Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Published by 1.patanrad, 2020-01-28 08:07:57

Description: Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Search

Read the Text Version

Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients พว.อภสั รา อรัญวฒั น์



Psychoneuroimmunology

ปาณิก เวยี งชยั ,2015 ดดั แปลงจากShier, David., et al. Hole’s essentials of Human Anatomy &Physiology. 10Th

ภาวะจติ สังคม ภาวะทางด้านจติ ใจ อารมณ์ของบุคคลทแ่ี สดงออกให้เราเห็นได้ทางสีหน้า แววตา คาพดู และนา้ เสียง อากปั กริ ิยา ท่าทาง และพฤติกรรมอ่ืน ๆ เป็ นภาวะท่ดี าเนินอยู่ตลอดเวลาขณะท่เี รามชี ีวติ อยู่ และมีอทิ ธิพลต่อ ความคดิ ทัศนคติ การรับรู้ สติปัญญา แรงดลใจ การตดั สินใจ และ การสนองตอบด้านพฤติกรรมอ่ืน ๆในชีวติ ประจาวนั ซึ่งอยู่ภายใต้บริบททางสังคมและกรอบวฒั นธรรมทเ่ี ป็ นภูมิหลงั ของ บุคคลน้ัน ๆ

ปัญหาภาวะจิตสังคม ในผู้ป่ วย Dialysis

การประกอบอาชีพ พยาธิสภาพ ข้อจากดั ใน ค่าใช้จ่าย กระบวนการรักษา การทากจิ กรรม ปัญหา ปรับเปลย่ี นวถิ ชี ีวติ ภาวะจิตสังคม บทบาทเปลยี่ นแปลง

ปัญหาจิตสังคมทพี่ บในผู้ป่ วย dialysis ◼ ความวิตกกงั วล (Anxiety) ◼ ความโกรธ (Anger) ◼ การต่อต้านหรือความรู้สึกไม่เป็ นมิตร (Hostility) ◼ ความรู้สึกสูญเสีย (Loss) ◼ ความรู้สึกสิ้นหวงั (Hopeless) ◼ ภาวะพงึ่ พา (Dependent) ◼ ภาวะซึมเศร้า (Depression)

การพยาบาลจติ สังคม

การประเมนิ ภาวะจติ สังคม ◼ ข้อมูลทัว่ ไปเกย่ี วกบั แบบแผนการดาเนินชีวติ (Lifestyle information) ◼ แบบแผนการเผชิญปัญหา (Normal coping patterns) ◼ ความเข้าใจในความเจ็บป่ วยของตน (Understanding of current illness) ◼ บุคลกิ ลกั ษณะ (Personality style)

การประเมนิ ภาวะจติ สังคม (ต่อ) ◼ ประวัตคิ วามเจบ็ ป่ วยทางจิต (History of psychiatric disorder) ◼ การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ ขนึ้ ในวิถีชีวิต (Recent life change or stressors) ◼ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากความเจบ็ ป่ วย (Major issues raised by current illness)

วธิ ีการประเมนิ ภาวะจิตสังคม 1. การสังเกต - พฤติกรรมทัว่ ไป กริ ิยา ท่าทาง - การแสดงออกทางสีหน้า การพูด การแต่งกาย 2. การสัมภาษณ์ - การใช้คาถามเปิ ด - การใช้คากล่าวนาสนทนาอย่างกว้าง ๆ - การใช้วลสี ะท้อนความรู้สึก - การบอกกล่าวความคดิ ความรู้สึก

วธิ ีการประเมนิ ภาวะจิตสังคม (ต่อ) - การหาความกระจ่าง - การใช้ความเงยี บ - การฟังอย่างต้ังใจ - การสรุป 3. การเข้าไปมสี ่วนร่วม

ตวั อย่างข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล ◼ มคี วามวติ กกงั วล เนื่องจาก........ ◼ การรับรู้คุณค่าตนเองแปรเปลย่ี น ◼ สูญเสียพลงั อานาจ ◼ สูญเสียภาพลกั ษณ์ เนื่องจาก.... ◼ บกพร่องในด้านการดูแลตนเองเนื่องจากภาวะซึมเศร้า

แนวทางการดูแลจติ สังคม

สร้างสัมพนั ธภาพทด่ี กี บั ผู้ป่ วยและครอบครัว ◼ มที ่าทที ่เี ป็ นมติ ร ◼ ความอดทน อดกล้นั ต่ออารมณ์และความเครียด ของผู้ป่ วย ◼ ยอมรับความรู้สึกของผู้ป่ วย

ลดและขจดั สาเหตุหลกั หรือสาเหตุเสริม ◼ พยาธิสภาพของโรคและกระบวนการรักษา ◼ อานวยความสะดวกเกย่ี วกบั การเตรียมเคร่ืองใช้ อุปกรณ์ การเปลยี่ นแปลงเวลาทมี่ ารับการรักษา ◼ ประสานกบั สหสาขาวชิ าชีพหรือหน่วยงานอื่นทเี่ กย่ี วข้อง

ให้ความรู้ ส่งเสริมทกั ษะ ◼ โรค การดูแลรักษา ◼ การปฏบิ ตั ติ น เพ่ือให้ผู้ป่ วยและครอบครัวมคี วามเข้าใจทถี่ ูกต้อง มคี วามมน่ั ใจ และสามารถดูแลตนเองได้ ◼ ให้ข้อมูลเกยี่ วกบั หน่วยงานหรือสถานบริการสุขภาพอื่น

การเปิ ดโอกาสให้ผู้ป่ วยและครอบครัว 1. พูดคุย สอบถามปัญหา ระบายความรู้สึก 2. ช่วยผู้ป่ วยและครอบครัวจดั การกบั ปัญหา หรือความรู้สึก ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ช่วยเหลือประคบั ประคองให้มกี าลงั ใจ ◼ การสนทนากล่มุ (group support) ◼ การให้บริการคาปรึกษา (counseling) ◼ กจิ กรรมอ่ืน ๆ ทผี่ ู้ป่ วยสนใจ

◼ การฝึ กหายใจแบบสงบ ( breathing exercise ) ◼ การฝึ กสมาธิ ( meditation) ◼ การฝึ กการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ( relaxation technique ) ◼ การใช้จินตนาการนึกภาพในทางบวก ( imagery ) ◼ การฟังดนตรี (music therapy) ◼ การนวด (massage) 3.ให้ผู้ป่ วยและญาตมิ ีส่วนร่วมในการตดั สินใจ และร่วมในกจิ กรรมการ พยาบาล

Spiritual Care

ปัญหาใดทม่ี ผี ลต่อสุขภาพกาย จิตสังคม ย่อมส่งผลกระทบต่อจิตวญิ ญาณของ บุคคลในระดบั หน่ึงเสมอ

มติ ิทางจิตวญิ ญาณเป็ นสิ่งที่จบั ต้องได้ยาก แต่มีความเกีย่ วข้องกับวฒั นธรรมและสังคม ซ่ึงเป็ นส่ิงที่มผี ลต่อการให้ความหมายของจติ วญิ ญาณ (วลั ภา คุณทรงเกียรติ, 2551; อาภรณ์ เชื้อประไพศิลป์ , 2543; Narayanasamy, 2004) ในสังคมและวฒั นธรรม ไทย จิตวญิ ญาณเป็ นส่ิงยึดเหนี่ยวในชีวติ อาจหมายถึง ส่ิงเหนือธรรมชาติ ศาสนา สมาชิก ในครอบครัว เพ่ือนฝูง ทาให้เกดิ ความหวงั ให้ความสาคญั กับชีวติ มีกาลงั ใจในการมี ชีวติ มเี ป้าหมายในการดาเนินชีวติ หรือ ทาให้เกดิ ความสุขในชีวติ (ทัศนีย์ ทองประทีป, 2545; ธมลวรรณ แก้วกระจก และวภิ าวี คงอนิ ทร์, 2550; วรุณยุพา รอยกุลเจริญ, 2550; วลั ภา คุณทรงเกียรติ, 2551)

Definition ◼ ศูนย์รวมของพลงั ความคดิ ความหวงั และกาลงั ใจ ช่วยให้บุคคลค้นหา เป้าหมายในชีวิต และเกดิ ความเข้มแขง็ ภายในทท่ี าให้ฟันผ่าอปุ สรรคใน ชีวติ ความเจ็บป่ วย หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเป็ นวกิ ฤตในชีวิตได้ เป็ นแก่นหลกั ของชีวิตทีท่ าหน้าทเ่ี ช่ือมประสานการทาหน้าทขี่ องร่างกาย จิตใจ สังคมให้มีความหมายเป็ นองค์รวมและมคี วามผาสุกในชีวิต

การประเมนิ ด้านจิตวญิ ญาณ ◼ สร้างสัมพนั ธภาพเพื่อให้เกดิ ความไว้วางใจ เช่น คาพูด ท่าทาง ทแี่ สดงความเคารพและให้เกยี รติผู้ป่ วยหรือสิ่งทผ่ี ู้ป่ วยนับถือ ◼ การสังเกต สีหน้า ท่าทาง คาพดู พฤติกรรม ◼ การสัมภาษณ์ พูดคุยโดยใช้ทกั ษะการสื่อสาร

ตวั อย่างข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล ◼ ผู้ป่ วยขาดท่พี ง่ึ ทางจิตใจ/ต้องการกาลงั ใจจาก....... ◼ ผ้ปู ่ วยขาดเครื่องยดึ เหน่ียวจิตใจ ◼ ผ้ปู ่ วยรู้สึกไม่ม่นั คงในระบบความเชื่อ ◼ ผู้ป่ วยรู้สึกท้อแท้/หมดหวงั ในชีวติ ◼ ผู้ป่ วยรู้สึกไร้ค่า/ไม่มคี วามหมาย ◼ ผู้ป่ วยรู้สึกทุกข์ทรมาน/ขมขื่นจิตใจทต่ี ้องเป็ นโรคร้ายแรง

การพยาบาล ◼ Routine care ยิม้ แย้มทักทาย มีมติ รไมตรี มนี า้ ใจ เมตตา การสัมผัส ◼ Spiritual support ให้โอกาสให้ผู้ป่ วยได้ระบายความรู้สึก ชวน สนทนาเพื่อหาข้อมูลตามความเชื่อ/แหล่งความหวงั กาลงั ใจ และติดต่อผู้มี ความหมาย จัดส่ิงแวดล้อม หรือกิจกรรมตามความเชื่อ ◼ Spiritual intervention ผู้ป่ วยมปี ัญหาบีบค้นั อาจเผชิญปัญหา หลายเรื่อง รู้สึกผิดหวงั ต่อโชคชะตา สูญเสียคุณค่าในตนเองหรือเสียศรัทธาต่อสิ่ง ที่นับถือ พยาบาลควรช่วยติดต่อประสานให้ได้พบกบั คนที่ผู้ท่ีศรัทธา/มคี วามหมาย มาก ยืดหยุ่นระเบียบ เป็ นผู้ฟังที่ดี ใช้ทักษะสื่อสารเพ่ือช่วยผู้ป่ วยค้นหา ความหมาย/คาตอบด้วยตนเอง

Tips ◼ พฒั นาทักษะการสื่อสาร ◼ การสร้างความไว้วางใจ มพี ฤตกิ รรมเอือ้ อาทร ◼ เป็ นส่ือกลางให้ผ้รู ับบริการตามความเช่ือ ◼ การให้เวลา การสัมผสั รับฟังด้วยความต้งั ใจ ◼ พยาบาลควรทาความเข้าใจเกยี่ วกบั ความต้องการทางจิตวิญญาณของ ตนเอง บาเพญ็ กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ สัมผสั ความสวยงามตาม ธรรมชาติ ทากจิ กรรมทางศิลปะที่สนใจ ออกกาลงั กาย ใช้เวลากบั ญาตมิ ติ ร



การดูแลแบบประคบั ประคอง (Palliative care) องค์การอนามัยโลก (World Orahnization) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่ วยและครอบครัวทเ่ี ผชิญกบั ความเจ็บป่ วย ท่ีคุกคามชีวิตโดยการป้องกนั และลดความทุกข์ทรมาน ด้วยการค้นหาอาการความเจบ็ ปวด และปัญหาต่างๆทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวญิ ญาณ ให้ได้ต้งั แต่เริ่มต้นและให้การดูแลรักษาเพื่อบรรเทา อาการเหล่าน้ัน

Cassem และ Brendel ได้อธิบายถงึ หลกั การพืน้ ฐานที่สาคญั 9 ประการ สาหรับการดูแลผ้ปู ่ วยระยะท้ายดงั นี้ 1.มีความรู้ในการดูแลโรคของผู้ป่ วย สามารถจัดการกบั อาการผดิ ปกติทาง กายและจิตทเ่ี กดิ กบั ผ้ปู ่ วยได้ อธิบายให้ผู้ป่ วยและญาติทราบถงึ แนว ทางการรักษา และใช้การมสี ่วนร่วมเพ่ือตัดสินใจในการรักษา 2. มีความห่วงใย เอาใจเขามาใส่ใจเรา อ่อนโยน การสัมผสั ท่ีนุ่มนวล 3. การทาให้ผู้ป่ วยได้รับความสุขสบาย มีภาวะของ“การตายด”ี (gooddeath)

4. เปิ ดโอกาสให้ผู้ป่ วยได้พดู คุย โดยพยาบาลเป็ นผู้ฟังท่ดี ี 5. การนาบุตรหลาน ญาตมิ ติ ร และบุคคลท่ผี ้ปู ่ วยรักมาเยยี่ มเยยี นให้กาลงั ใจ 6. การเช่ือมสัมพนั ธภาพระหว่างผ้ปู ่ วยกบั สมาชิกในครอบครัว 7. การมจี ิตใจแจ่มใสร่าเริง สามารถช่วยให้ผู้ป่ วยยมิ้ แย้มแจ่มใส 8. ความสมา่ เสมอต่อเน่ืองในการดูแล 9. พยาบาลผู้ดูแลต้องมจี ิตใจท่ีสงบ สามารถเผชิญและปฏบิ ัตกิ บั อาการ แสดงทเ่ี กดิ กบั ผู้ป่ วยใกล้ตายได้อย่างเหมาะสม เพญ็ จนั ทร์ สิทธิปรีชาชาญ, 2013

คาแนะนาท่ี 3 เกณฑ์เป้าหมายของการรักษาแบบองค์รวม ชนิดประคบั ประคอง 3.2 ผ้ปู ่ วยโรคไตเรื้อรังท่มี อี ตั ราการกรองของไตตา่ กว่า 10 มล./นาที/ 1.73 ตร.ม. และเลือกการ รักษาแบบองค์รวมชนิดประคบั ประคองควรได้รับการ ดแู ลเพื่อบรรเทาอาการไม่สบายกายและ ใจจากโรคเป็ นสาคญั โดยไม่เป็ นการร่น ระยะเวลาหรือยือ้ การเสียชิวติ ตามธรรมชาติตามการ ดาเนินของโรคไตเรื้อรัง ระยะสุดท้าย (++, IV) 3.3 ผ้ปู ่ วยโรคไตเรื้อรังท่ีมอี ตั ราการกรองของไตตา่ กว่า 10 มล./นาที/ 1.73 ตร.ม. และเลือกการ รักษาแบบองค์รวมชนิดประคบั ประคองควรได้รับยา หรือเวชภณั ฑ์ทางการแพทย์ที่จาเป็ น เพยี งเพ่ือป้องกนั หรือแก้ไขอาการไม่พงึ ประสงค์ ระยะส้ันจากภาวะแทรกซ้อนโรคไตเรื้อรัง (++, IV) Clinical Practice Recommendation for Comprehensive Conservative Care in Chronic Kidney Disease 2017

ผู้ป่ วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทร่ี ับการบาบดั ทดแทนไตที่ น่าจะมคี วามเหมาะสมในการเปลยี่ นมารับการรักษาแบบองค์รวม ชนิดประคบั ประคอง

1. ผู้ที่แสดงเจตจานงด้วยตัวเองเป็ นลายลกั ษณ์อักษรในการขอยุติการ ฟอกเลือดด้วย เครื่องไตเทียม หรือการล้างไตทางช่องท้อง 2. ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้ท่ีมีความบกพร่องในการตัดสินใจแสดง เจตจานงด้วย ตัวเองเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในการขอยุติการฟอกไตทุกประเภท 3. ผู้ที่มีการทาลายของสมองรุนแรงอย่างถาวรจนไม่สามารถทากจิ วตั รใดๆ (vegetative stage) หรือผู้ที่แพทย์หรือทีมผู้รักษาและผู้แทนโดยชอบธรรม เห็น พ้องต้องกันว่าไม่น่าจะได้รับประโยชน์จากการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไต ทางช่องท้อง หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต 4. ผู้ที่อยู่ในสภาวะไม่เหมาะสมสาหรับการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม การล้างไตทาง ช่องท้อง หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต Clinical Practice Recommendation for Comprehensive Conservative Care in Chronic Kidney Disease 2017

ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังทุกระยะสามารถได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับข้อมูล ของโรค การดาเนินโรคและการพยากรณ์โรคที่ถูกต้องจากแพทย์และ บุคลากรทางการ แพทย์ตลอดจนวางแผนและเป้าหมายการรักษา ของตนเองได้ล่วงหน้า หรือเรียก ว่า Advance care planning ซ่ึงแผนการรักษาและเป้าหมายสามารถปรับ เปลีย่ นได้ตาม สถานการณ์เฉพาะบุคคลได้ตามความเหมาะสม Clinical Practice Recommendation for Comprehensive Conservative Care in Chronic Kidney Disease 2017

โดยหวงั ผล เพยี งบรรเทาอาการระยะส้ัน จะช่วยทาให้ผู้ป่ วยมีคุณภาพชีวติ ที่ดขี ึน้ ในช่วง สุดท้ายของชีวติ วธิ ีการบรรเทาอาการอาจเป็ นการใช้ยาหรือ เวชภัณฑ์อย่างสม เหตุผล การรักษาโดยไม่ใช้ยา เช่น การปรับสภาพ ห้องพกั การประคบลดอาการ ปวด การรับฟังความต้องการของผู้ป่ วยและ ครอบครัว การปฏิบัติตามความเช่ือ ทางศาสนาและประเพณีเป็ นการรักษา ประคับประคองทางกายควบคู่กับการ ดูแลทางจติ ใจและจติ วญิ ญาณ เพื่อให้ผู้ป่ วยและครอบครัวมีความผ่อนคลาย ความกลัวและวติ กกงั วล Clinical Practice Recommendation for Comprehensive Conservative Care in Chronic Kidney Disease 2017



• แนวทางปฏิบัติของสถานพยาบาล หนังสือแสดงเจตนา  Information sheet คาแนะนาในการทาหนังสือแสดงเจตนา การทาหนังสือแสดงเจตนาเกีย่ วกบั การดูแลรักษาผู้ป่ วยในระยะท้ายของชีวติ Flow chart กรณีมี/ไม่มหี นังสือแสดงเจตนา ข้ันตอนการปฏิบัติของแพทยในกรณผี ู้ป่ วยมี/ไม่มีหนังสือแสดงเจตนา



ความสงบในวาระสุดท้ายของชีวติ ◼ ให้ความรักความเมตตา มีใจอยากช่วยเหลือ ยนิ ดรี ับฟังพร้อมที่จะเข้าใจ โดยไม่คดิ แต่จะสอนหรือแนะนา (..อดทน..ทาใจ..) ◼ ชวนให้นึกถงึ สิ่งดงี าม ความดที ีไ่ ด้ทา ส่ิงที่เป็ นความภาคภูมิใจท่ชี ่วยให้ รู้สึกว่าชีวติ มคี ุณค่า ◼ ช่วยให้ปล่อยวางความกงั วลหรือปลดเปลือ้ งสิ่งท่ีค้างคาใจ ◼ สร้างบรรยากาศแห่งความสงบ ◼ ให้ญาตมิ ิตร คนใกล้ชิดท่ีคุ้นเคยอยู่ร่วมดแู ล พระไพศาล วสิ าโล

ผู้ป่ วยมชี ีวติ อย่างสมศักด์ศิ รีถงึ วาระสุดท้าย ไม่เร่งให้เสียชีวติ เร็วขนึ้ ไม่ยืดชีวติ ผู้ป่ วยอย่างฝื นธรรมชาติ

Nursing Process in Hemodialysis Patients





Nursing process คุณลักษณะทสี่ ำคัญ 1. ระบบ(System ) มขี ัน้ ตอนท่ีชดั เจน และมกี ำรจดั ลำดับ กิจกรรมที่สมั พันธเ์ ชอ่ื มโยงกนั ในแต่ละขัน้ ตอน 2.พลวตั ร (Dynamic) เป็นกำรกระทำกิจกรรมทต่ี อ่ เน่ือง 3.เปำ้ หมำยที่ชดั เจน(Goal - direct) มีกำรกำหนดหรือระบุ ปญั หำทำงกำรพยำบำลหรอื ควำมต้องกำรของผรู้ ับบริกำร

Nursing process (cont.) 4. ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal) ทาให้พยาบาลได้มี ปฏิสัมพนั ธ์ กับผู้รับบริการ ครอบครัว ชุมชน เกิดการมสี ่วนร่วมของผู้รับบริการ ผู้ท่ี เกี่ยวข้องและทีมสุขภาพ 5.ประยุกต์ใช้ได้กว้าง (Universally application) ประยุกต์ใช้ท้ังใน ระดบั บุคคลท้ังท่ีสุขภาพดี เจบ็ ป่ วย ทุกเพศ ทุกวยั

Nursing process สาคญั อย่างไร ???

สภาการพยาบาล (The Nursing Council of Thailand ) มาตรฐานที่ 1 การใชก้ ระบวนการพยาบาลในการ ปฏิบตั ิการพยาบาลและผดุงครรภก์ ล่าวว่า... “ตอ้ งใชก้ ระบวนการพยาบาลแก่ผูร้ บั บริการอย่างเป็ นองคร์ วม ท้งั ในระดบั บุคคล กล่มุ บุคคล ครอบครวั และชมุ ชน ตามศาสตร์ และ ศิลปะทางการพยาบาลในดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกนั โรค การรกั ษาพยาบาลและการฟ้ ื นฟูสภาพ โดยผูร้ บั บริการมีส่วนร่วม อย่างเหมาะสม และมีการประสานความรวมมือ ในทีมการพยาบาล และทีมสหสาขาวิชา”

ผู้รับบริการ พยาบาลรับรู้ความต้องการของผู้รับบริการอย่างครอบคลมุ ถูกต้อง เป็ นจริง (patient center) ได้รับการดูแลท่มี คี ุณภาพ ภาวะสุขภาพดี (well being)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook