Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาเรื่องสิ่งมีชีวิตกับการปรับตัว

การพัฒนาเรื่องสิ่งมีชีวิตกับการปรับตัว

Published by Yusrina Lateh, 2022-08-31 16:00:12

Description: การพัฒนาเรื่องสิ่งมีชีวิตกับการปรับตัว

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัยในช้ันเรียน โรงเรียนบ้านปา่ มว่ ง ปกี ารศึกษา 2565 ชอ่ื เรอื่ ง พัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ รื่อง สงิ่ มชี วี ิตกบั การปรบั ตัว ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 โดยการจัดการเรยี นการสอนแบบ 5 E ชื่อผู้วิจยั นางยุซรนี า ลาเต๊ะ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 15101 ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 /1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วทิ ยาศาสตร์ เปน็ การสร้างองค์ความรู้ที่ไดม้ าจากการศกึ ษาปรากฏการณธ์ รรมชาติ ซึ่งสามารถแสดง หรอื พิสูจน์ได้วา่ ถูกต้องและมีการอาศยั ประจักษ์พยานเพื่อสนบั สนุนความจรงิ ในขณะนัน้ โดยใชก้ ระบวนการ แสวงหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ แลว้ จดั ความรนู้ ัน้ เข้าเป็นระเบยี บ เป็นหมวดหมู่ โดยเป็นความรู้ท่สี ะสมมา แตอ่ ดีต ปจั จุบัน และอนาคต อย่างไม่รจู้ กั จบสิน้ ในการจดั การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ทเ่ี นน้ ใหผ้ ู้เรยี น มี ปฏิสัมพันธก์ ับการเรยี นรู้ตามศักยภาพของผเู้ รียน โดยผ่านกิจกรรมท่ผี ้เู รยี นจะต้องฟัง พูด อา่ น เขยี น คิด ถาม คาถาม สบื ค้น อภปิ ราย ออกแบบและลงมือปฏบิ ตั จิ ริงร่วมกัน ทง้ั นผ้ี ้วู ิจยั ตระหนกั ในความจาเปน็ ดังกล่าวที่ให้ ผู้เรียนได้ลงมอื ปฏิบัติจริงและเรยี นรู้จากกจิ กรรมที่ไดท้ าจริงสง่ ผลให้ผ้เู รยี นสามารถจดจาส่ิงทเี่ รียนรูไ้ ด้และ สามารถปฏิบตั งิ านไดด้ ว้ ยตนเอง และชว่ ยพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผเู้ รียนใหส้ ูงข้ึน อย่าง คงทนมปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น วตั ถุประสงค์ของการวิจัย เพือ่ พฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ รื่อง ชอ่ื เร่ือง พฒั นาทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรเ์ รอื่ ง สิ่งมชี ีวติ กบั การปรบั ตัว ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โดยการจัดการเรยี นการสอน แบบ 5 E วิธดี าเนินการ ในการดาเนนิ การวจิ ยั ได้มีขนั้ ตอนในการดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. ขนั้ เตรียมการ 1.1 ศึกษาปัญหาดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ือง ส่ิงมชี วี ิตกบั การปรับตัว 1.2 วิเคราะห์ปญั หาและออกแบบสอ่ื กจิ กรรมทีใ่ ช้ 1.3 สรา้ งสือ่ และรปู แบบการจดั กิจกรรม

2. ขน้ั ดาเนินการ 2.1 ทดลองกับกลุม่ ตัวอย่าง ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 จานวน 26 คน โดยดาเนนิ การ รวบรวมคะแนน จากแบบทดสอบก่อนเรยี น การออกแบบและการปฏิบตั ิกิจกรรม และคะแนนจาก แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. ขน้ั ประเมินผล 3.1 นาข้อมลู ท่ีไดม้ าหาผลการพัฒนาเปรียบเทยี บคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น ทางสถิติ 3.2 นาผลทไ่ี ดม้ าวิเคราะห์และรายงานผล ประชากร/กลุ่มตัวอย่างประชากร การวจิ ยั ครั้งนี้ใชก้ ล่มุ ตัวอยา่ งเปน็ นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 /1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรยี นบา้ นปา่ มว่ งโดยการสมุ่ แบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive sampling ) จานวน นกั เรยี น 26 คน เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 1. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัยประกอบด้วย แผนการจดั การเรยี นรเู้ รอ่ื ง สิง่ มชี ีวิตกบั การปรับตัว 2. เครอ่ื งมือที่ใช้ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบ (ก่อนและหลัง เรยี น) วัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง สง่ิ มีชีวิตกบั การปรับตัว 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน 4. วสั ดุ อุปกรณ์ ประกอบกิจกรรม เรือ่ ง สิ่งมีชีวิตกับการปรับตัว การเก็บรวบรวมข้อมลู 1. ทดสอบก่อนเรียน โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (ก่อนและหลงั เรียน) วดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ส่ิงมชี ีวติ กับการปรับตวั 2. ดาเนินการจดั การเรียนรู้กับกลุม่ ตัวอยา่ งโดยการจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการ 5 E 3. ทดสอบหลงั เรียน 4. นาผลคะแนนจากการตรวจแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นมาวิเคราะห์ โดยใชว้ ิธกี ารทาง สถิติเพ่ือตรวจสอบสมมตุ ิฐานต่อไป การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถติ ิท่ีใช้ นาคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นทน่ี ักเรียนกลมุ่ ตัวอย่างทาไดม้ าหาผลการพฒั นาโดยการใช้ ค่าสถิตริ อ้ ยละ

ผลการวิจัย จากการวจิ ัยพบวา่ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ร่อื ง สิง่ มีชวี ติ กบั การปรับตวั ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 โดยการจดั การเรยี นการสอนแบบ 5 E สามารถพฒั นาการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ได้ ดงั หลักฐานจากผลวเิ คราะห์การทดสอบความแตกต่างของคะแนนทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้คา่ สถิตริ ้อยละ ซ่งึ ค่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียนอยู่ท่ีรอ้ ยละ 38.84 และผลการทดสอบหลังเรียนอยู่ท่ีร้อยละ 66.54 ผลการประเมินก่อนเรียนมคี า่ เฉลย่ี ต่ากว่าผลการประเมินหลงั เรยี นโดยแท้จริง อภิปรายผล จากผลการวจิ ัยท่ีพบวา่ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียนบ้านป่ามว่ งท่ี เรยี นเรื่องสง่ิ มชี ีวติ กบั การปรับตัว โดยการจดั การเรียนการสอนแบบ 5 E มกี ารพฒั นาผลสัมฤทธ์ิของคะแนน กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ตามผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนด้วยค่าร้อยละ ปรากฏวา่ มผี ลการพฒั นาการร้อยละ 26.15 ด้วยเหตดุ ังกล่าวจงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เร่ือง สิง่ มชี วี ิตกบั การ ปรบั ตัว ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 โดยการจดั การเรยี นการสอนแบบ 5 E เปน็ นวัตกรรมทมี่ ีคุณค่า ต่อการเรยี นรู้ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 ครผู ้สู อนควรพัฒนาส่ือ/นวตั กรรมในรูปแบบตา่ งๆ อยเู่ สมอ เพื่อใหท้ นั ต่อการ เปลีย่ นแปลงและรูปแบบของการเข้าถึงสอ่ื ของโลกปจั จบุ นั 2. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ ทาวิจยั ครั้งต่อไป 2.1 ควรมกี ารวิจัยเพื่อพฒั นาส่ือและนวตั กรรมในรปู แบบอ่ืนๆ 2.2 ควรมกี ารวจิ ยั เรื่อง การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียน การสอนแบบ 5 E กบั เน้ือหาอืน่ และระดบั ชั้นอน่ื ๆ 2.3 ควรมกี ารวจิ ัยรูปแบบการสอนอื่นๆที่สามารถพฒั นาการเรียนรูข้ องนักเรียนได้

ภาคผนวก ก แบบทดสอบกอ่ น และหลงั เรียน เร่อื ง สง่ิ มชี วี ิตกับการปรบั ตัว ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5

แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง ส่งิ มีชีวติ กับการปรับตัว คาชแี้ จง ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท () ทับตวั อักษรคาตอบทีถ่ ูกต้องเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดแสดงให้เหน็ ว่าโครงสร้างช่วยใหส้ ัตว์อยู่รอด ก. หมู ข. ช้าง ค. พะยูน ง. ตั๊กแตนกิ่งไม้ 2. เพราะเหตใุ ด สิ่งมีชีวติ จงึ ต้องมีการปรบั ตัวใหเ้ หมาะสมกบั แหลง่ ที่อยู่อาศยั ก. เพือ่ ความอยู่รอด ข. เพื่อการขยายพนั ธุ์ ค. เพือ่ รบั พลังงานจากผู้ผลิต ง. เพื่อรกั ษาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 3. เพราะเหตุใด ลาต้นของพืชน้าส่วนใหญ่จงึ เปน็ โพรงอากาศ ก. เพือ่ ให้นา้ ไม่ขังในลาต้น ข. เพื่อใหเ้ หมาะสมตอ่ การเคลือ่ นทีใ่ นน้า ค.เพื่อใหล้ าตน้ มีน้าหนกั เบาและลอยน้าได้ ง. เพือ่ ดูดซึมน้าเข้ามาเกบ็ ไว้ใชใ้ นการสร้างอาหาร

4.ลกั ษณะใดของหมขี าวทีเ่ ป็นการปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสมกบั แหลง่ ที่อยู่ ก. มีส่ขี า ข. ขนสีขาว ค. องุ้ เท้าหนา ง. ตวั ขนาดใหญ่ 5. สัตว์ในข้อใดสามารถพรางตัวให้กลมกลืนกบั สิ่งแวดล้อมได้ ก. อฐู ข. กิง้ ก่า ค. มา้ ลาย ง. หมีข้ัวโลก 6. เพราะเหตใุ ด กระบองเพชรจงึ ปรบั เปลี่ยนโครงสร้างใบให้เปน็ หนาม ก. เพือ่ กกั เกบ็ น้า ข. เพื่อป้าองกนั ศตั รู ค. เพือ่ ลดการคายน้า ง. เพื่อทาให้ต้นมนี ้าหนักเบา 7. เหตใุ ดสนุ ัขพันธ์ไทยแท้จึงมีขนส้ัน ก. เพื่อความสวยงาม ข. เพือ่ ช่วยในการหายใจ ค. เพื่อให้เหมาะสมกับอุณหภมู ิ ง. เพื่อความคล่องตัวในการเคลือ่ นที่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่อื ง เรยี นรู้สิ่งมีชีวติ

8. ข้อใดไม่ใช่การปรับตัวของสตั ว์เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั การดารงชีวติ ในสิ่งแวดล้อม ก. กระต่ายสีขาวหากินในทุ่งหญ้า ข. ตก๊ั แตนใบไม้มีเดียวกันกับใบไม้ ค. จ้งิ จกเปลี่ยนสีตามสีผนงั ทีเ่ กาะ ง. กิ้งก่าหนามดูดซับน้าผ่านผวิ หนัง 9. อุณหภมู มิ ีผลตอ่ โครงสร้างและลักษณะของสง่ิ มีชีวติ ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. สตั ว์ที่อยู่ในเขตรอ้ นจะมีคอยาว ข. สตั วท์ ี่อยู่ในเขตหนาวจะมีขนหนา ค. พชื ทีอ่ ยู่ในหนาวจะมีลาต้นอวบน้า ง. พืชทีอ่ ยู่ในทะเลทรายจะมีใบขนาดใหญ่ 10. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกบั การปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของสัตว์ได้ถกู ต้อง ก. เสือโคร่งมลี ายตามตัวสลับกนั เพื่อใช้ขม่ ศตั รู ข. อฐู มหี นอกหนา เพื่อเกบ็ สะสมน้าไว้ใชใ้ นทะเลทราย ค. ตกั๊ แตนใบไม้มรี ปู ร่างคล้ายใบไม้ที่อาศยั อยู่ เพื่อพรางตัว ง. หมีข้ัวโลกมีขนยาวและหนา เพือ่ ระบายความรอ้ นให้แก่รา่ งกาย

แบบทดสอบหลงั เรยี น เรือ่ ง ส่งิ มีชีวติ กบั การปรบั ตัว คาชแี้ จง ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท () ทบั ตัวอกั ษรคาตอบทีถ่ ูกต้องเพียงข้อเดียว 1. เพราะเหตุใด สิ่งมชี ีวิตจงึ ต้องมีการปรับตัวใหเ้ หมาะสมกบั แหลง่ ที่อยู่อาศัย ก. เพือ่ ความอยู่รอด ข. เพือ่ การขยายพนั ธ์ุ ค. เพือ่ รบั พลงั งานจากผู้ผลิต ง. เพื่อรกั ษาความสัมพนั ธ์กับสิง่ แวดล้อม 2. ขอ้ ใดกล่าวเกี่ยวกบั การปรับตวั ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของสตั ว์ได้ถูกต้อง ก. เสือโคร่งมีลายตามตัวสลบั กัน เพือ่ ใช้ขม่ ศัตรู ข. อฐู มหี นอกหนา เพือ่ เกบ็ สะสมน้าไว้ใชใ้ นทะเลทราย ค. ตกั๊ แตนใบไม้มรี ูปร่างคล้ายใบไม้ที่อาศยั อยู่ เพื่อพรางตวั ง. หมีขั้วโลกมีขนยาวและหนา เพื่อระบายความรอ้ นให้แก่รา่ งกาย 3. ข้อใดไม่ใช่การปรบั ตัวของสัตว์เพื่อใหเ้ หมาะสมกับการดารงชีวติ ในสิ่งแวดล้อม ก. กระต่ายสีขาวหากินในทุ่งหญ้า ข. ตั๊กแตนใบไม้มีเดียวกันกับใบไม้ ค. จ้งิ จกเปลี่ยนสีตามสีผนงั ทีเ่ กาะ ง. กิ้งก่าหนามดูดซับน้าผ่านผวิ หนงั

4. เหตุใดสนุ ัขพันธ์ไทยแท้จึงมีขนส้ัน ก. เพือ่ ความสวยงาม ข. เพื่อช่วยในการหายใจ ค. เพือ่ ให้เหมาะสมกับอณุ หภมู ิ ง. เพื่อความคล่องตวั ในการเคลือ่ นที่ 5. ลกั ษณะใดของหมขี าวที่เปน็ การปรบั ตัวใหเ้ หมาะสมกับแหลง่ ที่อยู่ ก. มีสข่ี า ข. ขนสีขาว ค. องุ้ เท้าหนา ง. ตัวขนาดใหญ่ 6. สัตว์ในข้อใดสามารถพรางตวั ให้กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อมได้ ก. อฐู ข. กิง้ ก่า ค. มา้ ลาย ง. หมีข้ัวโลก 7. อณุ หภมู ิมีผลตอ่ โครงสร้างและลักษณะของสง่ิ มีชีวติ ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. สตั ว์ทีอ่ ยู่ในเขตรอ้ นจะมีคอยาว ข. สัตวท์ ีอ่ ยู่ในเขตหนาวจะมีขนหนา ค. พืชที่อยู่ในหนาวจะมีลาต้นอวบน้า ง. พืชที่อยู่ในทะเลทรายจะมีใบขนาดใหญ่

8. เพราะเหตุใด กระบองเพชรจงึ ปรบั เปลีย่ นโครงสร้างใบให้เป็นหนาม ก. เพือ่ กกั เกบ็ น้า ข. เพื่อป้าองกนั ศตั รู ค. เพือ่ ลดการคายน้า ง. เพื่อทาให้ต้นมนี ้าหนกั เบา 9. เพราะเหตุใด ลาต้นของพืชน้าส่วนใหญ่จงึ เปน็ โพรงอากาศ ก. เพือ่ ให้นา้ ไม่ขังในลาต้น ข. เพือ่ ใหเ้ หมาะสมตอ่ การเคลื่อนทีใ่ นน้า ค.เพื่อใหล้ าตน้ มีน้าหนกั เบาและลอยน้าได้ ง. เพื่อดูดซึมน้าเข้ามาเกบ็ ไว้ใชใ้ นการสร้างอาหาร 10. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าโครงสรา้ งช่วยใหส้ ัตว์อยู่รอด ก. หมู ข. ช้าง ค. พะยูน ง. ตัก๊ แตนกิ่งไม้

ภาคผนวก ข แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน เร่ือง ส่งิ มีชวี ติ กบั การปรบั ตวั

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ชือ่ .............................................................................................. เลขท.่ี ................. ช้ันประถมศึกษาที่ที่ ........... คาช้แี จง: ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ลงในช่องที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ขอ้ การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ระดับความคดิ เหน็ มวี ินยั 1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการเรยี นเสมอ 2 ทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างตง้ั ใจ 3 ทางานเสรจ็ สง่ ตามเวลาที่กาหนด ใฝเ่ รียนรู้ 4 ร่วมทากจิ กรรมต่างๆทค่ี รจู ดั อย่างตั้งใจ 5 เอาใจใส่งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 6 ตอบคาถามครูอยา่ งสมา่ เสมอ มงุ่ มั่นในการทางาน 7 ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ทไี่ ดร้ บั มอบหมายอยา่ งตั้งใจมคี วามรบั ผิดชอบ 8 ปรับปรงุ แก้ไขปัญหาในการทางานใหส้ าเรจ็ 9 พัฒนาการเรียน เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั 2 คะแนน 23-27 ดีมาก 1 คะแนน 18-22 ดี 13-17 พอใช้ ปรับปรงุ ต่ากว่า 13

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ คาช้แี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว้ ขีด ลงในชอ่ งทต่ี รง กบั ระดบั คะแนน การ การมี ทางาน ส่วน การ การ ตามท่ี ร่วมใน รวม ระดบั คณุ ภาพ ลาดบั ชือ่ -สกุล แสดง ยอมรับ ได้รบั ความมี การ 15 ที่ ของนักเรยี น ความ ฟังคน มอบห น้าใจ ปรบั คะแนน คดิ เหน็ อ่ืน มาย ปรุง ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 1 เด็กชายอบู ัยดลี ะห์ ยูนุ 2 เด็กหญงิ อาวาตฟิ มะเดง็ 3 เด็กหญิงอัลวาตีฟ สาและ 4 เด็กชายอับดลุ มานฟั กายูคละ 5 เดก็ ชายมูฮัมมัดอามีน มาเละ 6 เด็กชายมฮู ัมมดั ฟาอิส แตสะ 7 เด็กชายมฮู ัมหมดั อัลมบู าร็อค ซาแลดิง 8 เดก็ ชายอาดัม อมู า 9 เด็กหญิงนชุ เดยี นา อาแว 10 เด็กหญงิ ซวู ัยบะห์ ดาฮาแม 11 เดก็ หญงิ วิลดาน อาแด 12 เดก็ หญงิ มุมตาซ เจ๊ะมิง 13 เด็กหญงิ นุรดียานา สะแลแม 14 เดก็ หญงิ นูรฮาซีลา บือราเฮง 15 เดก็ หญิงนรู ูลอัคมา วาเจะ 16 เดก็ ชายซุบฮี รือสะ 17 เดก็ ชายอัฟฟาน สาแล๊ะ 18 เด็กชายนาวาวี ยะโก๊ะ 19 เด็กหญิงนรู อยั นี เจะ๊ โซะ 20 เด็กหญงิ นาเดยี ตาเละ 21 เด็กหญิงยามีละห์ สาหลา 22 เด็กชายคอยรลุ ฮลิ มี แตเลาะ 23 เด็กหญงิ ซาฟกี า มะเย็ง

การ การมี ทางาน สว่ น การ การ ตามที่ ร่วมใน รวม ระดับ คุณภาพ ลาดับ ชื่อ-สกลุ แสดง ยอมรบั ได้รับ ความมี การ 15 ที่ ของนักเรียน ความ ฟังคน มอบห นา้ ใจ ปรับ คะแนน 24 เด็กหญิงตักวา ตาเยะ 25 เดก็ ชายมฮู ัมหมัดเพาซัน คิดเห็น อื่น มาย ปรุง มาลีบา ผลงาน 26 เด็กหญิงซลู ฟา สาและ กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง 2 คะแนน 14-15 ดมี าก 1 คะแนน 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรุง

ภาคผนวก ค ผลการเปรียบเทยี บคะแนนทดสอบหลงั เรยี นกับคะแนนก่อนเรยี น เรอ่ื ง สง่ิ มชี วี ติ กับการปรับตวั ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยการจัดการเรียนการสอนแบบ 5 E

แบบบันทกึ การประเมินความก้าวหน้า กอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น เรอื่ ง ส่งิ มชี วี ิตกบั การปรบั ตัว โดยการจัดการเรยี นการสอนแบบ 5 E ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านปา่ มว่ ง เลขที่ ชอื่ – สกุล คะแนนการประเมิน ความกา้ วหนา้ กอ่ นเรียน หลงั เรยี น 3 3 1 เดก็ ชายอูบยั ดีละห์ ยูนุ 25 3 2 2 เดก็ หญงิ อาวาติฟ มะเด็ง 36 2 2 3 เด็กหญงิ อลั วาตีฟ สาและ 25 5 2 4 เด็กชายอบั ดลุ มานฟั กายูคละ 35 3 2 5 เดก็ ชายมูฮัมมดั อามีน มาเละ 35 2 3 6 เด็กชายมฮู ัมมดั ฟาอิส แตสะ 46 2 4 7 เดก็ ชายมฮู ัมหมัดอลั มูบาร็อค ซาแลดิง 5 10 3 2 8 เด็กชายอาดัม อมู า 35 3 2 9 เด็กหญงิ นุชเดียนา อาแว 47 4 2 10 เด็กหญงิ ซวู ยั บะห์ ดาฮาแม 46 2 2 11 เดก็ หญิงวิลดาน อาแด 57 2 3 12 เดก็ หญงิ มุมตาซ เจ๊ะมิง 69 13 เด็กหญงิ นุรดียานา สะแลแม 46 14 เดก็ หญิงนูรฮาซีลา บอื ราเฮง 6 10 15 เดก็ หญิงนูรลู อัคมา วาเจะ 58 16 เด็กชายซบุ ฮี รอื สะ 46 17 เดก็ ชายอัฟฟาน สาแล๊ะ 36 18 เดก็ ชายนาวาวี ยะโก๊ะ 57 19 เดก็ หญงิ นูรอยั นี เจ๊ะโซะ 48 20 เด็กหญงิ นาเดีย ตาเละ 57 21 เด็กหญิงยามีละห์ สาหลา 46 22 เดก็ ชายคอยรุลฮิลมี แตเลาะ 35 23 เด็กหญิงซาฟีกา มะเยง็ 25 24 เด็กหญิงตักวา ตาเยะ 47

เลขท่ี ชอ่ื – สกุล คะแนนการประเมนิ ความกา้ วหนา้ ก่อนเรียน หลงั เรยี น 25 เดก็ ชายมฮู ัมหมัดเพาซนั มาลีบา 2 26 เด็กหญิงซลู ฟา สาและ 35 3 58 68 รวมคะแนน 101 173 2.61 ค่าเฉล่ยี 3.88 6.65 26.15 รอ้ ยละเฉลีย่ 38.84 66.54 บนั ทกึ ผล นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ทเ่ี รียนเรื่องส่ิงมชี ีวติ กับการปรับตัว โดยการจัดการเรียนการสอน แบบ 5 E ผ่านการประเมินหลังเรียนและมผี ลสมั ฤทธิท์ ่ีสูงขึ้น ลงชอ่ื ...........................................ครูผ้สู อน ( นางยุซรีนา ลาเตะ๊ )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook