนอก สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 6. นายพัชระ งามชดั ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา 7. นายอาวุธ ทองบุ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 8. นายปรดี ี โสโป ผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 9. นายบุญพิมพ์ ภูชมศรี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 1 ผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงิ หบ์ รุ ี อา่ งทอง ผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาศรีสะเกษ ยโสธร รองผ้อู านวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1 รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 2 รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสระแกว้ เขต 2 ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านไทรงามโนนภูดิน สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ

10. นายวาทยทุ ธ พุทธพรหม ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนบ้านนางโอก (อ่อนอานวยศิลป)์ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 11. นายวรี ะเชษฐ์ ฮาดวเิ ศษ ผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทยี น สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1 12. นายอรุณ โตะ๊ หวนั หลง ผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนสตลู วิทยา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล 13. ส.ต.ท. เอกชยั จันทาพูน ผู้อานวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นปา่ ซางเหนอื สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 14. นางสภุ าพร พาภกั ดี ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 28 จงั หวดั ยโสธร สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ 15. นายวุฒชิ ยั จาปาหวาย ผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นทา่ เริงรมย์ สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 16. นางสาวปรตี ประทุมสวุ รรณ์ รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนสตรีอัปสรสวรรค์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 17. นางสาวปารชิ าติ เภสชั ชา ศกึ ษานิเทศก์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2 18. นางฉววี รรณ โยคนิ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1 19. นายนธิ ิวฒั น์ อนิ ทสทิ ธิ์ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 20. นายนาวี เวทวงศ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 21. นางสาวบบุ ผา พรมหลง ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2 22. นายณัฏฐเมธร์ ดลุ คนิต ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 23. นายกอบวทิ ย์ พริ ยิ ะวฒั น์ ศกึ ษานิเทศก์ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาปทุมธานี

24. นางขนษิ ฐา ภชู มศรี ครู โรงเรียนบา้ นไทรงามโนนภูดนิ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ 25. นางพสิ มัย กองธรรม ครู โรงเรยี นบ้านจับไม้ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 26. นางสาวมลั ลิกา นาศพัฒน์ ครู โรงเรยี นบา้ นท่าลาดวารวี ทิ ยา สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2 27. นางสาวสุรีรัตน์ ยิง่ ยงชยั ครู โรงเรียนอนบุ าลกันทรารมย์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 28. นางสาวสุดคนึงนจิ โกษาแสง ครู โรงเรียนบ้านหาดแพง (หาดแพงวิทยา) สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 29. นางอจั ฉรา เอ่ียมบารุง ครู โรงเรียนวดั อมรินทราราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 30. นางสาวบตุ รยี า รัตนมณี ครู โรงเรยี นสตรีอัปสรสวรรค์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 31. นางสาววรรณธนา จิรมหาศาล ครู โรงเรียนศลี าจารพพิ ฒั น์ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 32. นางสาวพิมสวัสดิ์ โกศลสมบตั ิ ครู โรงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร 33. นายร่มเกล้า ช้างนอ้ ย ครู โรงเรียนมัธยมวดั ดสุ ติ าราม สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 34. นางสาวพชั ราพร ศรจี นั ทร์อินทร์ ครู โรงเรยี นโสตศกึ ษาจงั หวดั ขอนแก่น สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ 35. นางสาวพนติ นนั ท์ เพชรนาค นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

36. นายสังคม จนั ทรว์ ิเศษ ผู้อานวยการกลมุ่ วจิ ัยและพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคล สานักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 37. นางสาวธัญญามาศ กนกากร นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทผ่ี ู้อานวยการกลมุ่ สง่ เสริมประสานการบรหิ ารงานบุคคล สานกั พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 38. นางสาวชุลี วราศรัย นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการพเิ ศษ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 39. นางสาวนัยนา สารกิ า นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 40. นางเขมจิรา ฟ้องเสียง นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ สานกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 41. นางสาวปารณยี ์ ณะแก้ว นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ สานกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 42. นางนรนิ ทร ดุษดี นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 43. นายภทรัชญ์ ธรรมมาตยกลุ นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุตรดติ ถ์ เขต 1 ชว่ ยปฏบิ ัติราชการ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 44. นางสาวขวญั ตา ดาสว่าง นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร สานกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ ิการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 45. นางสาวภาพร ชนะสุข นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ัติการ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

46. นางสาวธัญลกั ษณ์ สาวสวรรค์ นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ สานกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 47. นางสาวหนงึ่ ฤทยั แซล่ ม้ิ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร สานักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 48. นางสาวอัจจมิ า รัตนาจารย์ นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ัตกิ าร สานกั พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 49. นางสาวทพิ ยาภรณ์ พูนพานิช นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ตั กิ าร สานักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 50. นางสาวมณรี ัตน์ โทพรม นกั ทรัพยากรบุคคลปฏบิ ัติการ สานักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 51. นางสาวศศิกานต์ ชัยลน้ิ ฟ้า นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ัตกิ าร สานักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 52. นางสาววัณณิตา อุ่ยเจริญ นักทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ัตกิ าร สานกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 53. นางสาววราภรณ์ ทัพสทิ ธิ์ นักทรัพยากรบคุ คลปฏิบตั กิ าร สานักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 54. นายอกนษิ ฐ์ ย่งิ นยิ ม พนกั งานพิมพด์ ดี สานักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ----------- ***** ------------ ***** ----------- ***** ------------

บรรณานกุ รม คณะกรรมการอสิ ระเพื่อการปฏริ ปู การศกึ ษา. แผนปฏิรปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร, 2560. (เอกสารอดั สาเนา). ราชกิจจานุเบกษา. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย. เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔.๐ ก.หน้า 14. 2560. สานกั งาน ก.ค.ศ. คมู่ ือการดาเนนิ การตามหลกั เกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษาตาแหน่งครู สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน. กรุงเทพมหานคร, 2564. (เอกสารอัดสาเนา) . มาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ตามหนงั สือที่อ้างถงึ ท่ี ศธ 0๒06.4/ว3 ลงวนั ที่ 26 มกราคม 2564).กรงุ เทพมหานคร, 2564. (เอกสารอดั สาเนา). . ภาระงานของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู (ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ที่ ศธ 0๒06.3/ว21 ลงวนั ที่ 30 สิงหาคม 2564).กรงุ เทพมหานคร, 2564. (เอกสาร อดั สาเนา) สานักนายกรฐั มนตรี. ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐. กรงุ เทพมหานคร, 2561. (เอกสารอัดสาเนา).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook