Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร

การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร

Published by swmpp98, 2019-06-01 01:03:55

Description: การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

คำ�นำ� การเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนรายวิชาการถ่ายภาพเพอ่ื การสื่อสาร เป็นสว่ นหนง่ึ ของการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าเทคโนโลยสี อ่ื สง่ิ พมิ พ์ เรยี บเรยี งโดยนสิ ิตหลักสตู รศลิ ปศาตร์บณั ฑิต เทคโนโลยีสอ่ื สารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ผูจ้ ดั ท�ำ หวงั วา่ การเรยี บเรยี งครัง้ นม้ี ีประโยชน์ต่อผ้สู นใจไม่มากกน็ ้อย นางสาวศกนุ ตลา พ่วงชาวนา ผ้จู ดั ทำ�



สารบญั เร่ือง หน้า บทท่ี 1 ความหมายและความส�ำ คญั ของการถา่ ยภาพเพื่อการส่อื สาร 1 ความหมายของการถา่ ยภาพ 2 ความสำ�คญั ของการภาพถา่ ย 3-4 ทฤษฎีสญั วทิ ยาและการสรา้ งความหมาย 5-6 แนวคิดเร่อื งการเข้ารหสั -ถอดรหัส 6 ภาพถา่ ยกบั การส่อื ความหมาย 7 บทที่ 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพอ่ื การสือ่ สาร 8 การถา่ ยภาพขา่ ว (News photography) 10 การภาพถ่ายสารคดี (Documentary photography) 11-4 การถา่ ยภาพเพือ่ โฆษณา 14-16 การถา่ ยภาพเพอื่ การประชาสมั พันธ ์ 20-21 การภาพถา่ ยประกอบสอ่ื การเรยี นการสอน 21-23 บทที่ 3 การถา่ ยภาพหุ่นนงิ่ ภาพบุคคล และ PHOTO STORY 24 ขัน้ ตอนการถ่ายภาพหนุ่ นงิ่ 23-28 การถา่ ยภาพบคุ คล (PORTRAITS) 29-31

เรอื่ ง หนา้ บทที่ 4 พชื ดอกไม้ สตั ว์ และแมลง 32 เทคนิคการถา่ ยภาพพชื ดอกไม้ และแมลง 33-35 การควบคุมแสงและฉากหลัง 35-36 บทท่ี 5 การถา่ ยภาพทวิ ทศั น ์ 37 การถ่ายภาพทวิ ทัศน์ Landscape 38-40 เส้นสายช้นี ำ�สายตาไปหาจุดสนใจ 40-41 บทท่ี 6 การถ่ายภาพเพอื่ ส่อื อารมณค์ วามรสู้ ึก 42 เทคนคิ การถา่ ยภาพเสือ่ อารมณ์และความรสู้ กึ 43-46 บทท่ี 7 เทคนคิ การถา่ ยภาพเคลือ่ นไหว 47 เทคนิคการถา่ ยภาพเคล่อื นไหว 48-50 บทท่ี 8 ศิลปะการเลา่ เรือ่ ง 51 บรรณาณกุ รม 62





บทที่ 1 ความหมายและความสำ�คญั ของการถ่ายภาพเพ่ือการสื่อสาร 1 บทท่ี 1 ความหมายและความสำ�คญั ของ การถา่ ยภาพเพอื่ การสอ่ื สาร

2 บทท่ี 1 ความหมายและความส�ำ คญั ของการถา่ ยภาพเพ่อื การสือ่ สาร บทท่1ี ความหมายและความสำ�คญั ของ การถา่ ยภาพเพ่ือการสือ่ สาร ความหมายของการถ่ายภาพ ได้มีผ้ใู หค้ วามหมายของ “การถา่ ยภาพ” และ “ภาพถ่าย” ไวห้ ลายทัศนะ เช่น ในพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานใหค้ วามหมายของคำ�วา่ “ถา่ ยภาพ” ว่า “การ จำ�ลองหรอื บันทกึ ภาพด้วยวิธฉี ายเงาบนแผน่ วสั ดไุ วแสงเช่นฟิล์มกระจกถา่ ยรูป” ในพจนานุกรมศลิ ปะกบั ภาพถา่ ยใหค้ วามหมายของ “ภาพถ่าย” วา่ “ภาพถ่าย เปน็ กระบวนการวาดภาพ ซึ่งใช้วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ผลติ ภาพดว้ ยอารมณข์ อง ศลิ ปนิ โดยอาศยั แสงสีและเงา ผสมผสานกบั วธิ ีการทางฟสิ ิกสแ์ ละเคมี ทำ�ให้เกดิ การ ถา่ ยทอดทางอารมณ์ ความรู้สกึ และค่านิยมไปสู่ผไู้ ดพ้ บเหน็ ” สารานกุ รมการสื่อสาร (Encyclopedia of Communication) “ภาพถ่ายคอื สอ่ื กลางของการถา่ ยทอดอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ความรู้ และประสบการณ์ของ กระบวนการส่ือสาร” ไมว่ า่ ความหมายจะเป็นเชน่ ไรนน้ั โดยรากศัพทจ์ รงิ ๆ แลว้ คำ�ว่า “การถา่ ยภาพ” ภาษาองั กฤษใชค้ ำ�วา่ “Photography” มาจากภาษากรีก ซ่งึ แยกค�ำ และความ หมายเป็น PHOS หรือ PHOTOS และ Light (แสง) GRAPHOS = to write (การ เขียน) PHOTOGRAPHY จงึ หมายถงึ “การเขยี นด้วยแสงสว่าง”

บทท่ี 1 ความหมายและความสำ�คญั ของการถ่ายภาพเพือ่ การส่อื สาร 3 ความส�ำ คญั ของการภาพถา่ ย ความส�ำ คญั ของภาพถ่าย เพราะภาพถ่ายเปน็ ภาษาสากลประกอบกบั ปจั จบุ นั เทคโนโลยีดา้ นการถ่ายภาพได้ พฒั นากา้ วไกลไปมาก การถ่ายภาพจงึ ไม่ใชเ่ รื่องยากอกี ตอ่ ไป ภาพถา่ ยจงึ เขา้ มามีบทบาทอย่าง สำ�คญั ในชวี ติ ประจำ�วนั ของมนษุ ย์ นับแต่ต่นื นอนจนเข้านอนอกี คร้งั ท้งั ยังมีอิทธิพลตอ่ การด�ำ รงชีวติ ตอ่ แนวคดิ สรา้ งประชามติให้ เกิดขึ้นในสังคม เฉพาะอยา่ งยิง่ การเป็นตัวชี้น�ำ ให้คนมีความเหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั กับเหตกุ ารณ์ใดเหตุการณ์หนง่ึ ทเ่ี กิดขนึ้ ซ่ึงเมอ่ื ผพู้ บเห็นแลว้ เกดิ ความรู้สึกหรอื อารมณ์ร่วมได้ การถา่ ยภาพจึงมีประโยชนอ์ ยา่ งมหาศาลกบั สงั คมโลกปจั จบุ นั ซึง่ อาจจะสรปุ อย่าง กวา้ ง ๆ ได้ดงั นี้ 1. เปน็ ส่อื ในการใหข้ ้อมูลตามความเปน็ จรงิ ตามความหมายนห้ี มายถงึ เฉพาะ การ ใช้ภาพถ่ายในการสอื่ ความหมายเพื่อบอกหรืออธิบายเร่ืองราวหรอื เหตกุ ารณ์ ท่เี กิดขน้ึ โดยเปน็ ไปตามข้อเทจ็ จรงิ ท่เี กิดขนึ้ ณ ขณะนน้ั อาจเปน็ ภาพในหน้า หนังสือพิมพ์ วารสาร ท่ีเสนอข่าว หรือเหตุการณ์ เพอื่ ใหผ้ ูด้ ไู ด้เข้าใจ รวมไปถงึ ภาพ ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ภาพวสั ดอุ ุปกรณ์ กลไกต่าง ๆ ท่ี ตอ้ งการสอ่ื ให้เหน็ รูป ร่าง ลกั ษณะที่ถูกตอ้ ง หรือแม้แตภ่ าพที่ใช้ในวงการศกึ ษาทีม่ จี ดุ มุ่งหมายใหญเ่ พอื่ ให้ผู้ ดรู ้แู ละเข้าใจเพมิ่ มากขนึ้ กวา่ การอ่าน เชน่ ภาพขน้ั ตอนการท�ำ งานอยา่ งใดอย่างหน่ึงท่ี สลับซับซอ้ น ภาพถา่ ย X-ray ทีใ่ ช้ในวงการแพทย์ หรอื ภาพถ่ายทีใ่ ช้การตดั สนิ เกมกฬี า ทีไ่ ม่สามารถตัดสนิ ผลไดด้ ว้ ย ตาเปลา่ อาจเนอ่ื งจากเขา้ เส้นชยั พรอ้ มกันหรอื สูสกี นั มาก 2. เปน็ การบนั ทกึ ขอ้ มลู เรื่องราวเพื่อเปน็ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ เปน็ การ ถ่ายทอด ขอ้ มูล ซง่ึ บางครง้ั อาจจดั เกบ็ ในลักษณะของไมโครฟลิ ์ม ภาพถา่ ยในลักษณะ น้มี ีความส�ำ คัญต่อการ สืบทอดประเพณแี ละวฒั นธรรม และการด�ำ รงชวี ิตของคนใน สังคมและเป็นประโยชน์ตอ่ การสบื คน้ เรื่องราว ต่าง ๆ ในวงการศกึ ษา เชน่ ภาพวัด ปราสาท ราชวงั สถานที่ บุคคลส�ำ คญั เหตุการณส์ ำ�คญั หนังสอื ตา่ ง ๆ เรามักพบเห็น ภาพถ่ายในลกั ษณะนีจ้ ากนิทรรศการภาพถ่ายทางประวตั ิศาสตร์

4 บทที่ 1 ความหมายและความสำ�คญั ของการถา่ ยภาพเพ่อื การสอื่ สาร 3. เป็นการสอื่ ความหมายในแง่ของความบนั เทิง ภาพถา่ ยประเภทน้เี ปน็ ภาพ ทแ่ี สดง ความสวยงาม เชน่ ภาพดอกไม้ วิวทวิ ทศั น์ สถานที่ ภาพบันทึกการทอ่ งเที่ยว ภาพถา่ ยครอบครัว เร่ืองราว ที่สนุกสนานพงึ พอใจ ปัจจบุ นั มกี ารใช้ภาพเปน็ สื่อเพ่ือ ความบนั เทงิ หลากหลายรปู แบบ ท้ังวารสาร นติ ยสารหนงั สอื พิมพ์ โปสเตอร์เชญิ ชวน สอื่ โฆษณาประชาสมั พันธ์ แมก้ ระทงั่ การพิมพภ์ าพถา่ ยลง ในบรรจุภณั ฑ์ ต่าง ๆ รวมไป ถึง วิดโี อ ท่ีดจู ากโทรทัศนเ์ ป็นประจ�ำ และภาพยนตรท์ ่ัวไปลว้ นแตเ่ ป็นรปู แบบของการ ใช้ภาพ ในการสอื่ ความหมายโดยเฉพาะในแงข่ องความบนั เทิง 4. เปน็ การส่อื ให้เห็นถึงความร้สู กึ นึกคิดของบคุ คล ภาพถ่ายในลกั ษณะนีเ้ ปน็ ภาพศิลป์ ทีม่ ีคณุ คา่ ซ่งึ ชา่ งภาพผถู้ า่ ยพยายามทจ่ี ะถา่ ยทอดความรู้สกึ นกึ คดิ ของ ตนเองให้ผดู้ ูภาพเกดิ อารมณแ์ ละ ความรูส้ ึกคล้อยตามทช่ี ่างภาพตอ้ งการ ผ้ถู ่ายภาพ จะพยายามหลีกเลีย่ งการถา่ ยภาพในลักษณะการให้ ขอ้ มูลจรงิ หากมุมมองภาพทเ่ี ป็น จรงิ ดไู ม่สวยงามไม่สอ่ื ความร้สู ึกทางอารมณท์ ่ีตอ้ งการ ช่างภาพจะพยายามเลอื กมุมอ่นื หรือรอจงั หวะเวลาใหไ้ ด้ภาพทต่ี ้องการ การถา่ ยภาพประเภทน้ี ผู้ถา่ ยจะตอ้ งเป็น ผู้ทีม่ ี ความสามารถ มีประสบการณ์ และมคี วามพยายามอย่างมาก 5 .เป็นการสื่อแห่งการค้นควา้ วิจัย เพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของมนุษย์จาก เทคโนโลยี ดา้ นการถา่ ยภาพท่ีพฒั นาข้ึนมาก ท�ำ ให้ภาพถ่ายไดเ้ ข้ามามบี ทบาทอยา่ ง ส�ำ คญั ในการคน้ คว้าวิจัยในทาง วทิ ยาศาสตร์ ภาพพืชและสัตว์เล็ก ๆ ทีม่ องดว้ ยตา เปล่าไมเ่ หน็ ภาพช้นิ สว่ นในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทมี่ ีขนาด เลก็ มาก ๆ ปัจจบุ นั สามารถ ขยายใหใ้ หญ่ข้ึนได้หลายพันเท่าเพอ่ื ให้มนุษย์ได้ศกึ ษาค้นคว้าหาตน้ เหตุ ความ เปน็ มา ของการเกดิ โรคตา่ ง ๆ 6. การบำ�บดั รกั ษา ชว่ ยใหม้ นุษยม์ อี ายุยืนยาวขึน้ รวมไปถึงเทคโนโลยีกลไก คอมพวิ เตอร์ตา่ งๆ มีความสะดวกตอ่ การนำ�ไปใช้มากข้นึ

บทที่ 1 ความหมายและความส�ำ คัญของการถ่ายภาพเพ่อื การส่อื สาร 5 ทฤษฎีของการส่ือสาร (Theory of communication) หลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 2 มหาวิทยาลยั ในสหรฐั ไดพ้ ฒั นาการศึกษานิเทศศาสตร์ ทเ่ี น้นสอนการปฏบิ ตั ิงานทางวชิ าชพี (professional practice) ไปสู่การศกึ ษาวิจัย เพื่อสรา้ งทฤษฎีแนวปรัชญาวทิ ยาศาสตร์ โดยแรงผลักดนั สว่ นหน่ึงจากอทิ ธิพลทาง ปัญญา (intellectual influence) ของนักวชิ าการทอ่ี พยพมาจากยโุ รป อาทิ ลูอนิ และลาซารส์ เฟลดท์ ฤษฎีของการส่อื สารจึงเริม่ กอ่ ต้งั ขนึ้ โดยค่อย ๆ แยกจากทฤษฎี ทางสงั คมวทิ ยา จติ วทิ ยา และภาษา กลายมาเป็นศาสตร์ใหมใ่ นตวั ของมันเองทีเ่ รียก ว่า การสอ่ื สารมวลชน (mass communication study) ม่งุ วจิ ัยผลของสื่อมวลชนทมี่ ี ตอ่ การเมอื ง สงั คม และวฒั นธรรม เราเรยี กทฤษฎแี นวปรัชญาวิทยาศาสตร์ในระยะเริ่ม แรกน้วี า่ ทฤษฎีการสือ่ สารมวลชน (Mass Communication Theory) ซง่ึ จะเห็นได้ ชัดจากผลงานของวลิ เบอร์ ชรามม์ เมลวิน เดอเฟอร์ และเดนสิ แมคเควล ทฤษฎีสัญวิทยาและการสรา้ งความหมาย ตามแนวคิดของส�ำ นกั โครงสร้างนยิ ม สญั ญะ (sign) และวัฒนธรรม (culture) เปน็ เรอ่ื งเดยี วกัน (culture is sign system)วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ลว้ นอยใู่ นรปู ของสัญญะ ท่ีมคี วามหมายจากการประกอบสรา้ งทา่ มกลางบริบททางสังคม (กาญจนา แก้วเทพ: 2547) เฟอรด์ ินันด์ เดอ โซซูร์ (Frdinand de Saussure) แบ่งกระบวนการสร้าง ความหมายของสัญญะออกเป็น 2 สว่ น ส่วนแรกคอื ตวั หมาย (Signifier) ซึ่งเป็นรูป แบบทางกายภาพหรือสง่ิ ทีร่ บั ร้ไู ด้จากประสาทสมั ผัส เชน่ คำ�ทถี่ กู เขยี นเส้นตา่ ง ๆ ใน หน้ากระดาษทกี่ อ่ ให้เกิดภาพวาด รูปภาพ หรือเสยี ง ส่วนท่สี องคอื ตัวหมายถงึ (Sig- nified) คอื สิง่ ทถ่ี กู หมายถงึ โดยตัวหมาย ตามบริบททางวัฒนธรรมทถ่ี ูกสรา้ งขึ้นสญั ญะ (ไชยรัตน์ เจริญสนิ โอฬาร:2545)

6 บทท่ี 1 ความหมายและความสำ�คญั ของการถา่ ยภาพเพือ่ การสอื่ สาร สัญญะเปน็ เร่ืองของการตกลงรว่ มกนั และการเขา้ ใจรว่ มกันของคนในสังคม การ ประกอบสรา้ งความหมายนัน้ ประกอบด้วยสญั ญะ (Sign) เปน็ แบบแผนหรือรหัส (Code) และวฒั นธรรม (Culture) กลา่ วคอื เราจะรบั รสู้ ัญญะได้นนั้ มาจากการมี แบบแผนหรือรหัส (Code) ซง่ึ เป็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวหมาย (Signifier) และ ตัวหมายถึง (Signified) ท่ีเกิดข้ึนอยา่ งเป็นระบบ โดยการตีความหมายของสญั ญะ นนั้ (กาญจนา แกว้ เทพ: 2547) แนวคิดเรื่องการเข้ารหสั -ถอดรหัส สจ็วต ฮอลล์ (Stuart Hall) นักทฤษฎขี องส�ำ นักวัฒนธรรมศกึ ษา (British Cultural Studies) ได้พัฒนาแนวคิดจากสัญวิทยาโดยอธบิ ายถึงการเขา้ รหสั และ การถอดรหัส (encoding/decoding) ในการวิเคราะห์ตวั บทและบริบทตา่ ง ๆ เพื่อ ท�ำ ความเข้าใจในความเปน็ จรงิ ทางสังคมท่ีถกู ประกอบสรา้ ง (social construct of reality) เหล่าน้ัน (กาญจนา แก้วเทพ: 2547) ฮอลล์ มองผสู้ ่งสารในฐานะทไ่ี ม่ใชเ่ พยี งผทู้ ่ีทำ�หน้าท่ีส่งผา่ นข่าวสารหากแต่ เป็นผเู้ ข้ารหสั (encoder) สารท่สี ง่ ไป สารเหล่านนั้ มลี ักษณะเชงิ สญั ลกั ษณ์ (sym- bolic message) โดยกระบวนการเขา้ รหัสที่เป็นธรรมชาตทิ ง้ั ๆ ที่ “สาร” เหลา่ นน้ั เปน็ ความจรงิ ที่ถกู สรา้ งขึ้นมา (พยรุ ี ชาญณรงค์: 2546) “ในกระบวนการเข้ารหัสและการถอดรหัส ผูร้ บั สารและผ้สู ง่ สารไม่ จำ�เปน็ ตอ้ งถือรหสั เลม่ เดยี วกนั การถอดรหสั ทผ่ี ิดเพ้ยี นไปจากความตั้งใจของผู้ สง่ สารถือว่าเปน็ กฎของการส่อื สารที่ไมใ่ ชก่ ารถอดรหัสท่ผี ดิ พลาด แตเ่ ป็นพียง การถอดรหสั ท่แี ตกต่างไปจากฝ่ายผสู้ ง่ เทา่ นัน้ ”

บทที่ 1 ความหมายและความสำ�คัญของการถา่ ยภาพเพ่อื การส่อื สาร 7 ภาพถา่ ยกับการสอื่ ความหมาย สภุ าษติ จนี บทหน่งึ กล่าววา่ “ภาพเพยี งภาพเดยี วดีกว่าค�ำ พูดพันค�ำ ” (a picture says more than a thousand words) หรือในภาษติ ของคนไทยทว่ี ่า “สิบปากว่า ไม่เท่าตาเหน็ ” หมายความถงึ วา่ การส่ือความหมายทางสายตาย่อม ชัดเจนเข้าใจไดแ้ จม่ แจ้งมากกวา่ การสอ่ื ดว้ ยภาษาหนังสือและคำ�พดู ท่ีเปน็ เชน่ นี้ก็ เพราะวา่ การท่ีมนุษย์สอื่ สารกันด้วยภาษาหนังสอื หรอื คำ�พดู นัน้ จ�ำ เป็นท่ีจะต้องมี การแปลความหมายเป็นภาพจนิ ตนาการขนึ้ ไปในสมองเสยี กอ่ นจึงจะทำ�ความเข้าใจ กับส่ิงเหลา่ น้นั ได้



บทท่ี 2 รูปแบบการถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร 8 บทท่ี 2 รูปแบบการถ่ายภาพเพอื่ การสือ่ สาร

9 บทท่ี 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพอ่ื การสือ่ สาร บทท่ี 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพือ่ การส่ือสาร “การถ่ายภาพเปน็ งานศลิ ปะ เป็นของทม่ี ปี ระโยชน์ ขออยา่ ได้ถา่ ยภาพกนั เพ่อื ความสนกุ สนาน หรอื ความสวยงามเท่าน้ัน จงใช้ภาพใหเ้ กดิ คณุ ค่าแกส่ งั คม ให้เป็นประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม งานศลิ ปะจะชว่ ยพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้อกี แรงหน่ึง” พระราชด�ำ รสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี ๙ พระราชทานแก่คณะกรรมการบริหารสมาคมถา่ ยภาพแหง่ ประเทศไทยในพระบรมรา ชูปถัมป์ ภาพถ่ายเป็นการส่อื สารท่นี ยิ มใช้กันมากในปัจจุบนั การจะท�ำ หนา้ ทสี่ ่งผา่ น ขา่ วสาร ขอ้ มูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรสู้ ึก อารมณห์ รือทศั นคติ ผา่ นสอ่ื ต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ ช่องทางไปส่เู ป้าหมาย โดยมภี าพถา่ ยมีบทบาทสำ�คญั ในการน�ำ มาใช้งาน ท้ัง การสอ่ื ความหมายดว้ ยตนเองและการน�ำ ไปใช้ร่วมกับส่ือประเภทต่าง ๆ ดงั น้ัน นกั นิเทศศาสตร์หรือนักการสอ่ื สารต้องทำ�ความเขา้ ใจกบั รูปแบบการถ่ายภาพเพอื่ งานดา้ น การสอื่ สารรวมทง้ั คุณลักษณะที่จ�ำ เป็นของช่างภาพ เม่อื พจิ ารณาบทบาทการถา่ ยภาพท่ถี กู น�ำ ไปใช้เพ่อื การส่อื สาร จะเห็นได้วา่ การ ถา่ ยภาพครอบคลุมงานเกือบทกุ แขนงสามารถสรปุ ได้ 4 รูปแบบ ดังน้ี

บทท่ี 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพอ่ื การสอื่ สาร 10 การถา่ ยภาพขา่ ว (News photography) ขา่ ว คอื การรายงานข้อเทจ็ จรงิ ของเหตกุ ารณท์ ่เี กิดขน้ึ ตลอดจนความคดิ เห็นบคุ คลส�ำ คัญ ซึ่งเป็นเรื่องราวทนี่ า่ สนใจ ซึง่ ประชาชนให้ความสำ�คัญและสนใจ รวมทง้ั มีผลกระทบตอ่ คนจ�ำ นวนมาก ในแต่ละวันมีเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ เกดิ ขนึ้ มากมาย หนังสือพมิ พจ์ งึ ตอ้ งพิจารณาเพื่อคดั เลอื กเหตุการณ์ ทคี่ วรจะเปน็ ข่าวแลว้ จึงรายงาน เหตุการณน์ นั้ ไปให้ผอู้ า่ นไดร้ บั ทราบ องค์ประกอบทสี่ �ำ คญั ของเหตุการณท์ ี่จะเปน็ ข่าวมี ดังน้ี องค์ประกอบของขา่ ว (news element) 1.ความรวดเร็ว (Immediacy) 2.ความใกลช้ ิด (Proximityor or Nearness) 3.ความส�ำ คญั หรือความเดน่ (Prominence) 4.ผลกระทบ (ConseQuence or Impact) 5.ความมีเงอ่ื นงำ� (Syspence or Mystery) 6.ความผดิ ธรรมดา (Oddity or Unusualness) 7.ความขัดแย้ง (Conflic) 8.องค์ประกอบทางเพศ (Sex) 9.อารมณ์ (Emotion) 10.ความกา้ วหนา้ (Progress or Development) 11.ความตลกขบขันของชีวติ (Amusement or Drama)

11 บทท่ี 2 รูปแบบการถ่ายภาพเพอื่ การสอ่ื สาร การภาพถา่ ยสารคดี (Documentary photography) สารคดี หมายถงึ งานเขียนเกีย่ วกบั เร่อื งจรงิ ผ่านกลวิธกี ารเขียนของผู้เขียนเพ่ือ มงุ่ ใหส้ าระความรูแ้ กผ่ ู้อา่ นเป็นประเด็นหลกั และความเพลิดเพลินเปน็ ประเดน็ รองโดย น�ำ เสนออย่างมศี ลิ ปะหลกั การอ่านสารคดี การอา่ นสารคดมี ีจดุ ม่งุ หมายเพอื่ ให้ไดส้ าระ ความรแู้ ละความเพลิดเพลนิ ดังนนั้ ผอู้ า่ นควรอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ศกึ ษาความ สมั พนั ธข์ องเนื้อหาสาระ การใช้ภาษา และเจตคติของผเู้ ขียน การอา่ นสารคดมี หี ลกั การดงั นี้ 1.จับใจความสำ�คัญของเรอ่ื ง วเิ คราะหค์ วามหมายของถอ้ ยคำ�เพ่ือหานัยสำ�คญั ท่ี แฝงอยู่ และสรปุ ใจความส�ำ คญั ของเน้ือหาน้นั โดยจัดล�ำ ดบั ประเด็นตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสม 2.วเิ คราะห์ความเหน็ ของผถู้ า่ ยภาพ ผูอ้ ่านควรแยกข้อเทจ็ จรงิ และความคดิ เห็นของผู้ ถา่ ยภาพออกจากกันโดยใชว้ จิ ารณญาณของตนเองว่าเหน็ ดว้ ยกับทรรศนะของผ้ถู า่ ยภาพ หรอื ไม่ และวิเคราะห์ตวั ผถู้ า่ ยภาพ โดยศกึ ษาจากลลี าการถ่ายภาพ การใช้ภาษา วิธี การบรรยายข้อมูล การเล่าเรือ่ ง เล่าประสบการณ ์ รวมท้ังอารมณ์ท่แี สดงออกมาใน เร่ือง 3.วิเคราะห์กลวธิ ีการถา่ ยภาพ ตงั้ แต่การตงั้ ชอ่ื เรอ่ื งว่าดึงดดู ความสนใจของผู้ อา่ นหรือไม่ การวางโครงเรื่อง วธิ กี ารดำ�เนนิ เรอื่ ง และผู้เขยี นไดส้ รุปโดยเสนอแนวคดิ อะไรแก่ผู้อา่ นบ้าง 4.วิเคราะห์ความสัมพนั ธข์ องเนือ้ หาสาระกับการใช้ภาษา ควรคิดว่าสารคดเี ร่ือง น้นั เสนอขอ้ มลู ต่าง ๆ ข้อเท็จจริงและความคดิ เห็นกลมกลนื กันหรอื ไม ่ มกี ารใชภ้ าษา และโวหารเหมาะสมกับเน้อื เรอ่ื งหรือไม่การอา่ นสารคดีโดยใช้วิจารณญาณดังกล่าว จะ ท�ำ ให้ผู้อา่ นเข้าใจสาระสำ�คัญของเรือ่ ง ได้แนวคิดจากการอ่าน สามารถนำ�ความร้ ู ความคิดเห็นไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการดำ�เนนิ ชีวิตและการประกอบอาชีพได้ท้ังทาง ตรงและทางออ้ ม

บทท่ี 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพอื่ การส่ือสาร 12 การถ่ายภาพสารคดี หมายถงึ การการถา่ ยภาพเรือ่ งราวท่นี ่าสนใจน�ำ เสนอ ความน่าสนใจของเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ด้วยภาพถา่ ย การถ่ายภาพสารคดี จงึ เป็นการรวบรวม การถ่ายภาพทุกแนวเอาไวด้ ้วยกนั ทัง้ ภาพวิวทิวทศั น์, สถาปตั ยกรรม,Life, Macro, Portrait ฯลฯการถา่ ยภาพสารคดี แบง่ ออกเปน็ 3 รูปแบบ 1. ภาพชดุ ของสถานทเ่ี ปน็ ภาพท่สี ือ่ ถึงสถานทีน่ ัน้ หรือ สถานทใ่ี นจังหวัดนัน้ ใน มุมมองตา่ ง ๆแล้วนำ�มาจดั โดยท่เี น้ือหาในภาพยงั คงสอ่ื ถึงสถานทนี่ ัน้ ๆ อยู่ ภาพ : วัดพระธาตุช่อแฮ จ.แพร่ 2. ภาพทเ่ี น้นเฉพาะเร่ืองท่ีสนใจจุดประสงคเ์ พื่อน�ำ เสนอเรอื่ งราวที่สนใจเท่าน้นั ไมก่ �ำ หนดอยูเ่ พยี งแค่สถานทใ่ี ดสถานท่หี น่ึงหรืออาจจะก�ำ หนดสถานที่ก็ได้ ทง้ั น้ีขนึ้ อยู่ กับจุดประสงค์ เปา้ หมายหลกั ในการน�ำ เสนอเรื่องราวน้ัน ๆ รปู แบบการถา่ ยภาพอาจ จะไม่หลากหลาย แต่จะหลากหลายดว้ ยจำ�นวนของ Subject ภาพจะหลากหลายด้วย Subject แตภ่ าพจะคล้ายคลึงกัน ดังน้ันจึงต้องพยายามใส่เอกลักษณ์ทีเ่ ป็นของตวั เองใน การถา่ ยภาพ หรอื ทา่ ทาง มุมมองทีแ่ ปลกตาออกไป เช่นภาพชุดพระ หรือชุดวัด เป็นต้น

13 บทที่ 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพอ่ื การสอ่ื สาร ภาพ : ภาพโบราณสถานท่ีอทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั 3. ภาพชดุ ในการเดินทาง Trip หนึ่งเป็นส่วนหน่งึ ขอรูปแบบภาพถา่ ยสารคดีของ สองแบบขา้ งตน้ แต่มีเงอ่ื นไขเรื่องเวลาเขา้ มาเก่ยี วข้อง นำ�เสนอภาพภาพถา่ ยในช่วงเวลา ส้ันๆ ของสถานท่ีหนึ่งๆ อาจจะกำ�หนดรูปแบบการถา่ ยภาพอย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรอื นำ� เสนอภาพส่ิงๆ ของสถานทแี่ หง่ หน่ึงในช่วงเวลาน้ันก็ได้ ภาพ : ทงุ่ ทานตะวัน

บทท่ี 2 รูปแบบการถ่ายภาพเพอื่ การสือ่ สาร 14 เทคนิคการสร้างสรรคภ์ าพสารคดี 1.สร้างเอกลักษณ์ในการถา่ ยภาพเปน็ ของตัวเอง- การเลอื กใช้อุปกรณ์เพื่อใหไ้ ด้ ภาพท่แี ปลกตา ,มมี มุ มองเฉพาะตวั 2.เตรยี มพรอ้ มกบั การถ่ายภาพเสมอ ไมพ่ ลาดโอกาสส�ำ คัญ ถ่ายภาพแนว Life ควรตดิ เลนส์ Wide ถ่ายภาพนกและสัตว์ป่าควรเลนสเ์ ทเล เพือ่ ให้สามารถบันทึกภาพได้จากระยะไกล การถา่ ยภาพเพื่อการโฆษณา การถ่ายภาพโฆษณาคือ การถ่ายภาพของสนิ ค้าหรือบริการที่ตอ้ งการขายให้ เพือ่ นำ�ภาพถ่ายไปใช้โฆษณาหรือบริการนน้ั ๆ ให้ประชาชนทราบเพื่อให้รู้จัก การถ่ายภาพ โฆษณาจึงเปน็ เรอ่ื งทต่ี ้องใช้ความรู้ต่างๆ ทางดา้ นการถา่ ยภาพมาผนวกกันเพ่อื ผลติ ภาพ ใหอ้ อกมาดีและเปน็ ภาพท่มี ีลกั ษณะสรา้ งสรรค์ แปลกใหมอ่ ย่ตู ลอดเวลา ภาพโฆษณามี หลายลกั ษณะ อาจเปน็ ภาพถ่ายเฉพาะสนิ ค้าเป็นภาพของสินค้าทีก่ ำ�ลงั มผี ู้ใช้ เป็นภาพ สินคา้ ท่ีมีอยา่ งอ่ืนประกอบเพ่อื สร้างเรือ่ งราวใหม้ ากขนึ้ เปน็ ภาพถ่ายภายในสถานท่ีหรอื ภายในสตูดโิ อตัวสนิ ค้าและวัตถปุ ระสงค์ของผูท้ �ำ โฆษณาเปน็ ข้อก�ำ หนดแนวทางของการ ถ่ายภาพเปน็ ประการแรก ประการตอ่ มาคือ ถ้าเปน็ ภาพท่ีจะนำ�ไปพมิ พโ์ ฆษณาขาวด�ำ กค็ วรถา่ ยเปน็ ภาพขาวด�ำ ถา้ จะพมิ พ์เปน็ ภาพสกี ็จ�ำ เปน็ ต้องถา่ ยเปน็ ภาพสไลด์สี ภาพ โฆษณาท่ีจะน�ำ ไปพมิ พ์ขนาดใหญ่ ซ่งึ เมอ่ื ขยายเป็นภาพใหญส่ �ำ หรับพิมพแ์ ล้วคุณภาพ ของภาพยงั คงสวยงามดอี ยู่ รายละเอียดตา่ งๆ ดงั กล่าวมาน้กี เ็ ปน็ แนวทางท่จี ะถ่ายภาพตอ่ ไปโดยก�ำ หนด ว่าจะถา่ ยในสถานท่ีหรือนอกสถานท่ีการถา่ ยภาพประเภทแสดงตวั สินคา้ เพ่อื มงุ่ หวงั ในคนรูจ้ กั และจดจ�ำ สินคา้ ได้น้ี จะตอ้ งถ่ายภาพในระยะใกลแ้ ละเนน้ ความสำ�คญั ท่ีตวั สินคา้ ใหเ้ หน็ อย่างชดั เจนมากทสี่ ดุ และวิธีการถ่ายภาพมกั จะถา่ ยทำ�ในสตดู ิโอถ่ายภาพ ซึง่ สามารถจดั แสงและจดั องคป์ ระกอบของภาพไดด้ ี ภาพโฆษณาทเ่ี กีย่ วกับตัวบคุ คล หรือมีนายแบบ นางแบบอยใู่ นภาพด้วย

15 บทท่ี 2 รปู แบบการถ่ายภาพเพอื่ การส่ือสาร การถ่ายภาพประเภทนีน้ อกจากทุกส่งิ ทุกอย่างท่ปี รากฏในภาพจะตอ้ งเรยี บร้อยสวยแล้ว สิ่งส�ำ คญั ทีส่ ดุ คอื กิริยาทาทางของผู้เป็นแบบ และอารมณค์ วามรสู้ กึ ของคนในภาพ ซงึ่ มีความส�ำ คญั ตอ่ ตวั สินค้าทจ่ี ะโฆษณามากย่ิงกวา่ สงิ่ ต่างๆ ทีต่ ้องจดั เตรียมอยา่ งละเอยี ด ถีถ่ ว้ นเสยี อีก อารมณค์ วามรู้สกึ ของผู้เป็นแบบน้นั หากเป็นนายแบบหรือนางแบบอาชีพก็ คงไมย่ าก เน่ืองจากสามารถก�ำ กบั การแสดงออกได้ หากเป็นผทู้ ไ่ี ม่เคยผา่ นงานด้านน้ีมา กอ่ น การสร้างความสนิทสนมคุน้ เคยและการใหค้ วามเปน็ กันเองจะสรา้ งบรรยากาศใน การท�ำ งานใหง้ า่ ยขน้ึ มาได้ การถา่ ยภาพโฆษณา ในการโฆษณาสินคา้ ต่างๆ โดยเฉพาะในหนังสือพมิ พ์และนติ ยสารมกี ารใช้ ภาพถา่ ยเพอื่ ให้เหน็ ลกั ษณะของสนิ ค้าอย่างสมจรงิ สมจังเป็นจ�ำ นวนมากและใชเ้ ทคนคิ ตา่ งๆ ในการถา่ ยภาพเพ่อื ใหเ้ หน็ ว่าสนิ ค้าในภาพโฆษณาน้ันนา่ ใช้และน่าเช่อื ถอื โดยอาศัย คณุ สมบัตพิ ิเศษต่างๆ ของอุปกรณ์ถา่ ยภาพและการจดั แสงสเี ขา้ มาช่วยการโฆษณามี วัตถุประสงคเ์ พ่ือจะขายสินค้าหรือบรกิ ารให้ไดม้ ากทีส่ ดุ การโฆษณาสำ�หรับสินคา้ หรือ บริการนน้ั ต้องพยายามใหค้ นรจู้ กั สินค้าหรือบรกิ าร หรือท�ำ ใหผ้ ้คู นเหน็ วา่ มีคนอ่ืนใช้อยู่ เพ่ือใหเ้ กิดการเอาอย่าง ตลอดจนการพยายามให้เกิดการจำ�จำ�สนิ ค้าหรอื บริการ จากวธิ กี ารท่ีจะโฆษณาให้ประสบผลดงั กลา่ ว ผ้ทู จ่ี ะท�ำ โฆษณาประเภทท่มี อง เห็นด้วยตาให้ไดผ้ ลดีวา่ โฆษณาดว้ ยวธิ อี ืน่ ซงึ่ อาจบอกโดยการใช้คำ�พูดใช้ขอ้ ความ ลว้ น สามารถทำ�ใหค้ นทราบเรือ่ งนั้นๆ ได้ แตก่ ารทราบเรื่องดงั กล่าวโดยการอ่านยังได้ผลนอ้ ย กว่าการให้ทราบโดยการมองเห็นด้วยตามากกว่าการไดย้ นิ ด้วยหู การใชภ้ าพถ่ายโฆษณา จึงเป็นวธิ โี ฆษณาทีไ่ ด้ผลดีกวา่

บทที่ 2 รปู แบบการถ่ายภาพเพอ่ื การสอื่ สาร 16 เทคนคิ การถา่ ยภาพหลายประการชว่ ยใหก้ ารถ่ายภาพโฆษณาได้ดีขนึ้ ภาพถ่าย ท่จี ะใชไ้ ด้ดใี นการโฆษณาตอ้ งเปน็ ภาพทเี่ หมือนจรงิ เชน่ ถ่ายทอดภาพสนิ ค้าได้สวยงาม น่าชอ้ื เทคนิคทางการถา่ ยภาพสามารถสรา้ งสรรค์ข้นึ ได้ สามารถเลือกใชอ้ ุปกรณ์ท่ี เหมาะสมเพือ่ ให้ได้ภาพทด่ี ี อาคารใหญโ่ ตควรใชก้ ล้องถ่ายภาพประเภทกล้องววิ ถ่ายภาพ ออกมาจะได้ภาพทโี่ ออ่า วัตถุขนาดเล็ก เช่น เครอ่ื งประดับเพชรพลอยต้องใชอ้ ปุ กรณ์อกี แบบหนง่ึ การถ่ายภาพทผ่ี ลิตขน้ึ เพ่ือการโฆษณา เปน็ ภาพถา่ ยที่มีแนวคิดกา้ วลำ้�นำ�สมยั กว่าการประเภทอ่นื ๆ ตอ้ งใช้เทคนิคและวิธกี ารทีแ่ ปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา ผูท้ ม่ี ฝี มี อื ใน การถา่ ยภาพโฆษณามกั เปน็ ผทู้ ี่ไม่หยดุ น่ิง มีการศึกษาคน้ คว้าทดลองพยายามสร้างสรรค์ งานให้แปลกใหม่อยู่เสมอ จงึ เป็นผลสบื เนื่องไปถงึ การใชภ้ าพเพือ่ การโฆษณาท่ไี ดภ้ าพที่ สวยงาม แปลกตาน่าสนใจช่วยให้การโฆษณาเปน็ ไปอยา่ งไดผ้ ล ภาพถ่ายเพื่อการโฆษณามคี วามสำ�คญั และจำ�เป็นต่อสนิ คา้ และบริการ เพราะ จะชว่ ยให้สนิ ค้าและบริการเป็นทีร่ ู้จัก โดยท่ผี ้คู นไดท้ ราบถงึ คุณประโยชน์ความประทบั ใจ เช่อื มน่ั ที่จะชอ้ื หรือจดจ�ำ สินค้าและบรกิ ารดังกลา่ วเพราะได้เห็นภาพถ่ายในลักษณะ เหมอื นจรงิ ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดความร้สู ึกวา่ ดนู ่าเชื่อถือและสามารถพิจารณาไดโ้ ดยละเอียด รวมท่ังภาพถ่ายเพอ่ื การโฆษณาจะช่วยใหส้ นิ ค้าหรือบริการนน้ั ดูดีน่าใชเ้ พื่อเพ่มิ ยอดขาย ใหส้ ูงขึน้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการการถา่ ยภาพเพือ่ การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ ในการประกอบธุรกิจโฆษณาหรอื ประชาสัมพนั ธ์ไมว่ า่ จะเปน็ ประเภทใด ยอ่ มมี การกำ�หนดวตั ถุประสงค์ ดังน้ี 2.1 มีวตั ถุประสงค์หลกั คอื ต้องการสอื่ สารโดยทางตรงกับผู้รับสารและเข้าใจใน วตั ถปุ ระสงค์ของการสื่อสารท่ีตรงกนั

17 บทท่ี 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพ่ือการส่ือสาร 2.2 ต้องการให้หลกั และทฤษฏีในการส่อื สารมน่ั คง ถงึ ผทู้ กุ คนที่เหน็ หรอื รบั ร้ใู น ขา่ วสาร ดังนนั้ จงึ ตอ้ งศกึ ษา วางแผนและก�ำ หนดให้เปน็ ระบบระเบยี บ 2.3 การยอมรบั และชือ่ เสยี ง ถ้ามชี อ่ื เสียงเป็นท่ีรจู้ กั ยอ่ มไดร้ บั ความไวว้ างใจจาก ผู้รบั ขอ้ มูลข่าวสารท้ังหมดหรือผู้บรโิ ภค สรา้ งความรู้สกึ ท่ดี ีให้กบั ผู้ใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร 2.4 ความอยู่รอดของธุรกิจต่าง ๆ ทเ่ี ป็นผู้ใหข้ ้อมลู ขา่ วสารหรือภาพ ต้องการผล ตอบแทน คอื ความเช่อื มัน่ ของผู้รับสาร บทบาทของภาพถ่ายตอ่ การโฆษณา ภาพถ่ายที่มีบทบาทต่อการโฆษณา ภาพถ่ายนำ�ไปใชห้ ลายลกั ษณะได้แก่ 1. ใชภ้ าพถา่ ยเป็นส่อื โฆษณา อัดขยายภาพให้มีขนาดตา่ ง ๆ โดยการใช้ กระดาษอดั รปู ขนาดโปสการ์ดจนถงึ ขนาด 1 x 10 เมตร 2. ใช้สิ่งพมิ พเ์ ปน็ สอ่ื โฆษณา สิง่ พิมพ์ทีล่ งโฆษณาในหนงั สือ วารสาร นิตยสาร โบชวั ร์โปสเตอร์ รวมถงึ คทั เอาทข์ นาดใหญ่ 3. ใช้ตูไ้ ฟเป็นส่อื โฆษณา ใชต้ ามศูนยอ์ าหาร ห้างสรรพสน้ิ คา้ ต้ไู ฟจะใชก้ ารอัด ขยายภาพ จากฟลิ ม์ เนกาตีฟลงบนฟิล์ม DURATRAN เป็นภาพโปร่งใส ใสไ่ ว้ในตไู้ ฟมอง เห็นได้ชดั เจนในทมี่ ดื 4. ใช้โทรทัศน์เป็นสอ่ื โฆษณา สิ้นคา้ ทถ่ี า่ ยด้วยฟิล์มเนกาตีฟ หรือสไลดส์ ามารถ น�ำ เสนอเปน็ ภาพในจอโทรทัศน์ได้ ประเภทของภาพสินค้า 1. ภาพสนิ คา้ โดด (Product Alone) คือ การออกแบบโฆษณาโดยใช้ภาพของ สินค้าเพยี งอยา่ งเดียว โดยมีข้อความโฆษณาประกอบไดบ้ า้ งตามสมควร วัตถุประสงค์ เพอื่ ใหม้ ีลกั ษณะท่โี ดดเด่นเห็นได้ชัดเจน เปน็ โฆษณาทอ่ี อกแบบงา่ ยท่สี ุด ผ้ดู รู ู้งา่ ยเขา้ ใจ งา่ ย วา่ เปน็ โฆษณาอะไรเพราะไม่มีส่งิ มาปะปนใหส้ บั สน ย่งุ ยาก

บทท่ี 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพื่อการสื่อสาร 18 2. ภาพสินค้าพร้อมการตกแต่งประกอบ (Product in setting) คือ การโฆษณา สินค้าพร้อมองคป์ ระกอบอน่ื ๆ เชน่ ฉากหลัง (Background) หรือส่วนประกอบอนื่ ๆ ทเี่ หมาะสมกับสินคา้ นัน้ วัตถุประสงค์ เพ่ือเพิม่ บรรยากาศ เพ่มิ ความหมาย เพิม่ ความ ประทับใจแก่ภาพท่ีโฆษณายง่ิ ขึ้น 3. ภาพสนิ ค้าขณะถกู ใช้ (Product in Use) คือ ภาพโฆษณาทแ่ี สดงการใชส้ นิ คา้ เพอ่ื ใหเ้ หน็ วา่ สินคา้ น้นั ใชอ้ ย่างไรวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื เตือนใจใหน้ ึกถึงสนิ ค้า นกึ ถึงการใช้ เห็นประโยชนจ์ ากการใช้ เรา้ ใจใหเ้ กดิ ความตอ้ งการซ้อื และการที่มีภาพคนก�ำ ลงั ใชส้ นิ ค้า หรอื บรกิ ารชว่ ยเพิม่ ความมชี วี ิตชีวาใหแ้ กภ่ าพทโี่ ฆษณาย่ิงข้นึ 4. ภาพแสดงปัญหาจากการท่ีไม่ไดใ้ ช้สนิ ค้า (Problems) หรอื แสดงประโยชนท์ ี่ ได้จากการใช้สินค้า (Users) คือ การใช้ภาพโฆษณาท่ีแสดงใหเ้ หน็ อย่างเด่นชดั วา่ ถ้าไม่ ได้ใช้สนิ ค้าหรือบรกิ ารท่โี ฆษณาจะเกดิ ผลเสยี อยา่ งไร ถา้ ได้ใช้สินค้าหรือบริการทีโ่ ฆษณา แลว้ จะเกดิ ผลดีอย่างไร วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ให้ผดู้ รู งู้ า่ ยเขา้ ใจงา่ ย แสดงผลให้เหน็ ได้ชดั เจน 5. ภาพประกอบพาดหวั (Dramatizing the Headline) คือ การเลือกใช้ภาพ โฆษณาทม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งสมั พันธ์กับพาดหวั โดยตรง วัตถุประสงค์ เพื่อใหพ้ าดหวั มนี ำ�้ หนัก ไดภ้ าพพจนช์ ดั เจน เช่อื ถอื ได้ ชวนใหต้ ดิ ตามอ่านเรื่องราวรายละเอยี ดตอ่ ไป 6. ใช้ภาพประกอบข้อความโฆษณา (Dramatizing the Caption) คอื การ เลอื กใชภ้ าพโฆษณาที่มคี วามหมายเกีย่ วข้องสมั พนั ธ์กบั ขอ้ ความท่ีใชโ้ ฆษณาโดยตรง วตั ถุประสงค์ เพ่อื ให้การโฆษณานั้นนา่ สนใจ ได้ภาพพจน์ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย จำ�ง่าย 7. ภาพแสดงคณุ ภาพของสนิ ค้า (Testimonial) คอื การใชภ้ าพทแ่ี สดงใหเ้ ห็น คุณภาพของสนิ คา้ โดยสามารถถ่ายทอดออกมาเปน็ ภาพใหเ้ ห็นได้อย่างเดน่ ชัด แทนท่จี ะ ใชข้ ้อความโฆษณากลา่ วถงึ ประโยชนล์ อย ๆ วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหเ้ ปน็ หลกั ฐานเสมือน ประจักษพ์ ยานทเ่ี ชื่อถอื ได้ ยอมรับได้ 8. ภาพแสดงเร่อื งราวต่อเนอื่ งกัน (Continuous) คอื การโฆษณาทใ่ี ช้ภาพ ต่อเนอื่ งกนั เปน็ ข้ันเปน็ ตอน หรอื เปน็ ฉาก ๆ อย่างมีโครงเร่อื ง (Plot) ใชภ้ าพวาดหรือ ภาพถา่ ยกไ็ ด้

19 บทที่ 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพอื่ การสอื่ สาร 9. ภาพขยายสว่ นหนึง่ ส่วนใดของสนิ ค้าเป็นพิเศษ (Product Feature) คือ ภาพ โฆษณาท่ีประกอบด้วยส่วนทเ่ี จาะจงขยายจุดทีต่ อ้ งการเน้นออกมาใหเ้ ด่นเป็นพิเศษ เพือ่ ใหส้ ังเกตงา่ ยวา่ แตกต่างจากสนิ ค้าโดยทัว่ ไปอย่างไร วตั ถุประสงค์ เพื่อให้เกดิ ความสนใจ เป็นพเิ ศษ เปน็ จุดจงู ใจให้ตัดสนิ ใจไดง้ า่ ยเมอื จะเลอื กซอ้ื สินค้า 10. ภาพแสดงภาพพจน์ของสินคา้ หรือภาพเทียบเคยี ง (Comparison) คือ การ ใช้ภาพโฆษณาท่ีแสดงภาพพจนข์ องสิน้าว่าเปรยี บเทยี บเสมอื นอะไรวัตถุประสงค์ เพ่อื ให้ เข้าใจง่าย ได้ภาพพจน์ท่ีชดั เจน 11. ภาพโฆษณาเปรยี บเทียบ หรือภาพแสดงความแตกต่าง (Contrast) คือ การ ใชภ้ าพโฆษณาเปรยี บเทยี บ แสดงให้เห็นความแตกตา่ งของสนิ ค้าทีโ่ ฆษณากับสนิ คา้ คู่ แข่งขันว่าแตกต่างกันอยา่ งไร หรือใช้ เปรยี บเทียบสนิ ค้ายห่ี ้อเดียวกันแตต่ ่างยคุ สมยั กัน เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ การพฒั นาของสนิ ค้าว่าก้าวหนา้ เพยี งใด วัตถุประสงค์ เพือ่ แสดงส่วนดที ี่ เหนอื กว่าคแู่ ขง่ ขนั หรือสินค้าชนิดเดยี วกนั แต่แดสงให้เหน็ วา่ รุ่นใหม่ดกี ว่ารนุ่ เกา่ อยา่ งไร 12. ภาพการ์ตนู (Cartoon) คอื ภาพท่ีเขยี นขนึ้ ใหด้ ูผดิ เพ้ียนเพือ่ ลอ้ เลียน ธรรมชาติประชาชนโดยทว่ั ไปชอบการ์ตนู มาก โดยเฉพาะเดก็ ๆ วตั ถุประสงค์ เพือ่ ใหก้ ารโฆษณาดูสนกุ สนาน หรือตลกขบขัน ทำ�เร่ืองยากให้ดงู ่าย ๆ ไม่เครง่ เครยี ด เหมาะ ทจี่ ะใชโ้ ฆษณาสนิ ค้าสำ�หรับเดก็ ๆ เป็นพิเศษ 13. ภาพฝัน หรือจินตนาการ (Fantasy) คือ ภาพท่เี จาะจงสร้างขึ้นมาเพ่ือ ให้แปลก พสิ ดารกวา่ ภาพโฆษณาทัว่ ๆ ไป โดยใชเ้ ทคนิคในการผลิตหรอื ถา่ ยทำ� วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหส้ ะดดุ ตา น่าสนใจ ประทบั ใจ ลกั ษณะของสนิ คา้ ท่ีถ่าย . สินค้าท่นี �ำ มาถ่ายมหี ลายลกั ษณะท่ีตอ้ งคำ�นงึ ไดแ้ ก่ 1. รูปทรง วัตถุแบน เชน่ จาน เหรยี ญ หรือวตั ถทุ ่มี ีมติ มิ คี วามสงู ทรงเหลย่ี มไค้ งมน

บทที่ 2 รูปแบบการถ่ายภาพเพ่ือการสือ่ สาร 20 บทบาทของภาพถ่ายตอ่ การโฆษณา ภาพถา่ ยที่มบี ทบาทต่อการโฆษณา ภาพถา่ ยน�ำ ไปใช้หลายลกั ษณะดงั น้ี 1. ใช้ภาพถา่ ยเปน็ ส่ือโฆษณา อดั ขยายภาพให้มขี นาดตา่ ง ๆ โดยการใช้กระดาษ อดั รูปขนาดโปสการ์ดจนถงึ ขนาด 1 x 10 เมตร 2. ใชส้ ิ่งพมิ พ์เปน็ สอ่ื โฆษณา ส่งิ พิมพท์ ่ลี งโฆษณาในหนังสอื วารสาร นิตยสาร โบ ชวั ร์โปสเตอร์ รวมถึงคัทเอาทข์ นาดใหญ ่ 3. ใช้ตู้ไฟเปน็ สอ่ื โฆษณา ใช้ตามศนู ยอ์ าหาร หา้ งสรรพสน้ิ คา้ ตู้ไฟจะใชก้ ารอดั ขยายภาพจากฟิลม์ เนกาตีฟลงบนฟลิ ม์ DURATRAN เป็นภาพโปร่งใส ใสไ่ ว้ในตู้ไฟมอง เหน็ ไดช้ ัดเจนในที่มืด 4. ใชโ้ ทรทศั น์เปน็ สอ่ื โฆษณา สน้ิ ค้าทถ่ี า่ ยดว้ ยฟลิ ม์ เนกาตฟี หรือสไลด์สามารถ นำ�เสนอเป็นภาพในจอโทรทัศน์ได้ การถ่ายภาพเพอื่ การประชาสมั พันธ์ การถา่ ยภาพในงานประชาสัมพนั ธ์มหี ลายรปู แบบหลายลกั ษณะ ซง่ึ กข็ ้ึนอยกู่ บั ว่าเราตอ้ งการสอ่ื ความหมายอะไร หรือประชาสมั พันธ์ไปเพ่ืออะไร เพ่ือสรา้ งภาพลักษณ์ องค์กร เพอื่ โฆษณาสินคา้ ผลติ ภณั ฑ์ หรือบอกเล่าเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ในองค์กร ให้ คนภายนอกไดร้ ู้ โดยมีหลักง่าย ๆ สามารถน�ำ มาเขียนสรุปไดต้ ่อไปดังน้ี ภาพข่าวกจิ กรรมองคก์ ร มักพบภาพลกั ษณะน้ีในคอลมั นข์ า่ วหนังสอื พิมพ์ หรือวารสารภายในองค์กร บคุ คลในภาพสว่ นใหญ่มักเป็นผู้บรหิ ารระดบั สงู ดงั นนั้ ขอแนะนำ�วา่ การถา่ ยภาพ กิจกรรมขององค์กรชา่ งภาพควรร้จู กั หน้าตาของผบู้ รหิ ารรวมทง้ั บุคคลสำ�คญั ขององคก์ ร เปน็ อย่างดี และถา้ หากมกี ารเชิญสอ่ื มวลชนมาร่วมงานเราควรใหก้ ารต้อนรับในฐานะ เจ้าบา้ นทดี่ คี อยให้ความช่วยเหลือ อ�ำ นวยความสะดวกให้กับสือ่ มวลชน เช่น บอกชื่อ ต�ำ แหน่งของผบู้ ริหาร แนะน�ำ วา่ มใี ครทีม่ ารว่ มงานบ้าง และบอกกำ�หนดการของงานว่า จะมีอะไรบ้าง

21 บทที่ 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพือ่ การสอื่ สาร การให้การต้อนรบั ที่ดโี ดย การผกู มิตร ท�ำ ความรู้จกั และแนะนำ�ตวั จะช่วยลดความขัด แยง้ ในระหวา่ งถา่ ยภาพขา่ วลงได้บ้าง 2. ภาพโฆษณา เปน็ ภาพทีส่ อ่ื ความหมายเพอื่ ตอ้ งการสรา้ งแรงจงู ใจ เชน่ ภาพโฆษณาสนิ คา้ หรือบรกิ ารตา่ ง ๆ การถ่ายภาพลกั ษณะนตี้ ้องใช้ความพถิ ีพถิ นั กบั รายละเอยี ดและองค์ ประกอบต่าง ๆ ของภาพ เชน่ สถานที่ การจัดแสง การจัดฉาก เพ่อื ให้ภาพถ่ายมคี วาม สวยงามและสอ่ื ความหมายชัดเจนและจงู ใจ 3. ภาพงานพธิ ีการ สิ่งส�ำ คัญในการถา่ ยภาพงานพิธกี ารคือ ช่างภาพตอ้ งรกู้ ำ�หนดการ หรือล�ำ ดบั ขน้ั ตอนของงานเป็นอย่างดี ส่วนใหญจ่ ะเก่ยี วข้องกับพธิ กี ารทางศาสนา หรือเกย่ี วข้องกบั ประเพณวี ฒั นธรรมต่าง ๆ การถ่ายภาพกจ็ ะด�ำ เนินไปตามขนั้ ตอนของพธิ ี 4. การถ่ายภาพภาวะวกิ ฤต ิ ภาวะวกิ ฤติเป็นภาวะท่สี รา้ งความตึงเครียด เป็นภาวะที่ไม่พึงปรารถนา ซง่ึ เหตุการณอ์ าจมคี วามรนุ แรงมากหรือนอ้ ยก็ตามอาจสง่ ผลตอ่ ภาพลกั ษณห์ รือมีผลกระ ทบกับคนส่วนใหญ่ ในดา้ นการประชาสมั พันธก์ ารถ่ายภาพจะตอ้ งใชก้ ลยุทธแ์ ละวธิ กี าร ออกขา่ วเชงิ รกุ และพยายามควบคุมข่าวใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดียวกนั การถ่ายภาพควร บันทกึ เร่ืองราว เหตุการณ์หรอื รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ เม่อื ถา่ ยภาพมาแลว้ จะ ตอ้ งวางแผนการประชาสมั พนั ธ์โดยให้ผ้บู งั คับบญั ชาตรวจสอบก่อนน�ำ ไปเผยแพร่ การภาพถ่ายประกอบสอ่ื การเรยี นการสอน การถ่ายภาพประเภทนเี้ น้นประโยชนใ์ นการนำ�ภาพไปสอ่ื ความหมายหรือใช้ อธบิ ายเพอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจมากกวา่ การชืน่ ชมความสวยงามในแง่ของศิลปะ ภาพถ่ายบางภาพอาจมอี งคป์ ระกอบของภาพที่ดีเลศิ แต่ไมส่ ามารถน�ำ มาใชผ้ ลิตสื่อการ เรยี นการสอนได้ อยา่ งไรก็ตาม ภาพถา่ ยทม่ี ที ้ังองคป์ ระกอบภาพที่ดแี ละสามารถส่ือ ความหมายได้ตามวัตถุประสงค์ก็ยังเป็นวตั ถดุ ิบท่ดี ที ่สี ุดในการน�ำ มาผลติ ส่อื การเรียนการ สอน

บทที่ 2 รูปแบบการถา่ ยภาพเพื่อการสอ่ื สาร 22 สอ่ื การเรียนการสอนแทบทัง้ หมดใช้ภาพถ่ายเป็นสว่ นประกอบ ซง่ึ สามารถ จำ�แนกไดห้ ลายประเภท หากมองในทางกายภาพกอ็ าจแบง่ ออกเปน็ สือ่ ส่ิงพิมพ์ สอื่ วิดี ทัศน์ สือ่ คอมพิวเตอร์ ส่ือกิจกรรม และสอ่ื บุคคล หรือแบง่ ตามลกั ษณะในการนำ�ไปใช้ใน การเรียนการสอน ได้แก่ สอื่ ประกอบการบรรยาย เช่น ภาพพลิก PowerPoint และส่อื เพ่อื การเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น หนังสอื ต�ำ รา บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน นอกจากนี้ยงั สามารถแบ่งออกตามลำ�ดับการใชง้ าน ไดแ้ ก่ สอื่ น�ำ สอ่ื เสรมิ สือ่ เติม หรือแบง่ ตามวัตถุประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่ตอ้ งการ เชน่ พุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสยั หรอื จิตพสิ ยั ยงั ไม่รวมที่ตอ้ งพิจารณาว่าจะน�ำ ไปใชก้ บั กลุ่มผู้เรยี นที่เปน็ เด็กเล็ก วยั รนุ่ หรอื ผใู้ หญ่ ส่ือการเรยี นการสอนแทบทงั้ หมดใช้ภาพถ่ายเป็นส่วนประกอบ ซ่งึ สามารถจำ�แนกได้ หลายประเภท หากมองในทางกายภาพกอ็ าจแบง่ ออกเป็นส่ือสง่ิ พมิ พ์ สอื่ วิดีทัศน์ สอ่ื คอมพิวเตอร์ ส่ือกิจกรรม และส่ือบุคคล หรือแบง่ ตามลักษณะในการนำ�ไปใชใ้ นการเรียน การสอน ได้แก่ ส่ือประกอบการบรรยาย เชน่ ภาพพลิก PowerPoint และสื่อเพอ่ื การ เรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น หนงั สอื ต�ำ รา บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน นอกจากน้ยี งั สามารถแบ่งออกตามลำ�ดับการใชง้ าน ไดแ้ ก่ ส่อื นำ� สอ่ื เสริม สือ่ เตมิ หรอื แบ่งตามวตั ถุประสงคก์ ารเรียนร้ทู ีต่ ้องการ เช่น พทุ ธิพิสัย ทกั ษะพิสยั หรอื จิตพสิ ัย ยังไม่รวมทตี่ อ้ งพจิ ารณาว่าจะนำ�ไปใชก้ ับกลุ่มผู้เรยี นที่เปน็ เดก็ เล็ก วัยร่นุ หรอื ผ้ใู หญ่ ด้วยเหตนุ ้ี การผลิตสอื่ การเรยี นการสอนแต่ละประเภทจึงต้องการภาพถ่ายท่มี ี ลักษณะแตกต่างกนั สื่อเพ่อื ประกอบการบรรยายต้องการภาพท่ีชดั เจน มองเห็นได้ชัดใน ระยะไกล สือ่ ท่ใี ช้สอนทักษะพิสยั หรือการปฏบิ ัติต้องการภาพในมุมมองที่ผู้เรยี นสามารถ ท�ำ ตามได้ ส่อื น�ำ และส่อื ด้านจิตพสิ ัยต้องการภาพท่สี รา้ งความรู้สึกร่วมใหผ้ ู้เรียนคลอ้ ย ตามและเหน็ ความส�ำ คัญ ดังนั้น ช่างภาพประเภทน้ีจงึ ต้องคำ�นึงถึงและวิเคราะห์ให้ชัดเจนก่อนทีจ่ ะถ่าย ภาพตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

23 บทที่ 2 รปู แบบการถา่ ยภาพเพ่ือการส่อื สาร ผทู้ ่ีจะประกอบอาชีพช่างถา่ ยภาพประกอบสื่อการเรียนการสอนจึงควรมี คุณลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ควรมีความรู้เร่อื งการออกแบบและพฒั นาระบบการเรยี นการสอน (instruc- tional system design and development) เพราะการเขา้ ใจระบบการเรยี นการ สอนจะทำ�ใหส้ ามารถวิเคราะหแ์ ละวางแผนการถ่ายภาพไดอ้ ย่างเหมาะสม และงา่ ยตอ่ กระบวนการผลิตสอ่ื 2. เข้าใจหลกั การออกแบบสาร (message design) ไมว่ ่าจะเปน็ เร่ืองของการรบั รู้ การเข้ารหัสและการถอดรหสั ซง่ึ เปน็ หลักการที่ส�ำ คญั ในการผลติ จัดหา และเลือกน�ำ ภาพไปใช้เพื่อส่ือความหมายกับผู้ดู 3. ควรมีความรคู้ วามเข้าใจในเน้ือหาบทเรียน อาจไม่ต้องถึงขัน้ ผู้เชย่ี วชาญ แต่ การทีม่ ีความรพู้ ้นื ฐานในเรอื่ งนัน้ บ้างจะทำ�ใหส้ ามารถถ่ายภาพได้ตรงความต้องการมาก ขนึ้ ซ่งึ หากไม่มีพนื้ ความรู้เดิมมากอ่ นก็ควรเตรยี มตวั โดยการศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากเอกสาร ตำ�ราหรือจากผู้สอนโดยตรง เชน่ สือ่ การเรยี นการสอนเกย่ี วกับพชื สมนุ ไพร ชา่ งภาพก็ ท�ำ ความรจู้ กั รปู ร่างหน้าตาของสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เพ่ือให้งา่ ยต่อการคน้ คว้าแยกแยะ หรอื ท�ำ ส่อื การเรียนการสอนทางดา้ นวิทยาศาสตร์ ชา่ งภาพก็ควรรูจ้ ักเครอ่ื งมือทดลอง ทางวทิ ยาศาสตร์ชนดิ ตา่ ง ๆ ก่อนท่จี ะท�ำ การถา่ ยภาพ





บทท่ี 3 การถา่ ยภาพหนุ่ นิ่ง ภาพบุคคล และภาพ PHOTO STORY 24 บทที่ 3 การถ่ายห่นุ นิง่ ภาพบคุ คล และภาพ PHOTO STORY

25 บทที่ 3 การถ่ายภาพหุ่นนงิ่ ภาพบุคคล และภาพ PHOTO STORY บทที่ 3 การถา่ ยภาพหนุ่ นิ่ง ภาพบคุ คล และ PHOTO STORY การถ่ายภาพห่นุ น่งิ หมายถึง การถา่ ยภาพวัตถุสงิ่ ของต่าง ๆ เชน่ แจกนัดอกไม้ ถ้วย จานช้อนซอ้ ม ขวดเหล้า เบียร ์ แก้ว บหุ ร่ี น้ำ�หอม เสอ่ื ผา้ รองเทา้ ผกั ผลไม้ อาหาร ฯลฯ จดุ มงุ่ หมายสว่ นใหญก่ เ็ พอ่ื นำ�ภาพไปจดั ทำ�เปน็ ส่อื ในการโฆษณา เชน่ ทำ�ปกหนังสอื วารสาร โปสเตอร หรอื สิ่งพิมพ์ อ่นื ๆ การฝกึ ถ่ายภาพห่นุ นิ่ง จะชว่ ยให้เราไดเ้ รยี นรู้ เทคนคิ ตา่ งๆ ในการถา่ ยภาพได้เป็น อยา่ งดี ท้งั นี้เพราะวัตถสุ ง่ิ ของต่างๆท่ีน�ำ มาถ่ายภาพ จะอยนู่ ง่ิ ไม่เคล่ือนไหวเราสามารถทดลอง จดั ภาพไดห้ ลาย ๆ แบบตามตอ้ งการ ส่วน การใช้แสงกท็ �ำ ไดห้ ลายลักษณะ อาจใชแ้ สง ธรรมชาติ แต่ส่วนมากมกั ใช้แสงไฟประดิษฐ์ เพราะสามารถควบคุมทศิ ทางตลอดจนปรมิ าณ ของแสงสวา่ งได้ตามความเหมาะสม ข้นั ตอนการถ่ายภาพห่นุ นิ่ง 1. จดั สถานที่ได้แก่ โตะ๊ ชดุ ส�ำ หรบั ถ่ายภาพหุ่นนงิ่ ประกอบด้วยขาตง้ั เหล็ก หรือ อลูมิเนยี มมแี ผ่นพลาสตกิ สตี ่างๆ เชน่ สีขาว ด�ำ นำ�้ เงิน และมว่ ง เป็นท่ีวางวัตถทุ ่ีจะถ่าย ภาพ ผวิ หนา้ ของแผ่นพลาสตกมิ ี 2 ด้าน ด้านหนึ่งผิวดา้ น ส่วนอกี ดา้ นหน่งึ ผวิ จะมนั คุณสมบตั ขิ อง แผน่ พลาสตกิ คอื ถา้ ใชไ้ ฟสอ่ งด้านบนจะไดแ้ สงตกกระทบธรรมดา แตถ่ า้ ใชไ้ ฟสอ่ งจากด้านลา้ ง แสงจะสามารถทะลุพื้นพลาสตกิ ขึน้ ด้านบนสามารถใชเ้ ป็นแสง ส�ำ หรับลดเงา หรือใช้เป็นแสง สอ่ งจากพนื้ ลา่ งและดา้ นหลังของวตั ถุ 2. ออกแบบ สเกต็ ภาพ (LAY –OUT) การจดั วางองคป์ ระกอบของวตั ถซุ ง่ึ จะ ท�ำ ให้ ผู้ร่วมงานเข้าใจรูปแบบและแนวคิด สามารถจัดหาวตั ถุประกอบฉาก ตลอดจนการ จัดภาพได้ ถูกตอ้ งและรวดเรว็ ขนึ้

บทท่ี 3 การถา่ ยภาพหนุ่ นงิ่ ภาพบคุ คล และภาพ PHOTO STORY 26 3. จดั หาวัตถสุ ิง่ ของที่จะถ่ายภาพถา้ เป็นประเภทผกั ผลไม้ ควรเตรยี มไว้ ใหม้ ากพอ คอยฉดี นำ้�ดูแลให้สดอย่เู สมอ 4. น�ำ วตั ถุส่ิงของที่จะถา่ ยวางบนโตะ๊ ถา่ ยภาพโดยจัดวางตามแบบท่สี เก็ตภาพไว้ 5. ทดลองจดั แสง ซึง่ อาจใชห้ ลอดไฟทังสเตน ถ้าเป็นการถ่ายภาพชิ้น เล็กๆ ก็ ใชส้ ปอต ไลท ์ 500 วัตต ์ 2-3 ดวงแตถ่ ้าเปน็ การถา่ ยภาพขนาดใหญ่ กต็ อ้ งใชไ้ ฟทม่ี กี �ำ ลังวัตตส์ ูงๆ เช่น 2000วัตต์ ถึง 5000วัตต์ โดยใช้ผ่านแผ่น กรองแสงเพอ่ื ให้ไดแ้ สงทีน่ ุ่มนวล ใชแ้ ผน่ สะท้อนแสง ลดเงาและอาจใช้ไฟส่อง ฉากหลงั เพื่อเนน้ วัตถใุ ห้เห็นเดน่ ชดั ในปัจจุบันนยิ มใช้แฟลชอิเลคทรอนคิ ส์ มี อปุ กรณ ์ เชน่ ร่ม สะทอ้ นแสง จานสะท้อนแสง ประตโู คม (BARN DOORS) กรวยแสง (SNOOT) ซง่ึ จะใหค้ วาม สะดวก สามารถบงั คบั ทิศทางและปริมาณ ของแสงไดต้ ามต้องการ 6. กลอ้ งสำ�หรับถ่ายภาพหุ่นน่ิง ถ้าไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งน�ำ ภาพไปขยายใหใ้ หญ่ มากกอ็ าจใช้ กลอ้ ง ขนาด 35 มม.แตถ่ ้าต้องการขยายภาพให้มขี นาดใหญ่ ก็ ควรใชก้ ล้องขนาดกลางท่ใี ช้ ฟลิ ม์ ขนาด 4” X 5” กล้องถ่ายภาพต้องตง้ั บนขา ต้ังกลอ้ งให้มนั่ คง เพราะการถ่ายภาพหุ่นน่ิง ตอ้ งการภาพท่ลี ะเอียดชดั เจนและ ชดั ลกึ จงึ ตอ้ งเปิดชอ่ งรบั แสงใหแ้ คบมาก ๆ เช่นF16 ฉะน้นั ความเร็วชตั เตอร์จะ ตอ้ งช้ามากเพื่อให้สมั พนั ธ์กับขนาดชอ่ งรบั แสง

27 บทท่ี 3 การถ่ายภาพหุ่นนง่ิ ภาพบคุ คล และภาพ PHOTO STORY การถ่ายภาพในแขนงนอ้ี าจจะกลา่ วไดว้ า่ มคี วามยากกว่าหลายๆ แขนงกว็ า่ ได้ ใน เรอ่ื งของ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ เพราะกวา่ จะไดม้ าถงึ ตรงนน้ี กั ศกึ ษา หรอื ผทู้ ี่มคี วามสนใจ ทางด้านการถา่ ยภาพ STILL LIFE ทกุ คนจะตอ้ งเรยี นรแู้ ละได้ผ่านการเรยี นรใู้ นเรอ่ื ง ของการถ่ายภาพมาแล้วหลายแขนงของ วชิ าการถ่ายภาพ ซ่งึ จะตอ้ งน�ำ ความรูใ้ นทกุ สิ่ง ทุกอย่างท่ไี ดเ้ รียนร้มู าใชร้ ว่ มกนั เชน่ การเลอื กหาสง่ิ ของตา่ งๆ มาจดั ถ่าย (OBJECTS) ความรูแ้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สิง่ ที่จะถา่ ย (SUBJECT) ความสามารถในการโยงส่งิ ของ ทม่ี ีในฉากเขา้ ด้วยกัน (NARRATIVE / TELLING STORY) ความคดิ สร้างสรรค์ ในการนำ�เสนอ/สร้างภาพ (CREATIVITY) ความสามารถ ในการจัดส่ิงของตา่ งๆ ทใ่ี ชเ้ ป็นองค์ประกอบให้เข้ากนั (ARRANGEMENT) ความร้แู ละ ความสามารถในดา้ นการวางต�ำ แหน่งขององคป์ ระกอบหลักหรือการไมใ่ ชอ้ งคป์ ระกอบ หลัก (COMPOSITION) ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การใช้พนื้ ทใ่ี นฉาก (SPACE) ความเขา้ ใจใน เร่ืองการสร้างมิติ (DIMENSION/PERSPECTIVE) ร้จู กั แสง และเข้าใจในเรื่องการใชแ้ สง เปน็ อย่างดี (LIGHTING) เข้าใจถงึ เรอ่ื งของพื้นผวิ ของวสั ดทุ ่นี �ำ มาใช้ใน SET (TEXTURES AND SURFACE) จากความเหน็ ข้างตน้ ของผูม้ ีประสบการณ์ ท้งั สามเป็นข้อสังเกตไดอ้ ย่างหนึง่ ว่า ไม่มี แงม่ ุมใดทเี่ ชอื่ มโยงไปถึงเร่อื งของพรสวรรค ์ ที่ตอ้ งมตี ิดตวั นกั ถ่ายภาพมาตั้งแตเ่ กดิ เลย ทกุ ขอ้ ความเห็นเหลา่ น้นั ลว้ นพุง่ เป้าไปทเ่ี ร่ืองเดียวกันนั้นคือ พรแสวง หรอื การใฝ่ หาทจ่ี ดั ไดม้ าดว้ ยวิถที างของความตงั้ ใจและแรงพยายามจากผู้เปน็ นักถ่ายภาพเองทงั้ นนั้ SUBJECT ‘สาร’ ท่ีไม่อาจขาดหายไปจากงานภาพถา่ ย STILL LIFE มีนกั ถ่ายภาพรุ่น ใหมจ่ �ำ นวนไม่น้อยท่ีสับสนระหว่างค�ำ วา่ OBJECT กบั SUBJECT ซึ่งอาจส่งผลทำ�ใหค้ น เหล่านั้นตคี วามหมายบางอย่างในภาพบิดเพีย้ นไป

บทท่ี 3 การถา่ ยภาพหนุ่ น่ิง ภาพบุคคล และภาพ PHOTO STORY 28 OBJECT ในทางการถา่ ยภาพหมายถึงวตั ถ-ุ สง่ิ ของ จะเป็นคน สัตว์ สิง่ มชี ีวติ หรือไมม่ ี ชีวิตกไ็ ด้ และวัตถ-ุ สิง่ ของนน้ั ๆ อาจมจี ำ�นวนมากกว่าหน่ึงหน่วยก็ได้ (ขนึ้ อยกู่ บั ความต้องการของผถู้ า่ ย) สว่ น SUBJECTทางการถ่ายภาพน้นั หมายถึงประเดน็ เนือ้ หา สาระ หรือ สารที่ผู้สรา้ งสรรค์ ผลงานต้องการน าเสนอไปถงึ ผู้ชม (ภาพ) ของเขา แต่ ทงั้ น้กี ไ็ มจ่ �ำ เป็นว่าประเด็นตา่ งๆ เหล่านัน้ จะตอ้ งประสบความส�ำ เร็จในการส่ือสารเสมอ ไป เนอ่ื งเพราะยงั มเี หตปุ ัจจัยในการสนับสนนุ อีกมากมายซง่ึ จะยงั ไม่น�ำ มากล่าวถงึ ในที่ นี้ บางคนอาจสงสัยต่อไปวา่ ในเม่ือภาพถ่ายแนว STILL LIFE คอื ภาพถ่ายหุ่นนง่ิ ท่ี หมาย ถงึ การถ่ายทอดวัตถุ-สงิ่ ของทไ่ี ม่มชี ีวติ เสยี เปน็ สว่ นใหญแ่ ลว้ เหตใุ ดเราจึงจำ�ตอ้ งเค้นหา SUBJECT หรอื ประเด็นในการสื่อสารกับผู้ชมอกี ดว้ ย หมายบางอยา่ งในภาพบิดเพีย้ นไป ทำ�ไมหมุดหมายของการถา่ ยภาพแนวนไี้ มจ่ บลงท่ีเพยี งแค่วา่ ถา่ ยไดส้ วยหรอื ถา่ ย ออกมาเหมอื นอยา่ งทีต่ าเหน็ เทา่ นั้นอันท่จี ริงแนวคิดนี้หาใช่เรือ่ งผดิ แตป่ ระการใดหาก ความปรารถนาหรือจดุ มุ่งหมายของผูเ้ ป็นนกั ถ่ายภาพสิ้นสดุ ลงท่เี พียงนน้ั ทว่าในสายตา ของ นกั ถ่ายภาพ STILL LIFE อาชพี หลายท่านกลบั มองวา่ นนั้ เป็นเพยี งจุดเริม่ ตน้ ของการกา้ วสู่ โลกแห่ง STILL LIFE ท่แี ท้จริงต่างหากหาใช่จุดสิ้นสุด! การค้นหา การ สรา้ งสรรค์ กลวิธใี นการ ถา่ ยทอดส่ิงท่เี รยี กว่า SUBJECT ให้ไดอ้ ย่างลุม่ ลึก แยบคาย และชาญฉลาด เปน็ ส่ิงทีน่ กั ถา่ ยภาพ STILL LIFE กระหายท่จี ะค้นหาและนกั เสพงาน ของพวกเขาก็ยงั ต้องการค�ำ ตอบอยเู่ ช่นกัน (อาจารย์ธัญวดี กำ�จัดภัย) ภาพ : หอ้ งสตลู ดิโอ มหาวิทยาลัยนเรศวร

29 บทท่ี 3 การถา่ ยภาพห่นุ น่งิ ภาพบคุ คล และภาพ PHOTO STORY การถ่ายภาพบคุ คล (PORTRAITS) การถา่ ยภาพบคุ คล เปน็ การบันทกึ โครงสร้างลักษณะ และความนึกคิดของ ผู้ ถา่ ยภาพ และผถู้ ูกถ่ายภาพฉะนนั้ ภาพถ่ายบคุ คลจงึ เปรียบเสมือนตัวแทนบุคคลท่ถี ูกถา่ ย และผู้ถูกถ่ายภาพ ฉะนน้ั ภาพถ่ายบุคคลจงึ เปรยี บเสมือนตัวแทนบคุ คลท่ีถูกถ่ายทั้งใน ด้านความนกึ คดิ และลักษณะทา่ ทาง ภาพถา่ ยบคุ คลท่ดี ีควรแสดงออกใน2ประการ คือ 1. ความนกึ และการสรา้ งสรรค์ ของผู้ถ่ายภาพ 2. สามารถแสดงบุคลกิ ของผถู้ ูกถา่ ยได้ เป็นอยา่ งดี ภาพถา่ ยบคุ คลทแ่ี สดงออกไดท้ ั้ง 2ประการดงั กล่าวจ�ำ เป็นตอ้ งมีความเข้าใจใน องค์ ประกอบตา่ งๆ ดงั นีค้ อื 1.การจัดเส้ือผา้ ให้เหมาะสมกบั บคุ ลิกและอาชีพ ภาพ : บา้ นนาตน้ จ่ัน 2. การจดั ฉาก อาจจัดในสตดู ิโอ หรือฉากธรรมชาติ ภาพ : ท่งุ ทานตะวนั

บทที่ 3 การถ่ายภาพห่นุ น่งิ ภาพบคุ คล และภาพ PHOTO STORY 30 3. การจัดภาพ จัดท่าทาง ของผูเ้ ป็นแบบ 4. การจัดแสง อาจใช้แสงธรรมชาติ หรอื แสงไฟประดิษฐ์ ภาพ : ทุ่งทานตะวัน 5. การเลอื กใช้กล้อง ฟิลม์ แผ่นกลองแสงและเลนส์ ในการถา่ ยภาพ ใหเ้ หมาะสมเลนสท์ ่ีใช้ในการถ่ายภาพบุคคลควรเป็นเลนส์ ถา่ ยภาพระยะไกล ความยาวโฟกสั ประมาณ 105มม. หรือ 135มม. (ปจั จบุ นั นยิ มใชก้ ลอ้ งดิจิตอล บันทกึ เก็บเปน็ ไฟล์ )

31 บทที่ 3 การถา่ ยภาพหนุ่ นิ่ง ภาพบุคคล และภาพ PHOTO STORY ภาพ : หนัง Mary is Happy 6. การเลือกมมุ กล้องในการถ่ายภาพ ภาพ : ละไม จงั หวัดตาก





บทที่ 4 พชื ดอกไม้ สตั ว์ และแมลง 32 บทท่ี 4 พืช ดอกไม้ สัตว์ และแมลง

33 บทที่ 4 พชื ดอกไม้ สัตว์ และแมลง บทที่ 4 พชื ดอกไม้ สตั ว์ และแมลง การถา่ ยภาพพชื ดอกไมแ้ ละแมลงซึง่ เปน็ สิ่งมชี วี ิตที่มีขนาดเลก็ เป็นประเภทของ ภาพถ่ายทถ่ี กู น�ำ มาใช้ในการในงานด้านการผลิตสอ่ื บอ่ ยครัง้ ซึ่งนอกจากจะใช้เพ่ือความ สวยงามแล้วภาพประเภทน้ียงั จ�ำ เปน็ ต้องการใช้ประกอบการน�ำ เสนอขอ้ มลู ความรูท้ าง ดา้ นพุทธศาสตร์และกฏิ วิทยา ซงึ่ จะช่วยสรา้ งความเข้าใจทีช่ ดั เจนกวา่ ขอ้ มลู ท่ีเป็นตัว อกั ษรเพยี งอย่างเดียว ในบทนจี้ ะกล่าวถงึ เทคนคิ ทีจ่ ะขจัดปญั หาท่ีสำ�คญั นัน้ กค็ อื เร่อื ง ของความชดั เนื่องจากเปน็ ภาพถา่ ยวัตถขุ นาดเล็กและวิธีการสรา้ งความโดดเดน่ ใหก้ บั พืช ดอกไม้หรอื แมลงที่ถ่ายเพื่อให้นา่ สนใจและผดู้ ูสามารถเห็นรายละเอียดได้อย่างชัดเจน (ณฐั กร สงคราม,2557) เทคนิคการถา่ ยภาพพชื ดอกไม้ และแมลง การถ่ายภาพพชื และดอกไมน้ นั้ เวลาที่เหมาะสมคอื ช่วงเช้าเพราะพืชหรือดอกไม้ จะสดชนื่ มีน�ำ้ ค้างก็แต่หากใบไมห้ รือดอกไม้แหง้ เกนิ ไปควรเพ่ิมความชมุ่ ช้ืนใหด้ อกไม้ โดยการใชน้ ้�ำ ฉดี ไปบนกรบี ดอกหรอื โฟร์กราวน์ชว่ ยเพื่อใหภ้ าพดูนมุ่ นวลขึ้นในเร่อื งของ ทิศทางแสงหากเพ่ือนหรอื ดอกไม้นน้ั มีใบหรือกบี หนาควรให้แสงสอ่ งมาดา้ นข้างแตถ่ า้ ใบหรอื ก่ีบางควรให้แสงสองมาด้านหลงั ของใบไมห้ รอื ดอกไม้เพอื่ จะไดเ้ ห็นเส้นใหญ่ที่อยู่ ภายในกลบี ดอก ภาพ : ดอกบัว โรงแรมอินดโิ กโฮเทล อ.หลม่ สัก จ.เพชรบูรณ์

บทท่ี 4 พืช ดอกไม้ สตั ว์ และแมลง 34 การจดั องคป์ ระกอบของภาพนนั้ หากเป็นดอกไม้ควรเนน้ ดอกไม้เพียงหน่ึงถึงสอง ดอกและภาพในลักษณะชดั ตื้นเพือ่ ให้รอยดินออกมาจากฉากหลังโดยควรให้มองเหน็ เกสรดอกไมแ้ ละหากรอจังหวะที่มแี มลงมาตอมท่เี กษตรจะช่วยให้ภาพมีเรอื่ งราวและ สวยงามข้นึ ช่างภาพอาจหาน�ำ้ หวานหรือนำ�้ พึ่งมาหยดุ เพื่อรอให้แมลงบนิ มาตอมดอกไม้ท่ี ต้องการส่วนการถ่ายภาพมาแรงควรโฟกสั ทตี่ าของแมลงแตห่ ากตอ้ งการถ่ายเพอื่ ใหเ้ หน็ รายละเอยี ดไดท้ ่ัวทั้งล�ำ ตวั ภาพ : ทุ่งทานตะวัน การถ่ายพืชที่มขี นาดใหญ่หรอื ถ่ายทั้งตน้ ปญั หาเร่อื งการโฟกสั เบอรจ์ ะน้อยแต่ หากถา่ ยเฉพาะบางสว่ นเชน่ ใบผลดอกหรอื ถ่ายมาแรงซึง่ มีขนาดเล็กตอ้ งระวงั ในเร่ืองของ ความชัดและโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การถา่ ยภาพด้วยโหมดถ่ายระยะใกล้ซง่ึ ใชเ้ ลนมาโคร (Macro)หรอื เลนClose-up (ในกรณีของกล้องฟลิ ม์ ) หากไม่มเี ลนสำ�หรบั ถ่ายระยะใกล้ ก็สามารถใชเ้ ทคนคิ กลบั เลน่ ถ่ายได้ต้องระวงั เรอ่ื งของการหมดุ โฟกัสให้ดีเพราะมีชว่ ง ความชดั ลกึ นอ้ ยทางทมี่ ีควรใชข้ าต้งั กล้องในการถ่ายภาพและใชก้ ารโฟกสั และระบบแมน นวลจะดกี วา่ พรอ้ มทัง้ ตง้ั ชอ่ งรับแสงทีแ่ คบๆไว้เพอื่ ใหภ้ าพมคี วามชัดลึกมากขน้ึ (ณัฐกร สงคราม,2557)

35 บทที่ 4 พชื ดอกไม้ สตั ว์ และแมลง ในกรณีทเ่ี จอปัญหาของวัตถทุ เ่ี คล่อื นไหวไปมารวมทีท่ �ำ ใหว้ ตั ถนุ น้ั นัน้ ไม่อยนู่ ิ่งสามารถ แก้ไขได้ดว้ ยการใช้โหมดถา่ ยภาพต่อเนือ่ งเพอื่ ให้กลอ้ งบนั ทึกภาพหลายภาพเพอื่ เผื่อ ไว้หรอื การตั้งระบบการโฟกสั เปน็ การแบบตดิ ตามวตั ถุซ่ึงจะช่วยให้เราถ่ายภาพวตั ถุท่ี เคล่ือนท่อี ยู่ตลอดเวลาให้งา่ ยข้นึ แตห่ ลายครั้งอาจพบปญั หากล้องโฟกัสตามไมท่ ันเมอ่ื ใช้ ระบบโฟกสั ภาพตดิ ตามวตั ถุ เปน็ เพราะ ชว่ งการหมนุ ของเลนมาโครมชี ่วงกว้างและการ เสยี แสงท�ำ ให้ประสทิ ธภิ าพในการโฟกสั รถลงไปทางแก้กค็ อื ประเมนิ สภาพแสงก่อนถ้าอยู่ ในแสงน้อยให้ทดสอบทดลอง focus ดูถา้ กล้องโฟกัสภาพตามไมท่ ันต้องเลือกใชว้ ธิ อี ่นื หรอื ไมก่ เ็ ลอื กภาพตามในทศิ ทางการเคลือ่ นไหวด้านทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงในระยะโฟกสั นอ้ ยทีส่ ุดเช่นการเคลื่อนไหวทขี่ นาดขนานกับก้องซ้ายขวาจะมีการเปลย่ี นแปลงระยะชัด ได้น้อยกว่าการเคลือ่ นไหวทค่ี ่ะเขา้ ใกลแ้ ละถอยหา่ งจากกลอ้ งเปน็ ต้น (ณัฐกร สงคราม, 2557) การควบคุมแสงและฉากหลัง ฉากหลังเปน็ ส่ิงท่ีสำ�คัญทสี่ ุดในการสรา้ งความสวยงามและความโดดเดน่ ให้พืช หรอื ดอกไมช้ ่างภาพควรเลือกมุมท่ีฉากหลังทีม่ ีสีอ่อนหรอื เขม้ ตรงข้ามกบั สีของพืชหรือ ดอกไมใ้ นกรณที ีไ่ ม่สามารถเลอื กมมุ ท่ีฉากหลงั ท่ีเรยี บงา่ ยไม่รกรุงรังไดช้ ่างภาพอาจ เตรยี มกระดาษแข็งสีต่างๆที่ต้องการไปวางไว้ดา้ นหลงั เพือ่ ให้ไดฉ้ ากท่ตี ้องการก็ได้ อกี วิธีทจี่ ะสามารถควบคมุ ฉากหลังได้ก็คอื การใช้แสงควบคุมโดยสภาพแสงของ พชื หรอื ดอกไม้กับแสงของฉากหลงั ควรต้องตา่ งกันแต่ท่พี ชื หรือดอกไมค้ วนสว่างกวา่ ฉาก หลงั มากๆเริ่มจากการเลือกวงท่พี ชื หรอื ดอกไมอ้ ยใู่ นที่สว่างหรือทนแสงแดดจากน้นั หมนุ กลอ้ งเพ่ือให้มองเหน็ ฉากหลังอยใู่ นส่วนท่มี ดื กวา่ หรอื ไม่โดนแสงแดดแลว้ ลองถา่ ยภาพ ดูหากแสงท่พี ชื หรือดอกไม้สว่างเกนิ ไปหรือไมด่ นิ จากฉากหลังมากนกั ให้ตงั คา่ แสงให้ อันเดอรล์ งประมาณ1-2 สตอ็ ป ผลทไี่ ดจ้ ะท�ำ ใหไ้ ดภ้ าพพืชหรือดอกไม้ท่ีสสี ันชัดเจนและ เด่นอย่บู นฉากหลงั ทด่ี ำ�มดื ขนึ้

บทท่ี 4 พชื ดอกไม้ สัตว์ และแมลง 36 นอกจากนี้การท�ำ ให้พืชหรอื ดอกไมเ้ ด่นชดั จากฉากหลงั สามารถใช้วธิ ีการ ตอบ เฟสพว่ งออกมาภายนอก(ในกอนที ่กี ล้องถ่ายภาพทใ่ี ช้ต้องมคี วามสามารถในการเชอื่ มตอ่ เฟสภายนอกได้เช่นมีชอ่ งเสยี บสายซงิ คพ์ ว่ งแฟลช)เพือ่ ควบคุมแสงของพืชหรือดอกไม้ ด้วยแสงแฟลชและควบคมุ แสงของฉากหลงั ดว้ ยการเปดิ รับแสงของกล้องวธิ ีการคอื ตงั้ กล้องในมุมทต่ี อ้ งการแล้วถือเฟสท่พี ว่ งไว้ออกไปยง่ิ แสงจากดา้ นขา้ งของพืชหรือดอกไมด้ ู เฉยี งไปทางดา้ นหลงั นิดหนอ่ ยเพอื่ ไม่ใหเ้ สียงเสรจ็ ไปโดนฉากหลังหรืออาจยมื ไปขา้ งหลงั มากๆเพือ่ ให้เกดิ ยิม้ ไรซ้ ึ่งจะช่วยให้แสงท่พี ืชหรอื ดอกไมม้ ีความสวยงามข้ึนอาจใช้การตัง้ ค่ากลอ้ งให้อันเดอร์ลุงเพอ่ื ท�ำ ให้ฉากหลงั มืดลงซึ่งจะชว่ ยใหพ้ ชื หรือดอกไมด้ ินขึ้น (ณัฐกร สงคราม,2557)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook